The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "73"

จาก Demopædia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' <!--'''73'''--> {{CurrentStatus}} {{Unmodified edition II}} {{Summary}} __NOTOC__ === 730 === {{TextTerm|แบบจำลอง...')
 
(730)
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 730 ===
 
=== 730 ===
  
{{TextTerm|แบบจำลองทางประชากรศาสตร์|1|730}}ประกอบด้วยความคิดเชิงทฤษฎีที่แสดงวิวัฒนาการของประชากร (ของบุคคล คู่อยู่กิน ครอบครัว ครัวเรือน ฯลฯ) และโครงสร้างของประชากรนั้นบนพื้นฐานของสภาพเริ่มต้นและผลของตัวแปรทางประชากรทั้งหลาย (อย่างเช่น ภาวะเจริญพันธุ์ โอกาสปฏิสนธิ ภาวะการตาย ฯลฯ)  ใน{{TextTerm|แบบจำลองเชิงสถิตย์|2|730}}ตัวแปรเหล่านี้จะอยู่คงที่  ใน{{TextTerm|แบบจำลองเชิงพลวัต|3|730}}จะปล่อยให้ตัวแปรเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา  มีความแตกต่างมากไปกว่านั้นระหว่าง{{TextTerm|แบบจำลองเชิงตัวกำหนด|4|730}}ซึ่งกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างค่าแน่นอนของตัวแปรเหล่านั้นเสมือนว่าประชากรที่ศึกษามีขนาดใหญ่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด  กับ{{TextTerm|แบบจำลองสโตคาสติก|5|730}} หรือ{{TextTerm|แบบจำลองเชิงความน่าจะเป็น|5|730|2}}ซึ่งพิจารณาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลในช่วงเวลาของกระบวนการที่ศึกษา แบบจำลองอาจสร้างขึ้นมาในรูปของสูตรทางคณิตศาสตร์ หรือในรูปของ{{TextTerm|การกระทำเลียนแบบ|6|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์}}เมื่อค่าเฉพาะของตัวแปรต่างๆ ถูกรวมเข้าไปในระบบของความสัมพันธ์  {{TextTerm|การกระทำเลียนแบบมหภาค|7|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์มหภาค}}เป็นตัวอย่างของการฉายภาพประชากรด้วย{{NonRefTerm|วิธีส่วนประกอบ}} ({{RefNumber|72|0|5}})  ใน{{TextTerm|การกระทำเลียนแบบจุลภาค|8|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์จุลภาค}} เหตุการณ์ทำให้เกิดขึ้นอย่างสุ่มกับบุคคลหรือกลุ่มตลอดเวลาตามอนุกรมของความน่าจะเป็นที่กำหนดให้กับตัวแปรในแบบจำลอง
+
{{TextTerm|แบบจำลองทางประชากรศาสตร์|1|730}}ประกอบด้วยแนวคิดเชิงทฤษฎีที่แสดงวิวัฒนาการของประชากร (ของบุคคล คู่อยู่กิน ครอบครัว ครัวเรือน ฯลฯ) และโครงสร้างของประชากรนั้นที่เริ่มจากฐานของประชากร ณ จุดเริ่มต้นบวกผลของตัวแปรทางประชากรทั้งหลาย (อย่างเช่น ภาวะเจริญพันธุ์ โอกาสปฏิสนธิ ภาวะการตาย ฯลฯ)  ใน{{TextTerm|แบบจำลองเชิงสถิตย์|2|730}}ตัวแปรเหล่านี้จะอยู่คงที่  ใน{{TextTerm|แบบจำลองเชิงพลวัต|3|730}}จะปล่อยให้ตัวแปรเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา  มีความแตกต่างมากไปกว่านั้นระหว่าง{{TextTerm|แบบจำลองเชิงตัวกำหนด|4|730}}ซึ่งกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างค่าแน่นอนของตัวแปรเหล่านั้นเสมือนว่าประชากรที่ศึกษามีขนาดใหญ่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด  กับ{{TextTerm|แบบจำลองสโตคาสติก|5|730}} หรือ{{TextTerm|แบบจำลองเชิงความน่าจะเป็น|5|730|2}}ซึ่งพิจารณาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลในช่วงเวลาของกระบวนการที่ศึกษา แบบจำลองอาจสร้างขึ้นมาในรูปของสูตรทางคณิตศาสตร์ หรือในรูปของ{{TextTerm|การกระทำเลียนแบบ|6|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์}}เมื่อค่าเฉพาะของตัวแปรต่างๆ ถูกรวมเข้าไปในระบบของความสัมพันธ์  {{TextTerm|การกระทำเลียนแบบมหภาค|7|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์มหภาค}}เป็นตัวอย่างของการฉายภาพประชากรด้วย{{NonRefTerm|วิธีส่วนประกอบ}} ({{RefNumber|72|0|5}})  ใน{{TextTerm|การกระทำเลียนแบบจุลภาค|8|730|OtherIndexEntry=การจำลองสถานการณ์จุลภาค}} เหตุการณ์ทำให้เกิดขึ้นอย่างสุ่มกับบุคคลหรือกลุ่มตลอดเวลาตามอนุกรมของความน่าจะเป็นที่กำหนดให้กับตัวแปรในแบบจำลอง
 
+
{{Note|1| คำว่าแบบจำลองใช้เป็นคุณศัพท์ด้วย เช่นใน{{NoteTerm|ตารางแบบจำลอง}} }}
 
 
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 02:21, 11 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


730

แบบจำลองทางประชากรศาสตร์1ประกอบด้วยแนวคิดเชิงทฤษฎีที่แสดงวิวัฒนาการของประชากร (ของบุคคล คู่อยู่กิน ครอบครัว ครัวเรือน ฯลฯ) และโครงสร้างของประชากรนั้นที่เริ่มจากฐานของประชากร ณ จุดเริ่มต้นบวกผลของตัวแปรทางประชากรทั้งหลาย (อย่างเช่น ภาวะเจริญพันธุ์ โอกาสปฏิสนธิ ภาวะการตาย ฯลฯ) ใน แบบจำลองเชิงสถิตย์2ตัวแปรเหล่านี้จะอยู่คงที่ ใน แบบจำลองเชิงพลวัต3จะปล่อยให้ตัวแปรเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา มีความแตกต่างมากไปกว่านั้นระหว่าง แบบจำลองเชิงตัวกำหนด4ซึ่งกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างค่าแน่นอนของตัวแปรเหล่านั้นเสมือนว่าประชากรที่ศึกษามีขนาดใหญ่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด กับ แบบจำลองสโตคาสติก5 หรือ แบบจำลองเชิงความน่าจะเป็น5ซึ่งพิจารณาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลในช่วงเวลาของกระบวนการที่ศึกษา แบบจำลองอาจสร้างขึ้นมาในรูปของสูตรทางคณิตศาสตร์ หรือในรูปของ การกระทำเลียนแบบ6เมื่อค่าเฉพาะของตัวแปรต่างๆ ถูกรวมเข้าไปในระบบของความสัมพันธ์ การกระทำเลียนแบบมหภาค7เป็นตัวอย่างของการฉายภาพประชากรด้วยวิธีส่วนประกอบ (720-5) ใน การกระทำเลียนแบบจุลภาค8 เหตุการณ์ทำให้เกิดขึ้นอย่างสุ่มกับบุคคลหรือกลุ่มตลอดเวลาตามอนุกรมของความน่าจะเป็นที่กำหนดให้กับตัวแปรในแบบจำลอง

  • 1. คำว่าแบบจำลองใช้เป็นคุณศัพท์ด้วย เช่นในตารางแบบจำลอง

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=73&oldid=433"