The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "70"

จาก Demopædia
(703)
(No NewTextTerm in Thai)
 
แถว 9: แถว 9:
 
=== 701 ===
 
=== 701 ===
  
ปฏิกิริยาของภาวะเจริญพันธุ์ ภาวะการตาย และการย้ายถิ่นนำไปสู่การพิจารณาเรื่อง{{TextTerm|การเพิ่มประชากร|1|701}} {{NewTextTerm|การเพิ่มประชากรเป็นศูนย์|10|701}}หมายถึงประชากรที่มีขนาดไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการสะดวกที่จะพูดว่า{{TextTerm|การลดลงของประชากร|2|701}}เป็น{{TextTerm|การเพิ่มเชิงลบ|3|701}}  อาจแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ประชากรปิด|4|701}}ซึ่งเป็นประชากรที่ไม่มีทั้งการย้ายถิ่นเข้าและการย้ายถิ่นออกและการเพิ่มของประชากรนั้นทั้งหมดขึ้นอยู่กับความแตกต่างระหว่างการเกิดและการตาย  กับ{{TextTerm|ประชากรเปิด|5|701}}ซึ่งอาจมีการย้ายถิ่น  การเพิ่มของประชากรเปิดประกอบด้วย{{TextTerm|ความสมดุลของการย้ายถิ่น|6|701}}หรือ{{TextTerm|การย้ายถิ่นสุทธิ|6|701|2}} และ{{TextTerm|การเพิ่มตามธรรมชาติ|7|701}}ซึ่งเป็น{{TextTerm|ส่วนที่การเกิดมากกว่าการตาย|8|701}}หรือ{{NewTextTerm|ส่วนที่การเกิดน้อยกว่าการตาย|9|701}} บางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ความสมดุลของการเกิดและการตาย|8|701|2}} การเปลี่ยนแปลงใดๆ ในตัวแปรหนึ่งมีผลต่อการเพิ่มทั้งหมดและโครงสร้างของประชากร ในบริบทเช่นนี้เรียกว่าเป็น{{NewTextTerm|ผลกระทบทางการเพิ่มประชากร|11|701}} และ{{NewTextTerm|ผลกระทบทางโครงสร้าง|12|701}}
+
ปฏิกิริยาของภาวะเจริญพันธุ์ ภาวะการตาย และการย้ายถิ่นนำไปสู่การพิจารณาเรื่อง{{TextTerm|การเพิ่มประชากร|1|701}} {{TextTerm|การเพิ่มประชากรเป็นศูนย์|10|701}}หมายถึงประชากรที่มีขนาดไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการสะดวกที่จะพูดว่า{{TextTerm|การลดลงของประชากร|2|701}}เป็น{{TextTerm|การเพิ่มเชิงลบ|3|701}}  อาจแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ประชากรปิด|4|701}}ซึ่งเป็นประชากรที่ไม่มีทั้งการย้ายถิ่นเข้าและการย้ายถิ่นออกและการเพิ่มของประชากรนั้นทั้งหมดขึ้นอยู่กับความแตกต่างระหว่างการเกิดและการตาย  กับ{{TextTerm|ประชากรเปิด|5|701}}ซึ่งอาจมีการย้ายถิ่น  การเพิ่มของประชากรเปิดประกอบด้วย{{TextTerm|ความสมดุลของการย้ายถิ่น|6|701}}หรือ{{TextTerm|การย้ายถิ่นสุทธิ|6|701|2}} และ{{TextTerm|การเพิ่มตามธรรมชาติ|7|701}}ซึ่งเป็น{{TextTerm|ส่วนที่การเกิดมากกว่าการตาย|8|701}}หรือ{{TextTerm|ส่วนที่การเกิดน้อยกว่าการตาย|9|701}} บางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ความสมดุลของการเกิดและการตาย|8|701|2}} การเปลี่ยนแปลงใดๆ ในตัวแปรหนึ่งมีผลต่อการเพิ่มทั้งหมดและโครงสร้างของประชากร ในบริบทเช่นนี้เรียกว่าเป็น{{TextTerm|ผลกระทบทางการเพิ่มประชากร|11|701}} และ{{TextTerm|ผลกระทบทางโครงสร้าง|12|701}}
  
 
=== 702 ===
 
=== 702 ===
แถว 19: แถว 19:
 
=== 703 ===
 
=== 703 ===
  
สามารถแสดงให้เห็นได้ว่าเมื่อ{{NonRefTerm|ประชากรปิด}} ({{RefNumber|70|1|4}}) มี{{NonRefTerm|ภาวะเจริญพันธุ์รายอายุ}} และ{{NonRefTerm|อัตราการตาย}} ({{RefNumber|63|1|8}}; {{RefNumber|41|2|1}}) คงที่เป็นระยะเวลานานเพียงพอ  อัตราต่อปีของการเพิ่มจะกลายเป็นอัตราที่คงที่  อัตราของการเพิ่มที่คงที่นี้เรียกว่า{{TextTerm|อัตราเพิ่มตามธรรมชาติในตัวเอง|1|703}}  และประชากรที่ถึงขั้นตอนนี้จะเรียกว่า{{TextTerm|ประชากรคงรูป|2|703}} สัดส่วนของคนที่อยู่ในกลุ่มอายุต่างๆ ในประชากรคงรูปจะคงที่ กล่าวคือประชากรจะมี{{TextTerm|การกระจายอายุคงที่|3|703}} การกระจายอายุคงที่นี้เป็นอิสระจาก{{TextTerm|การกระจายอายุเมื่อเริ่มต้น|4|703}} และขึ้นอยู่กับอัตราเจริญพันธุ์และอัตราการตายซึ่งคงที่เท่านั้น ในความเป็นจริง ประชากรมนุษย์ไม่เคยถึงขั้นคงที่อย่างแน่นอนเช่นนั้น เพราะอัตราเจริญพันธุ์และอัตราการตายจะเปลี่ยนไปตลอดเวลา แต่การคำนวณประชากรคงรูปอย่างแบบจำลองและการคำนวณอัตราแท้จริงจะให้ดัชนีของ{{TextTerm|ศักยภาพการเพิ่ม|5|703}}ของชุดของอัตราเจริญพันธุ์รายอายุ เกี่ยวโยงกับศักยภาพการเพิ่ม ก็ควรกล่าวถึงแรงเฉื่อยของประชากรชั่วขณะหรือ{{NewTextTerm|แรงเหวี่ยงทางประชากรศาสตร์|11|703}} คำนี้หมายถึงพลวัตที่ซ่อนอยู่ในโครงสร้างประชากรอันเนื่องมาจากการตอบสนองการเพิ่มประชากรที่ล่าช้า มีสาเหตุโดยความจริงที่ว่านับจากเวลาของการเกิดของรุ่น ({{RefNumber|11|6|2}}) หนึ่งจนถึงเวลาเริ่มต้นภาวะเจริญพันธุ์ ({{RefNumber|62|0|1}}) ของรุ่นนั้น มีจำนวนระยะเวลาหนึ่งผ่านไป ด้วยเหตุผลนี้ ประชากรอาจยังคงเพิ่มขึ้นแม้ว่าอัตราเกิดได้ลดลงมานานแล้วก็ตาม กรณีตรงข้ามก็เป็นไปได้ด้วยเช่นกัน  แรงเหวี่ยงถูกเปลี่ยนโดยเฉพาะในกรณีของความไม่ต่อเนื่องในวิวัฒนาการของการเกิด (เช่นระหว่างสงคราม) และการย้อนกลับโดยฉับพลันของแนวโน้ม ประชากรคงรูปซึ่งอัตราแท้จริงของการเพิ่มตามธรรมชาติเป็นศูนย์เรียกว่า{{TextTerm|ประชากรคงที่|6|703}}  ในประชากรคงที่ จำนวนในกลุ่มอายุหนึ่งจะเท่ากับค่าอินทีกรัลของ{{NonRefTerm|ฟังก์ชันการรอดชีพ}} ({{RefNumber|43|1|3}}) ของตารางชีพระหว่างขีดจำกัดอายุข้างบนและข้างล่างของกลุ่มอายุนั้น คูณด้วยแฟคเตอร์ที่เป็นสัดส่วนเหมือนกันในทุกกลุ่มอายุ  {{TextTerm|ประชากรเสมือนคงรูป|7|703}}เป็นประชากรคงรูปอย่างที่อธิบายมาแล้วที่มีภาวะเจริญพันธุ์คงที่และภาวะการตายค่อยๆ เปลี่ยนไป ลักษณะประชากรประเภทนี้เหมือนกับ{{NewTextTerm|ประชากรกึ่งคงรูป|8|703}} ซึ่งเป็นประชากรปิดและโครงสร้างอายุคงที่ {{TextTerm|ประชากรลอจิสติค|9|703}}เป็นประชากรที่กำลังเพิ่มตาม{{TextTerm|กฎลอจิสติค|10|703}}ของการเพิ่ม ได้แก่ประชากรซึ่งอัตราเพิ่มลดลงเป็นฟังก์ชันเชิงเส้นตรงของประชากรที่มีชีวิตอยู่แล้วและจะลู่เข้าสู่ค่าหนึ่งที่เป็นค่าขีดจำกัดข้างบน  
+
สามารถแสดงให้เห็นได้ว่าเมื่อ{{NonRefTerm|ประชากรปิด}} ({{RefNumber|70|1|4}}) มี{{NonRefTerm|ภาวะเจริญพันธุ์รายอายุ}} และ{{NonRefTerm|อัตราการตาย}} ({{RefNumber|63|1|8}}; {{RefNumber|41|2|1}}) คงที่เป็นระยะเวลานานเพียงพอ  อัตราต่อปีของการเพิ่มจะกลายเป็นอัตราที่คงที่  อัตราของการเพิ่มที่คงที่นี้เรียกว่า{{TextTerm|อัตราเพิ่มตามธรรมชาติในตัวเอง|1|703}}  และประชากรที่ถึงขั้นตอนนี้จะเรียกว่า{{TextTerm|ประชากรคงรูป|2|703}} สัดส่วนของคนที่อยู่ในกลุ่มอายุต่างๆ ในประชากรคงรูปจะคงที่ กล่าวคือประชากรจะมี{{TextTerm|การกระจายอายุคงที่|3|703}} การกระจายอายุคงที่นี้เป็นอิสระจาก{{TextTerm|การกระจายอายุเมื่อเริ่มต้น|4|703}} และขึ้นอยู่กับอัตราเจริญพันธุ์และอัตราการตายซึ่งคงที่เท่านั้น ในความเป็นจริง ประชากรมนุษย์ไม่เคยถึงขั้นคงที่อย่างแน่นอนเช่นนั้น เพราะอัตราเจริญพันธุ์และอัตราการตายจะเปลี่ยนไปตลอดเวลา แต่การคำนวณประชากรคงรูปอย่างแบบจำลองและการคำนวณอัตราแท้จริงจะให้ดัชนีของ{{TextTerm|ศักยภาพการเพิ่ม|5|703}}ของชุดของอัตราเจริญพันธุ์รายอายุ เกี่ยวโยงกับศักยภาพการเพิ่ม ก็ควรกล่าวถึงแรงเฉื่อยของประชากรชั่วขณะหรือ{{TextTerm|แรงเหวี่ยงทางประชากรศาสตร์|11|703}} คำนี้หมายถึงพลวัตที่ซ่อนอยู่ในโครงสร้างประชากรอันเนื่องมาจากการตอบสนองการเพิ่มประชากรที่ล่าช้า มีสาเหตุโดยความจริงที่ว่านับจากเวลาของการเกิดของรุ่น ({{RefNumber|11|6|2}}) หนึ่งจนถึงเวลาเริ่มต้นภาวะเจริญพันธุ์ ({{RefNumber|62|0|1}}) ของรุ่นนั้น มีจำนวนระยะเวลาหนึ่งผ่านไป ด้วยเหตุผลนี้ ประชากรอาจยังคงเพิ่มขึ้นแม้ว่าอัตราเกิดได้ลดลงมานานแล้วก็ตาม กรณีตรงข้ามก็เป็นไปได้ด้วยเช่นกัน  แรงเหวี่ยงถูกเปลี่ยนโดยเฉพาะในกรณีของความไม่ต่อเนื่องในวิวัฒนาการของการเกิด (เช่นระหว่างสงคราม) และการย้อนกลับโดยฉับพลันของแนวโน้ม ประชากรคงรูปซึ่งอัตราแท้จริงของการเพิ่มตามธรรมชาติเป็นศูนย์เรียกว่า{{TextTerm|ประชากรคงที่|6|703}}  ในประชากรคงที่ จำนวนในกลุ่มอายุหนึ่งจะเท่ากับค่าอินทีกรัลของ{{NonRefTerm|ฟังก์ชันการรอดชีพ}} ({{RefNumber|43|1|3}}) ของตารางชีพระหว่างขีดจำกัดอายุข้างบนและข้างล่างของกลุ่มอายุนั้น คูณด้วยแฟคเตอร์ที่เป็นสัดส่วนเหมือนกันในทุกกลุ่มอายุ  {{TextTerm|ประชากรเสมือนคงรูป|7|703}}เป็นประชากรคงรูปอย่างที่อธิบายมาแล้วที่มีภาวะเจริญพันธุ์คงที่และภาวะการตายค่อยๆ เปลี่ยนไป ลักษณะประชากรประเภทนี้เหมือนกับ{{TextTerm|ประชากรกึ่งคงรูป|8|703}} ซึ่งเป็นประชากรปิดและโครงสร้างอายุคงที่ {{TextTerm|ประชากรลอจิสติค|9|703}}เป็นประชากรที่กำลังเพิ่มตาม{{TextTerm|กฎลอจิสติค|10|703}}ของการเพิ่ม ได้แก่ประชากรซึ่งอัตราเพิ่มลดลงเป็นฟังก์ชันเชิงเส้นตรงของประชากรที่มีชีวิตอยู่แล้วและจะลู่เข้าสู่ค่าหนึ่งที่เป็นค่าขีดจำกัดข้างบน  
 
{{Note|1| อัตราในตัวเองซึ่งล็อตก้า (Lotka) ผู้คิดแบบจำลองประชากรคงรูปเรียกว่า{{NoteTerm|อัตราแท้จริงของการเพิ่มตามธรรมชาติ}} เท่ากับความแตกต่างระหว่าง{{NoteTerm|อัตราเกิดแท้จริง}} (หรือ {{NoteTerm|อัตราเกิดคงที่}}) กับ{{NoteTerm|อัตราตายแท้จริง}} (หรือ{{NoteTerm|อัตราตายคงที่}})}}
 
{{Note|1| อัตราในตัวเองซึ่งล็อตก้า (Lotka) ผู้คิดแบบจำลองประชากรคงรูปเรียกว่า{{NoteTerm|อัตราแท้จริงของการเพิ่มตามธรรมชาติ}} เท่ากับความแตกต่างระหว่าง{{NoteTerm|อัตราเกิดแท้จริง}} (หรือ {{NoteTerm|อัตราเกิดคงที่}}) กับ{{NoteTerm|อัตราตายแท้จริง}} (หรือ{{NoteTerm|อัตราตายคงที่}})}}
 
{{Note|2| {{NoteTerm|การวิเคราะห์ประชากรคงรูป}}ใช้คุณสมบัติของประชากรคงรูปเพื่อประมาณลักษณะต่างๆ ของประชากรที่แท้จริง }}
 
{{Note|2| {{NoteTerm|การวิเคราะห์ประชากรคงรูป}}ใช้คุณสมบัติของประชากรคงรูปเพื่อประมาณลักษณะต่างๆ ของประชากรที่แท้จริง }}

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 14:46, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


701

ปฏิกิริยาของภาวะเจริญพันธุ์ ภาวะการตาย และการย้ายถิ่นนำไปสู่การพิจารณาเรื่อง การเพิ่มประชากร1 การเพิ่มประชากรเป็นศูนย์10หมายถึงประชากรที่มีขนาดไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการสะดวกที่จะพูดว่า การลดลงของประชากร2เป็น การเพิ่มเชิงลบ3 อาจแยกความแตกต่างระหว่าง ประชากรปิด4ซึ่งเป็นประชากรที่ไม่มีทั้งการย้ายถิ่นเข้าและการย้ายถิ่นออกและการเพิ่มของประชากรนั้นทั้งหมดขึ้นอยู่กับความแตกต่างระหว่างการเกิดและการตาย กับ ประชากรเปิด5ซึ่งอาจมีการย้ายถิ่น การเพิ่มของประชากรเปิดประกอบด้วย ความสมดุลของการย้ายถิ่น6หรือ การย้ายถิ่นสุทธิ6 และ การเพิ่มตามธรรมชาติ7ซึ่งเป็น ส่วนที่การเกิดมากกว่าการตาย8หรือ ส่วนที่การเกิดน้อยกว่าการตาย9 บางครั้งเรียกว่า ความสมดุลของการเกิดและการตาย8 การเปลี่ยนแปลงใดๆ ในตัวแปรหนึ่งมีผลต่อการเพิ่มทั้งหมดและโครงสร้างของประชากร ในบริบทเช่นนี้เรียกว่าเป็น ผลกระทบทางการเพิ่มประชากร11 และ ผลกระทบทางโครงสร้าง12

702

อัตราส่วนของการเพิ่มทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่งต่อประชากรเฉลี่ยของช่วงเวลานั้นเรียกว่า อัตราเพิ่ม1 ในบางครั้งอัตรานี้คำนวณด้วยประชากรเมื่อเริ่มต้นของช่วงเวลามากกว่าใช้ประชากรเฉลี่ยเป็นตัวหาร เมื่อศึกษาการเพิ่มประชากรนานกว่าหนึ่งปีปฏิทิน อาจคำนวณ อัตราเพิ่มต่อปีเฉลี่ย2 ในการคำนวณอัตรานี้บางครั้งจะสมมุติว่าประชากรเพิ่มขึ้นด้วย การเพิ่มเชิงชี้กำลัง3ในช่วงเวลานั้น และจะถือว่าเวลาเป็นตัวแปรต่อเนื่อง ขนาดของ ประชากรเชิงชี้กำลัง4จะเพิ่มขึ้นเป็นฟังก์ชันเอ๊กซ์โปเนนเชียลของเวลา อัตราเพิ่มเชิงชี้กำลัง5เท่ากับ อัตราฉับพลันของการเพิ่ม5 อัตราส่วนของการเพิ่มตามธรรมชาติ (701-7) ต่อประชากรเฉลี่ยในช่วงระยะเวลาหนึ่งเรียกว่า อัตราอย่างหยาบของการเพิ่มตามธรรมชาติ6 และมีค่าเท่ากับความแตกต่างระหว่างอัตราเกิดอย่างหยาบและอัตราตายอย่างหยาบ ดัชนีชีพ7เป็นอัตราส่วนของจำนวนของการเกิดต่อจำนวนของการตายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แต่ดัชนีนี้ไม่ค่อยมีการใช้กันแล้ว

  • 3. เมื่อเวลาถูกกระทำให้เป็นตัวแปรไม่ต่อเนื่อง การเพิ่มที่อ้างถึงเป็นการเพิ่มเชิงเรขาคณิต
  • 4. บางครั้งเรียกว่าประชากรแบบมัลทัส แต่คำนี้ยังกำกวมอยู่ในนัยยะทางสังคมวิทยา (ดู 906-1)

703

สามารถแสดงให้เห็นได้ว่าเมื่อประชากรปิด (701-4) มีภาวะเจริญพันธุ์รายอายุ และอัตราการตาย (631-8; 412-1) คงที่เป็นระยะเวลานานเพียงพอ อัตราต่อปีของการเพิ่มจะกลายเป็นอัตราที่คงที่ อัตราของการเพิ่มที่คงที่นี้เรียกว่า อัตราเพิ่มตามธรรมชาติในตัวเอง1 และประชากรที่ถึงขั้นตอนนี้จะเรียกว่า ประชากรคงรูป2 สัดส่วนของคนที่อยู่ในกลุ่มอายุต่างๆ ในประชากรคงรูปจะคงที่ กล่าวคือประชากรจะมี การกระจายอายุคงที่3 การกระจายอายุคงที่นี้เป็นอิสระจาก การกระจายอายุเมื่อเริ่มต้น4 และขึ้นอยู่กับอัตราเจริญพันธุ์และอัตราการตายซึ่งคงที่เท่านั้น ในความเป็นจริง ประชากรมนุษย์ไม่เคยถึงขั้นคงที่อย่างแน่นอนเช่นนั้น เพราะอัตราเจริญพันธุ์และอัตราการตายจะเปลี่ยนไปตลอดเวลา แต่การคำนวณประชากรคงรูปอย่างแบบจำลองและการคำนวณอัตราแท้จริงจะให้ดัชนีของ ศักยภาพการเพิ่ม5ของชุดของอัตราเจริญพันธุ์รายอายุ เกี่ยวโยงกับศักยภาพการเพิ่ม ก็ควรกล่าวถึงแรงเฉื่อยของประชากรชั่วขณะหรือ แรงเหวี่ยงทางประชากรศาสตร์11 คำนี้หมายถึงพลวัตที่ซ่อนอยู่ในโครงสร้างประชากรอันเนื่องมาจากการตอบสนองการเพิ่มประชากรที่ล่าช้า มีสาเหตุโดยความจริงที่ว่านับจากเวลาของการเกิดของรุ่น (116-2) หนึ่งจนถึงเวลาเริ่มต้นภาวะเจริญพันธุ์ (620-1) ของรุ่นนั้น มีจำนวนระยะเวลาหนึ่งผ่านไป ด้วยเหตุผลนี้ ประชากรอาจยังคงเพิ่มขึ้นแม้ว่าอัตราเกิดได้ลดลงมานานแล้วก็ตาม กรณีตรงข้ามก็เป็นไปได้ด้วยเช่นกัน แรงเหวี่ยงถูกเปลี่ยนโดยเฉพาะในกรณีของความไม่ต่อเนื่องในวิวัฒนาการของการเกิด (เช่นระหว่างสงคราม) และการย้อนกลับโดยฉับพลันของแนวโน้ม ประชากรคงรูปซึ่งอัตราแท้จริงของการเพิ่มตามธรรมชาติเป็นศูนย์เรียกว่า ประชากรคงที่6 ในประชากรคงที่ จำนวนในกลุ่มอายุหนึ่งจะเท่ากับค่าอินทีกรัลของฟังก์ชันการรอดชีพ (431-3) ของตารางชีพระหว่างขีดจำกัดอายุข้างบนและข้างล่างของกลุ่มอายุนั้น คูณด้วยแฟคเตอร์ที่เป็นสัดส่วนเหมือนกันในทุกกลุ่มอายุ ประชากรเสมือนคงรูป7เป็นประชากรคงรูปอย่างที่อธิบายมาแล้วที่มีภาวะเจริญพันธุ์คงที่และภาวะการตายค่อยๆ เปลี่ยนไป ลักษณะประชากรประเภทนี้เหมือนกับ ประชากรกึ่งคงรูป8 ซึ่งเป็นประชากรปิดและโครงสร้างอายุคงที่ ประชากรลอจิสติค9เป็นประชากรที่กำลังเพิ่มตาม กฎลอจิสติค10ของการเพิ่ม ได้แก่ประชากรซึ่งอัตราเพิ่มลดลงเป็นฟังก์ชันเชิงเส้นตรงของประชากรที่มีชีวิตอยู่แล้วและจะลู่เข้าสู่ค่าหนึ่งที่เป็นค่าขีดจำกัดข้างบน

  • 1. อัตราในตัวเองซึ่งล็อตก้า (Lotka) ผู้คิดแบบจำลองประชากรคงรูปเรียกว่าอัตราแท้จริงของการเพิ่มตามธรรมชาติ เท่ากับความแตกต่างระหว่างอัตราเกิดแท้จริง (หรือ อัตราเกิดคงที่) กับอัตราตายแท้จริง (หรืออัตราตายคงที่)
  • 2. การวิเคราะห์ประชากรคงรูปใช้คุณสมบัติของประชากรคงรูปเพื่อประมาณลักษณะต่างๆ ของประชากรที่แท้จริง

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=70&oldid=756"