The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

81

จาก Demopædia


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


812

สถิติการย้ายถิ่น1รวบรวมไว้เพื่อแสดงให้เห็นปริมาณของการย้ายถิ่น ทิศทางของการเคลื่อนย้ายถิ่น และลักษณะของผู้ย้ายถิ่น ความถูกต้องของข้อเท็จจริงแต่ละชนิดเหล่านี้ขึ้นอยู่กับวิธีในการเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อสถิติการย้ายถิ่นส่วนมากประกอบด้วยการประมาณและค่าคาดประมาณมากกว่าจะมาจากการวัดที่แม่นยำ การวัดโดยตรงของการย้ายถิ่น2ต้องการระบบบันทึกเมื่อเกิดการเคลื่อนย้ายขึ้น สถิติการย้ายถิ่นที่สมบูรณ์มากที่สุดพัฒนาจากการจดทะเบียนประชากรซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยทั้งหมดได้ถูกบันทึกไว้ ข้อมูลเหล่านี้ทำให้มีมาตรวัดของการย้ายถิ่นระหว่างประเทศและการย้ายถิ่นภายในประเทศ แต่มาตรวัดการย้ายถิ่นภายในประเทศเป็นที่น่าพอใจมากกว่า ในประเทศที่ไม่มีการจดทะเบียนประชากรเหล่านี้ ระบบบันทึกทางการบริหารซึ่งไม่ครอบคลุมประชากรทั้งหมดสามารถนำมาใช้ได้เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ฉะนั้น หลักฐานการจดทะเบียนผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง3 หลักฐานความมั่นคงทางสังคม4 หรือ หลักฐานผู้เสียภาษี5 อาจให้ข้อมูลเกี่ยวกับการย้ายถิ่นภายในประเทศ ในกรณีของการย้ายถิ่นจากต่างประเทศ สถิติอาจได้จาก บัญชีผู้โดยสาร7 หรือ รายชื่อผู้โดยสาร7ของเรือเดินสมุทรและเครื่องบิน การนับบุคคลที่ข้ามพรมแดนทางการเมืองให้เพียงข้อมูลหยาบมากๆ ส่วนมากในพื้นที่ที่มีการจราจรข้ามพรมแดน (803-2*)มาก จะต้องมีขั้นตอนเฉพาะเพื่อแยกผู้ย้ายถิ่นออกจาก ผู้เดินทาง8ที่ไม่ได้เปลี่ยนสถานที่อยู่อาศัย และบุคคลที่ผ่านเดินทาง 801-11) จำนวนของ วีซ่า9 หรือ ใบอนุญาตเข้าประเทศ9 และจำนวนของ ใบอนุญาตที่อยู่อาศัย10 หรือ ใบอนุญาตแรงงาน11 ที่ออกให้อาจใช้เป็นเครื่องชี้วัดของการย้ายถิ่นชาวต่างประเทศได้ด้วยเช่นกัน

  • 8. Traveller, n. - travel, v. - travel, n.: the process of travelling.
  • 9. In certain countries residents who wish to travel abroad are required to obtain exit permits or exit visas, records of which may serve as a source of information on migratory movements.

813

ข้อมูลที่รวบรวมไว้ในสำมะโนและการสำรวจทำให้มีการพัฒนา สถิติเกี่ยวกับผู้ย้ายถิ่น1ได้ การพัฒนาเช่นนี้ขึ้นอยู่กับคำถามที่ถาม ปรกติจะรวม สถิติผู้ย้ายถิ่นเข้า2 สถิติผู้ย้ายถิ่นออก2 และ สถิติสถานที่เกิด3 วิธีการนี้มีข้อจำกัดสำหรับการศึกษาเรื่องการย้ายถิ่นระหว่างประเทศ ผู้ย้ายถิ่นออกนอกประเทศไม่สามารถศึกษาได้ ในขณะที่ทราบเกี่ยวกับผู้ย้ายถิ่นเข้าประเทศ ไม่ว่าประเทศต้นทางจะเป็นประเทศอะไร

814

เมื่อเป็นไปไม่ได้ที่จะกำหนดจำนวนการย้ายถิ่นโดยตรง การประมาณทางอ้อมของการย้ายถิ่นสุทธิอาจทำได้โดย วิธีส่วนที่เหลือ1 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงในประชากรระหว่างสองเวลานำมาเปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงที่เนื่องมาจากการเพิ่มตามธรรมชาติ ความแตกต่างระหว่างตัวเลขทั้งสองจะเกิดจากการย้ายถิ่น วิธีสถิติชีพ2ประกอบด้วยการคำนวณความแตกต่างระหว่างการเปลี่ยนแปลงประชากรทั้งหมดที่คำนวณได้จากสำมะโนสองครั้งกับการเพิ่มตามธรรมชาติ (701-7) ในช่วงระยะเวลาระหว่างสำมะโนนั้น วิธีอัตราส่วนรอดชีพ3ใช้กันทั่วไปเพื่อประมาณการย้ายถิ่นสุทธิรายอายุ วิธีนี้ไม่ต้องใช้สถิติการตายจริงๆ อัตราส่วนรอดชีพอาจได้จากตารางชีพหรือจากการเปรียบเทียบสำมะโนสองครั้งติดต่อกัน และนำอัตราส่วนนี้ไปใช้กับประชากรกลุ่มย่อยในสำมะโนหนึ่งเพื่อได้จำนวนที่คาดหมายรายอายุ ณ เวลาของอีกสำมะโนหนึ่ง การเปรียบเทียบระหว่างประชากรที่สังเกตได้กับประชากรที่คาดหมายอาจใช้เพื่อประมาณความสมดุลของการย้ายถิ่นตามรายอายุสำหรับประชากรกลุ่มย่อย เมื่อมีสถิติสถานที่เกิด 4* (813-3) รายอายุและตามที่อาศัยอยู่ปัจจุบันในสำมะโนสองครั้งติดต่อกัน จะเป็นไปได้ที่จะคาดประมาณกระแสการย้ายถิ่นทางอ้อม

  • 2. The equation showing that the difference between total population change and natural increase is equal to migration has sometimes received the name of balancing equation. In order to use it for the estimation of net migration, one must assume that omissions (230-3) and multiple countings (230-5) are equal for both censuses.
  • 3. The major variants of this procedure are called the life table survival ratio method and the national census survival ratio method. In the forward survival ratio method, the population at the beginning of an intercensal period serves to estimate the expected population at the end of the period, and the procedure is reversed in the reverse survival ratio method; the average survival ratio method combines these two approaches.

815

ศัพท์ทั่วไปว่า อัตราการย้ายถิ่น1หมายถึงอัตราใดๆ ก็ตามที่วัดความถี่สัมพัทธ์ของการย้ายถิ่นภายในประเทศหนึ่ง นอกจากจะระบุไว้เป็นอย่างอื่น อัตราเหล่านี้จะถือเป็น อัตราการย้ายถิ่นต่อปี2 อัตราเหล่านี้อาจคำนวณได้เป็นอัตราส่วนของจำนวนเฉลี่ยในปีหนึ่งของการเคลื่อนย้ายในช่วงระยะเวลาหนึ่งต่อประชากรเฉลี่ยของระยะเวลานั้น อัตราต่อปีของการย้ายถิ่นสุทธิ3 และ อัตราต่อปีของการย้ายถิ่นรวม4คำนวณได้ด้วยวิธีเดียวกันโดยการใช้ข้อมูลที่เหมาะวมเกี่ยวกับการย้ายถิ่นสุทธิและการย้ายถิ่นรวม ดัชนีของประสิทธิภาพการย้ายถิ่น5หรือ ดัชนีประสิทธิภาพ5คำนวณเป็นอัตราส่วนของการย้ายถิ่นสุทธิต่อการย้ายถิ่นเข้าและออกทั้งหมด พิสัยของดัชนีนี้คอจากศูนย์เมื่อผู้มาถึงและผู้จากไปมีจำนวนเท่ากัน และสูงถึงหนึ่งเมื่อการย้ายถิ่นทั้งหมดเป็นไปทางเดียว

  • 2. Other denominators may serve to compute the rate, such as the population at the beginning or the end of the period, or the number of person-years lived by the population of the area.
  • 5. Also: Index of migration efficiency or efficiency index.

816

Proportions of migrants1 can be obtained by relating the number of migrants during a period to the population to which or from which they are migrating. When the proportion of out-migrants2 is obtained by dividing the number who reported moving out of the area by the population residing in the area at the beginning of the period and alive at the end, this index measures the probability of moving for the population at risk, and among other uses, it can be used in the preparation of population projections where migration is accounted for separately. But other populations are often used in practice as denominators to compute proportions of migrants. Similarly, the proportion of in-migrants3 is sometimes obtained by dividing the number of in-migrants in an area during a period, by the population of the area at the end of the period; but the denominator could also be the population at the beginning of the period, or the average of the beginning and end populations. The proportion of lifetime in-migrants4 can be derived from information on the place of birth, dividing the number of persons born out of the area by the enumerated population of the area. The proportion of lifetime out-migrants5 can be obtained by dividing the number of persons in a country living outside of their area of origin, either by the total number of persons born in that area, or by those among them who still live there. When such characteristics of the migrants as age (322-1), occupation (352-2) or level of education (342-1) are known, indices of migration differentials6 are used to contrast the migrants and the rest of the population of destination. The index is equal to the quantity 1 minus the ratio of the proportion of migrants in the population having the characteristic studied to the proportion of migrants in the whole population. The index of migration differentials is equal to zero when the population with the given characteristic has the same migration behavior as the rest of the population. The term selectivity of migration7 indicates that the comparison is between the in-migrants and the population from which they were drawn, at the area of origin (801-4). When comparing the characteristics of the in-migrants to those of the population at the place of arrival (801-5) the term differential migration 8* or migration difference 8* is sometimes used.

  • 7. For example, the selectivity of migration from Mexico was decreasing because differences in characteristics between migrants and nonmigrants fade over time; also the origins of Mexican immigrants was increasingly diverse because of the spread of Mexican migration networks in the USA.

817

Longitudinal migration analysis1 requires information on the successive moves of an individual over time, information which is normally available only from population registers (213-1) or retrospective surveys (203-8). Several refined measures of migration are available from this type of data, such as a first migration probability2, defined as the probability that a group of non-migrants3 aged x will be involved in migration for the first time before reaching age x + n . These probabilities can be used to calculate a non-migrant table4. The latter, when combined with a life table (432-3) will lead to a double decrement survivorship schedule of non-migrants5. Similarly, migration probabilities by order of move6 can be computed, as well as the proportion of migrants of a given order who have not gone on to make a subsequent move within a certain migration defining interval. The all orders migration rate7 is the ratio of moves of all orders in a year to the average population size of the cohort (117-2) over the year. The cumulation of these rates for a cohort up to a given date provides an estimate of the mean number of moves8 in the absence of mortality. A survivorship schedule can be combined with an age-specific all orders migration table9 to estimate the average number of remaining moves for an individual of a given age, given the prevailing mortality.

818

In studying migrants between two areas during a period, one commonly used measure is the index of migration intensity1, obtained by dividing the number of migrants from area A to area B by the product of the number of inhabitants in B at the end of the period, and the number of inhabitants of A at the beginning of the period who are still alive at the end. This index, divided by the ratio of the total number of migrants to the square of the population of the country, yields a migration preference index2. When the numerator is restricted to the net stream of migration, the resulting measure is called an index of net velocity3. The effectiveness of migration streams4 is measured by relating the absolute value of the net migration stream to the gross interchange (805-10).

  • 1. This index can be interpreted as the probability that two individuals alive at the end of the period selected randomly, one among those residing in area A at the beginning of the period, and the other among those residing in B at the end of the period, will be identical. The availability of data may impose various other denominators.

819

Migration models1 fall in two broad categories. The first relates migration streams (803-9) between two areas to social, economic or demographic variables. These variables are often classified as push factors2 when they characterize repulsion2 from the area of origin, as pull factors3 resulting in attraction3 to the area of destination, and as intervening obstacles4 between the two areas. The simplest of these models are gravity models5: the streams between the two areas are directly proportional to the size of their population, and inversely proportional to the distance6 between them, raised to a certain power. Other models consider that the streams are proportional to the opportunities in the area of destination, and inversely proportional to intervening opportunities7 between origin and destination. Models in the second broad category are stochastic models (730-5) and refer to individuals rather than to populations; they link the probability of migrating to a certain number of personal characteristics such as age or the previous history of migration.

  • 5. Or Pareto-type models.
  • 6. Distance can be measured in diverse ways: a straight line, the route, the number of intervening areas, etc.


* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=81&oldid=392"