The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "73"

จาก Demopædia
(730)
 
แถว 10: แถว 10:
  
 
{{TextTerm|แบบจำลองทางประชากรศาสตร์|1|730}}ประกอบด้วยแนวคิดเชิงทฤษฎีที่แสดงวิวัฒนาการของประชากร (ของบุคคล คู่อยู่กิน ครอบครัว ครัวเรือน ฯลฯ) และโครงสร้างของประชากรนั้นที่เริ่มจากฐานของประชากร ณ จุดเริ่มต้นบวกผลของตัวแปรทางประชากรทั้งหลาย (อย่างเช่น ภาวะเจริญพันธุ์ โอกาสปฏิสนธิ ภาวะการตาย ฯลฯ)  ใน{{TextTerm|แบบจำลองเชิงสถิตย์|2|730}}ตัวแปรเหล่านี้จะอยู่คงที่  ใน{{TextTerm|แบบจำลองเชิงพลวัต|3|730}}จะปล่อยให้ตัวแปรเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา  มีความแตกต่างมากไปกว่านั้นระหว่าง{{TextTerm|แบบจำลองเชิงตัวกำหนด|4|730}}ซึ่งกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างค่าแน่นอนของตัวแปรเหล่านั้นเสมือนว่าประชากรที่ศึกษามีขนาดใหญ่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด  กับ{{TextTerm|แบบจำลองสโตคาสติก|5|730}} หรือ{{TextTerm|แบบจำลองเชิงความน่าจะเป็น|5|730|2}}ซึ่งพิจารณาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลในช่วงเวลาของกระบวนการที่ศึกษา แบบจำลองอาจสร้างขึ้นมาในรูปของสูตรทางคณิตศาสตร์ หรือในรูปของ{{TextTerm|การกระทำเลียนแบบ|6|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์}}เมื่อค่าเฉพาะของตัวแปรต่างๆ ถูกรวมเข้าไปในระบบของความสัมพันธ์  {{TextTerm|การกระทำเลียนแบบมหภาค|7|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์มหภาค}}เป็นตัวอย่างของการฉายภาพประชากรด้วย{{NonRefTerm|วิธีส่วนประกอบ}} ({{RefNumber|72|0|5}})  ใน{{TextTerm|การกระทำเลียนแบบจุลภาค|8|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์จุลภาค}} เหตุการณ์ทำให้เกิดขึ้นอย่างสุ่มกับบุคคลหรือกลุ่มตลอดเวลาตามอนุกรมของความน่าจะเป็นที่กำหนดให้กับตัวแปรในแบบจำลอง
 
{{TextTerm|แบบจำลองทางประชากรศาสตร์|1|730}}ประกอบด้วยแนวคิดเชิงทฤษฎีที่แสดงวิวัฒนาการของประชากร (ของบุคคล คู่อยู่กิน ครอบครัว ครัวเรือน ฯลฯ) และโครงสร้างของประชากรนั้นที่เริ่มจากฐานของประชากร ณ จุดเริ่มต้นบวกผลของตัวแปรทางประชากรทั้งหลาย (อย่างเช่น ภาวะเจริญพันธุ์ โอกาสปฏิสนธิ ภาวะการตาย ฯลฯ)  ใน{{TextTerm|แบบจำลองเชิงสถิตย์|2|730}}ตัวแปรเหล่านี้จะอยู่คงที่  ใน{{TextTerm|แบบจำลองเชิงพลวัต|3|730}}จะปล่อยให้ตัวแปรเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา  มีความแตกต่างมากไปกว่านั้นระหว่าง{{TextTerm|แบบจำลองเชิงตัวกำหนด|4|730}}ซึ่งกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างค่าแน่นอนของตัวแปรเหล่านั้นเสมือนว่าประชากรที่ศึกษามีขนาดใหญ่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด  กับ{{TextTerm|แบบจำลองสโตคาสติก|5|730}} หรือ{{TextTerm|แบบจำลองเชิงความน่าจะเป็น|5|730|2}}ซึ่งพิจารณาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลในช่วงเวลาของกระบวนการที่ศึกษา แบบจำลองอาจสร้างขึ้นมาในรูปของสูตรทางคณิตศาสตร์ หรือในรูปของ{{TextTerm|การกระทำเลียนแบบ|6|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์}}เมื่อค่าเฉพาะของตัวแปรต่างๆ ถูกรวมเข้าไปในระบบของความสัมพันธ์  {{TextTerm|การกระทำเลียนแบบมหภาค|7|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์มหภาค}}เป็นตัวอย่างของการฉายภาพประชากรด้วย{{NonRefTerm|วิธีส่วนประกอบ}} ({{RefNumber|72|0|5}})  ใน{{TextTerm|การกระทำเลียนแบบจุลภาค|8|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์จุลภาค}} เหตุการณ์ทำให้เกิดขึ้นอย่างสุ่มกับบุคคลหรือกลุ่มตลอดเวลาตามอนุกรมของความน่าจะเป็นที่กำหนดให้กับตัวแปรในแบบจำลอง
{{Note|1| คำว่าแบบจำลองใช้เป็นคุณศัพท์ด้วย เช่นในตารางแบบจำลอง }}
+
{{Note|1| คำว่าแบบจำลองใช้เป็นคุณศัพท์ด้วย เช่นใน{{NoteTerm|ตารางแบบจำลอง}} }}
 
 
 
 
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 02:21, 11 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


730

แบบจำลองทางประชากรศาสตร์1ประกอบด้วยแนวคิดเชิงทฤษฎีที่แสดงวิวัฒนาการของประชากร (ของบุคคล คู่อยู่กิน ครอบครัว ครัวเรือน ฯลฯ) และโครงสร้างของประชากรนั้นที่เริ่มจากฐานของประชากร ณ จุดเริ่มต้นบวกผลของตัวแปรทางประชากรทั้งหลาย (อย่างเช่น ภาวะเจริญพันธุ์ โอกาสปฏิสนธิ ภาวะการตาย ฯลฯ) ใน แบบจำลองเชิงสถิตย์2ตัวแปรเหล่านี้จะอยู่คงที่ ใน แบบจำลองเชิงพลวัต3จะปล่อยให้ตัวแปรเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา มีความแตกต่างมากไปกว่านั้นระหว่าง แบบจำลองเชิงตัวกำหนด4ซึ่งกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างค่าแน่นอนของตัวแปรเหล่านั้นเสมือนว่าประชากรที่ศึกษามีขนาดใหญ่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด กับ แบบจำลองสโตคาสติก5 หรือ แบบจำลองเชิงความน่าจะเป็น5ซึ่งพิจารณาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลในช่วงเวลาของกระบวนการที่ศึกษา แบบจำลองอาจสร้างขึ้นมาในรูปของสูตรทางคณิตศาสตร์ หรือในรูปของ การกระทำเลียนแบบ6เมื่อค่าเฉพาะของตัวแปรต่างๆ ถูกรวมเข้าไปในระบบของความสัมพันธ์ การกระทำเลียนแบบมหภาค7เป็นตัวอย่างของการฉายภาพประชากรด้วยวิธีส่วนประกอบ (720-5) ใน การกระทำเลียนแบบจุลภาค8 เหตุการณ์ทำให้เกิดขึ้นอย่างสุ่มกับบุคคลหรือกลุ่มตลอดเวลาตามอนุกรมของความน่าจะเป็นที่กำหนดให้กับตัวแปรในแบบจำลอง

  • 1. คำว่าแบบจำลองใช้เป็นคุณศัพท์ด้วย เช่นในตารางแบบจำลอง

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=73&oldid=433"