The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "91"

จาก Demopædia
แถว 12: แถว 12:
 
=== 911 ===
 
=== 911 ===
  
การถ่ายทอดคุณลักษณะทางกรรมพันธุ์ดำเนินการผ่าน{{TextTerm|ยีน|1|911|IndexEntry=ยีน}} ซึ่งถ่ายจากพ่อแม่ไปสู่ลูก  {{TextTerm|พันธุศาสตร์|2|911}} เป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดปัจจัยทางพันธุกรรมและผลที่เกิดขึ้น  {{TextTerm|โครโมโซม|3|911|IndexEntry=โครโมโซม}} เป็นเส้นใยยาวของดีเอ็นเอ (DNA deoxyribonucleic acid) ซึ่งอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์จะเป็นตัวนำพายีน  ตำแหน่งของยีนบนโครโมโซมเรียกว่า{{TextTerm|โลคัส|4|911}}  ยีนที่มีโลคัสเหมือนกันมีผลทำให้เกิดคุณลักษณะอย่างเดียวกัน แม้ว่าจะผลนั้นจะเป็นไปได้ด้วยวิธีต่างๆ ตาม{{TextTerm|อัลลีน|5|911|IndexEntry=อัลลีน}} ที่แตกต่างกันของยีนในโลคัสเดียวกันนี้ เซลล์ใหม่ซึ่งก่อรูปขึ้นโดยการรวมตัวของ{{TextTerm|เซลล์สืบพันธุ์|6|911|IndexEntry=เซลล์สืบพันธุ์}} 2 เซลล์ ในระหว่างกระบวนการของ{{NonRefTerm|การปฏิสนธิ}} ({{RefNumber|60|2|1}}) เรียกว่า{{TextTerm|ตัวอ่อน|7|911}}
+
การถ่ายทอดคุณลักษณะทางกรรมพันธุ์ดำเนินการผ่าน{{TextTerm|ยีน|1|911|IndexEntry=ยีน}} ซึ่งถ่ายจากพ่อแม่ไปสู่ลูก  {{TextTerm|พันธุศาสตร์|2|911}} เป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดปัจจัยทางพันธุกรรมและผลที่เกิดขึ้น  {{TextTerm|โครโมโซม|3|911|IndexEntry=โครโมโซม}} เป็นเส้นใยยาวของดีเอ็นเอ (DNA deoxyribonucleic acid) ซึ่งอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์จะเป็นตัวนำพายีน  ตำแหน่งของยีนบนโครโมโซมเรียกว่า{{TextTerm|โลคัส|4|911}}  ยีนที่มีโลคัสเหมือนกันมีผลทำให้เกิดคุณลักษณะอย่างเดียวกัน แม้ว่าผลนั้นจะเป็นไปได้ด้วยวิธีต่างๆ ตาม{{TextTerm|อัลลีน|5|911|IndexEntry=อัลลีน}} ที่แตกต่างกันของยีนในโลคัสเดียวกันนี้ เซลล์ใหม่ซึ่งก่อรูปขึ้นโดยการรวมตัวของ{{TextTerm|เซลล์สืบพันธุ์|6|911|IndexEntry=เซลล์สืบพันธุ์}} 2 เซลล์ ในระหว่างกระบวนการของ{{NonRefTerm|การปฏิสนธิ}} ({{RefNumber|60|2|1}}) เรียกว่า{{TextTerm|ตัวอ่อน|7|911}}
  
 
=== 912 ===
 
=== 912 ===
แถว 20: แถว 20:
 
=== 913 ===
 
=== 913 ===
  
มักมีการแยกความแตกต่างของนโยบายเกี่ยวกับการคัดเลือกพันธุ์มนุษย์อยู่เสมอระหว่าง{{TextTerm|สุพันธุกรรมเชิงบวก|1|913|IndexEntry=สุพันธุกรรมเชิงบวก}} ซึ่งมุ่งเพิ่มจำนวนของคนที่เชื่อว่ามีคุณลักษณะที่ต้องการ และ{{TextTerm|สุพันธุกรรมเชิงลบ|2|913|IndexEntry=สุพันธุกรรมเชิงลบ}} ซึ่งมุ่งจำกัดการสืบทอดพันธุ์ของบุคคลที่คาดว่าจะถ่ายทอดลักษณะไม่พึงประสงค์ หรือมี{{TextTerm|ความบกพร่องทางกรรมพันธุ์|3|913|IndexEntry=บกพร่องทางกรรมพันธุ์ ความ}} มีความสนใจอย่างมากในการอภิปรายเกี่ยวกับ{{TextTerm|การทำหมันเพื่อคัดเลือกพันธุ์|4|913|IndexEntry=ทำหมันเพื่อคัดเลือกพันธุ์ การ}} ได้แก่ การทำหมันบุคคลที่น่าจะถ่ายทอดลักษณะไม่พึงประสงค์ไปสู่ทายาท ข้อขัดค้านต่อวิธีการนี้จะอยู่ที่เหตุผลด้านศีลธรรมและเหตุผลเกี่ยวกับประสิทธิภาพที่ค่อนข้างต่ำในการลดความถี่ของยีนที่มี{{NonRefTerm|ลักษณะด้อย}} ({{RefNumber|91|2|6}})  ในวิธีการต่างๆที่เสนอสำหรับการปรับปรุงพันธุ์  {{TextTerm|การตรวจสอบก่อนสมรส|5|913|IndexEntry=ตรวจสอบก่อนสมรส การ}} เป็นวิธีหนึ่งซึ่งจะให้คู่ที่จะแต่งงานกันได้รับข้อมูลความรู้เกี่ยวกับคุณภาพของลูกที่จะเกิดมา เพื่อให้คู่ที่จะแต่งงานไม่มี{{TextTerm|การแต่งงานแบบเสื่อมพันธุ์|6|913|IndexEntry=แต่งงานแบบเสื่อมพันธุ์ การ}} กล่าวคือให้มีการเตือนเรื่องผลผลิตจากการแต่งงานที่จะมีข้อบกพร่อง
+
มักมีการแยกความแตกต่างของนโยบายเกี่ยวกับการคัดเลือกพันธุ์มนุษย์อยู่เสมอระหว่าง{{TextTerm|สุพันธุกรรมเชิงบวก|1|913|IndexEntry=สุพันธุกรรมเชิงบวก}} ซึ่งมุ่งเพิ่มจำนวนของคนที่เชื่อว่ามีคุณลักษณะที่ต้องการ และ{{TextTerm|สุพันธุกรรมเชิงลบ|2|913|IndexEntry=สุพันธุกรรมเชิงลบ}} ซึ่งมุ่งจำกัดการสืบทอดพันธุ์ของบุคคลที่คาดว่าจะถ่ายทอดลักษณะไม่พึงประสงค์ หรือมี{{TextTerm|ความบกพร่องทางกรรมพันธุ์|3|913|IndexEntry=บกพร่องทางกรรมพันธุ์ ความ}} มีความสนใจอย่างมากในการอภิปรายเกี่ยวกับ{{TextTerm|การทำหมันเพื่อคัดเลือกพันธุ์|4|913|IndexEntry=ทำหมันเพื่อคัดเลือกพันธุ์ การ}} ได้แก่ การทำหมันบุคคลที่น่าจะถ่ายทอดลักษณะไม่พึงประสงค์ไปสู่ทายาท ข้อคัดค้านต่อวิธีการนี้จะอยู่ที่เหตุผลด้านศีลธรรมและเหตุผลเกี่ยวกับประสิทธิภาพที่ค่อนข้างต่ำในการลดความถี่ของยีนที่มี{{NonRefTerm|ลักษณะด้อย}} ({{RefNumber|91|2|6}})  ในวิธีการต่างๆที่เสนอสำหรับการปรับปรุงพันธุ์  {{TextTerm|การตรวจสอบก่อนสมรส|5|913|IndexEntry=ตรวจสอบก่อนสมรส การ}} เป็นวิธีหนึ่งซึ่งจะให้คู่ที่จะแต่งงานกันได้รับข้อมูลความรู้เกี่ยวกับคุณภาพของลูกที่จะเกิดมา เพื่อให้คู่ที่จะแต่งงานไม่มี{{TextTerm|การแต่งงานแบบเสื่อมพันธุ์|6|913|IndexEntry=แต่งงานแบบเสื่อมพันธุ์ การ}} กล่าวคือให้มีการเตือนเรื่องผลผลิตจากการแต่งงานที่จะมีข้อบกพร่อง
  
 
=== 914 ===
 
=== 914 ===
แถว 28: แถว 28:
 
=== 915 ===
 
=== 915 ===
  
ในกรณีของบุคคลที่มีเลือดชิด ซึ่งได้แก่บุคคล ซึ่งมีพ่อแม่ บรรพบุรุษคนเดียวกัน กล่าวได้ว่ายีนทั้งสองตัวเป็น{{TextTerm|ยีนที่เหมือนกัน|1|915}}โดยการสืบสายพันธุ์ ถ้าทั้งสองมาจากบรรพบุรุษคนเดียวกันและอยู่ในโลคัสเดียวกัน  ความน่าจะเป็นที่บุคคลคนหนึ่งถูกเลือกอย่างไม่จงใจในประชากรหนึ่ง ให้นำยีนสองตัวที่เหมือนกันโดยการสืบสายพันธุ์คือ{{TextTerm|ค่าสัมประสิทธิ์ของการมีเลือดชิด|2|915|IndexEntry=สัมประสิทธิ์ของการมีเลือดชิด ค่า}} ของประชากร  {{TextTerm|ค่าสัมประสิทธิ์ของวงศาคณาญาติ|3|915|IndexEntry=สัมประสิทธิ์ของวงศาคณาญาติ ค่า}} ของประชากรคือความน่าจะเป็นที่คนสองคนในประชากรนั้นจะถูกเลือกโดยไม่จงใจ ให้นำยีนที่เหมือนกันมาอยู่ในโลคัสเดียวกันโดยการสืบพันธุ์
+
ในกรณีของบุคคลที่มีเลือดชิด ซึ่งได้แก่บุคคล ซึ่งมีพ่อแม่ บรรพบุรุษคนเดียวกัน กล่าวได้ว่ายีนทั้งสองตัวเป็น{{TextTerm|ยีนที่เหมือนกัน|1|915}}โดยการสืบสายพันธุ์ ถ้าทั้งสองมาจากบรรพบุรุษคนเดียวกันและอยู่ในโลคัสเดียวกัน  ความน่าจะเป็นที่บุคคลคนหนึ่งถูกเลือกอย่างไม่จงใจในประชากรหนึ่งให้นำยีนสองตัวที่เหมือนกันโดยการสืบสายพันธุ์คือ{{TextTerm|ค่าสัมประสิทธิ์ของการมีเลือดชิด|2|915|IndexEntry=สัมประสิทธิ์ของการมีเลือดชิด ค่า}} ของประชากร  {{TextTerm|ค่าสัมประสิทธิ์ของวงศาคณาญาติ|3|915|IndexEntry=สัมประสิทธิ์ของวงศาคณาญาติ ค่า}} ของประชากรคือความน่าจะเป็นที่คนสองคนในประชากรนั้นจะถูกเลือกโดยไม่จงใจให้นำยีนที่เหมือนกันมาอยู่ในโลคัสเดียวกันโดยการสืบพันธุ์
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 10:21, 2 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


910

ใน สุพันธุศาสตร์1 สาขาวิชาซึ่งหาทางปรับปรุงคุณภาพของประชากร จะให้ความสนใจโดยตรงกับบทบาทของ กรรมพันธุ์2 การถ่ายทอด ลักษณะทางกรรมพันธุ์3 อย่างเช่น สีของตาจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ลักษณะที่ได้รับมา4 ไม่สามารถถ่ายทอดได้ดังประสงค์ โดยทั่วไป ลักษณะที่ทำให้ตาย5 จะนำไปสู่การตายตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนในช่วงแรกๆ

911

การถ่ายทอดคุณลักษณะทางกรรมพันธุ์ดำเนินการผ่าน ยีน1 ซึ่งถ่ายจากพ่อแม่ไปสู่ลูก พันธุศาสตร์2 เป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดปัจจัยทางพันธุกรรมและผลที่เกิดขึ้น โครโมโซม3 เป็นเส้นใยยาวของดีเอ็นเอ (DNA deoxyribonucleic acid) ซึ่งอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์จะเป็นตัวนำพายีน ตำแหน่งของยีนบนโครโมโซมเรียกว่า โลคัส4 ยีนที่มีโลคัสเหมือนกันมีผลทำให้เกิดคุณลักษณะอย่างเดียวกัน แม้ว่าผลนั้นจะเป็นไปได้ด้วยวิธีต่างๆ ตาม อัลลีน5 ที่แตกต่างกันของยีนในโลคัสเดียวกันนี้ เซลล์ใหม่ซึ่งก่อรูปขึ้นโดยการรวมตัวของ เซลล์สืบพันธุ์6 2 เซลล์ ในระหว่างกระบวนการของการปฏิสนธิ (602-1) เรียกว่า ตัวอ่อน7

912

ชุดยีนสองตัวของบุคคลหนึ่งที่อยู่ในโลคัสเดียวกัน เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม1 ลักษณะทางพันธุกรรมจะเรียกว่าเป็น พันธุ์แท้2 ถ้าอัลลีนที่โลคัสหนึ่งเหมือนกัน และถ้าอัลลีนในโลคัสไม่เหมือนกันจะเรียกว่าเป็น พันธุ์ผสม3 ลักษณะที่ปรากฏ4 ที่เป็นลักษณะที่เห็นได้จะถูกกำหนดโดยลักษณะทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ถ้าบุคคลพันธุ์ผสม (AA') ไม่สามารถแยกจากบุคคลพันธุ์แท้ (AA) อัลลีน A กล่าวได้ว่าเป็น ลักษณะเด่น5 เหนืออัลลีน A' และ A' จะกล่าวได้ว่าเป็น ลักษณะด้อย6 ยีนสามารถที่จะเปลี่ยนไปได้อย่างไม่มีกฎเกณฑ์โดยฉับพลันและชัดเจน ที่เรียกว่า การกลายพันธุ์7 การจับคู่แบบเปิดกว้าง8 หรือ การจับคู่แบบสุ่ม8 จะช่วยประกันการกระจายตัวของยีนอย่างมีรูปแบบของประชากร

913

มักมีการแยกความแตกต่างของนโยบายเกี่ยวกับการคัดเลือกพันธุ์มนุษย์อยู่เสมอระหว่าง สุพันธุกรรมเชิงบวก1 ซึ่งมุ่งเพิ่มจำนวนของคนที่เชื่อว่ามีคุณลักษณะที่ต้องการ และ สุพันธุกรรมเชิงลบ2 ซึ่งมุ่งจำกัดการสืบทอดพันธุ์ของบุคคลที่คาดว่าจะถ่ายทอดลักษณะไม่พึงประสงค์ หรือมี ความบกพร่องทางกรรมพันธุ์3 มีความสนใจอย่างมากในการอภิปรายเกี่ยวกับ การทำหมันเพื่อคัดเลือกพันธุ์4 ได้แก่ การทำหมันบุคคลที่น่าจะถ่ายทอดลักษณะไม่พึงประสงค์ไปสู่ทายาท ข้อคัดค้านต่อวิธีการนี้จะอยู่ที่เหตุผลด้านศีลธรรมและเหตุผลเกี่ยวกับประสิทธิภาพที่ค่อนข้างต่ำในการลดความถี่ของยีนที่มีลักษณะด้อย (912-6) ในวิธีการต่างๆที่เสนอสำหรับการปรับปรุงพันธุ์ การตรวจสอบก่อนสมรส5 เป็นวิธีหนึ่งซึ่งจะให้คู่ที่จะแต่งงานกันได้รับข้อมูลความรู้เกี่ยวกับคุณภาพของลูกที่จะเกิดมา เพื่อให้คู่ที่จะแต่งงานไม่มี การแต่งงานแบบเสื่อมพันธุ์6 กล่าวคือให้มีการเตือนเรื่องผลผลิตจากการแต่งงานที่จะมีข้อบกพร่อง

914

ความน่าจะเป็นซึ่งบุคคลในวัยเจริญพันธุ์คนหนึ่งจะเติบโตจนเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ขึ้นอยู่กับลักษณะทางพันธุกรรม (912-1) ของเขา ความแตกต่างของการสืบทอดพันธุ์เรียกว่า การคัดสรร1 ค่าคัดสรร2 หรือ ค่าสมรรถภาพของร่างกาย2 ของลักษณะทางพันธุกรรม เป็นจำนวนลูกของบุคคลที่มีลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งจะรอดชีพไปจนถึงวัยเจริญพันธุ์ ค่าคัดสรรเฉลี่ย3 หรือ ค่าสมรรถภาพของร่างกายเฉลี่ย3 ของประชากรหนึ่งเท่ากับค่าเฉลี่ยของค่าคัดสรรสำหรับลักษณะทางพันธุกรรมของสมาชิกประชากรนั้น น้ำหนักทางพันธุกรรม4 ของประชากรคือการลดลงของค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพของร่างกายอันเป็นผลจากการมีลักษณะทางพันธุกรรมที่หลากหลาย การขึ้นๆลงๆ ของความถี่ของยีนเฉพาะประเภทหนึ่งที่พบในคนรุ่นต่างๆกันของประชากร ถือเป็น การกระเพื่อมทางพันธุกรรม5 โครงสร้างยีน6 ของประชากรหนึ่งหมายถึงการกระจายตัวของความถี่ของอัลลีน (911-5) ต่างๆ ในโลคัส (911-4) หนึ่งภายในสมาชิกของประชากร โครงสร้างลักษณะทางพันธุกรรม7 ของประชากร หมายถึง การกระจายตัวของลักษณะพันธุกรรมที่แตกต่างกันในโลคัสเดียวกัน

915

ในกรณีของบุคคลที่มีเลือดชิด ซึ่งได้แก่บุคคล ซึ่งมีพ่อแม่ บรรพบุรุษคนเดียวกัน กล่าวได้ว่ายีนทั้งสองตัวเป็น ยีนที่เหมือนกัน1โดยการสืบสายพันธุ์ ถ้าทั้งสองมาจากบรรพบุรุษคนเดียวกันและอยู่ในโลคัสเดียวกัน ความน่าจะเป็นที่บุคคลคนหนึ่งถูกเลือกอย่างไม่จงใจในประชากรหนึ่งให้นำยีนสองตัวที่เหมือนกันโดยการสืบสายพันธุ์คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของการมีเลือดชิด2 ของประชากร ค่าสัมประสิทธิ์ของวงศาคณาญาติ3 ของประชากรคือความน่าจะเป็นที่คนสองคนในประชากรนั้นจะถูกเลือกโดยไม่จงใจให้นำยีนที่เหมือนกันมาอยู่ในโลคัสเดียวกันโดยการสืบพันธุ์

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=91&oldid=329"