The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "62"

จาก Demopædia
(621)
 
(ไม่แสดง 26 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 620 ===
 
=== 620 ===
  
{{TextTerm|ช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์|1|620}} (หรือ{{TextTerm|ช่วงเวลามีบุตร|1|620|2}}ในสตรี) เริ่มที่{{TextTerm|วัยสามารถผสมพันธุ์ได้|2|620}} {{TextTerm|การมีระดู|3|620}} — {{TextTerm|การปรากฏขึ้นของประจำเดือน|4|620|IndexEntry=ประจำเดือน}} หรือ{{TextTerm|เมน|4|620|2}}ในสตรี — เริ่มที่วัยสามารถผสมพันธุ์ได้ ประจำเดือนแรกเรียก{{TextTerm|การเริ่มแรกมีระดู|5|620}} และการมีประจำเดือนหยุดลงเมื่อถึง{{TextTerm|วัยหมดระดู|6|620}} ซึ่งบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ช่วงระยะหมดระดู|6|620|2}} ในทางปฏิบัติ ช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์มักจะกำหนดว่าให้เริ่มที่อายุ 15 ปี หรือ{{NonRefTerm|อายุต่ำสุดที่จะแต่งงาน}} ({{RefNumber|50|4|1}}) และมักจะให้สิ้นสุดลงที่อายุ 45 หรือ 50 ปี การไม่มีประจำเดือนชั่วคราวทั้งที่เป็นปรกติดหรือเกิดจากความเจ็บป่วยเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะขาดระดู|7|620|IndexEntry=ภาวะขาดระดู}} {{TextTerm|ภาวะขาดระดูจากการตั้งครรภ์|8|620}}เกิดขึ้นหลังจากการปฏิสนธิ และ{{TextTerm|ภาวะขาดระดูหลังคลอด|9|620|IndexEntry=ภาวะขาดระดูหลังคลอด}}เกิดขึ้นหลังจากการคลอดบุตร
+
{{TextTerm|ช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์|1|620}} (หรือ{{TextTerm|ช่วงเวลามีบุตร|1|620|2}}ในสตรี) เริ่มที่{{TextTerm|วัยสามารถผสมพันธุ์ได้|2|620}} {{TextTerm|การมีระดู|3|620}} — {{TextTerm|การปรากฏขึ้นของประจำเดือน|4|620|IndexEntry=ประจำเดือน}} หรือ{{TextTerm|เมน|4|620|2}}ในสตรี — เริ่มที่วัยสามารถผสมพันธุ์ได้ ประจำเดือนแรกเรียก{{TextTerm|การเริ่มแรกมีระดู|5|620}} และการมีประจำเดือนหยุดลงเมื่อถึง{{TextTerm|วัยหมดระดู|6|620}} ซึ่งบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ช่วงระยะหมดระดู|6|620|2}} ในทางปฏิบัติ ช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์มักจะกำหนดว่าให้เริ่มที่อายุ 15 ปี หรือ{{NonRefTerm|อายุต่ำสุดที่จะแต่งงาน}} ({{RefNumber|50|4|1}}) และมักจะให้สิ้นสุดลงที่อายุ 45 หรือ 50 ปี การไม่มีประจำเดือนชั่วคราวทั้งที่เป็นปรกติหรือเกิดจากความเจ็บป่วยเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะขาดระดู|7|620|IndexEntry=ภาวะขาดระดู}} {{TextTerm|ภาวะขาดระดูจากการตั้งครรภ์|8|620}}เกิดขึ้นหลังจากการปฏิสนธิ และ{{TextTerm|ภาวะขาดระดูหลังคลอด|9|620|IndexEntry=ภาวะขาดระดูหลังคลอด}}เกิดขึ้นหลังจากการคลอดบุตร
{{Note|1| The terms {{NoteTerm|reproductive ages}} or {{NoteTerm|fecund ages}} are also used. }}
+
{{Note|1| ใช้ศัพท์คำว่า{{NoteTerm|วัยเจริญพันธุ์}} หรือ{{NoteTerm|วัยตั้งครรภ์}}ได้ด้วยเช่นกัน }}
{{Note|3| {{NoteTerm|Menstruation}}, n. - {{NoteTerm|menstruate}}, v. - {{NoteTerm|menstrual}}, adj.}}
+
{{Note|6| คำพูดที่ว่า{{NoteTerm|การเปลี่ยนแปลงของชีวิต}}ใช้ในความหมายเดียวกับวัยหมดระดูในภาษาพูด }}
{{Note|6| {{NoteTerm|Menopause}}, n. - {{NoteTerm|menopausal}}, adj. The expression {{NoteTerm|change of life}} is used as a synonym for menopause in colloquial language.}}
 
  
 
=== 621 ===
 
=== 621 ===
  
สมรรถนะของผู้ชาย ของผู้หญิง หรือของคู่อยู่กินที่จะผลิตลูกที่มีชีวิตได้เรียก{{TextTerm|ความสามารถมีบุตร|1|621}} การขาดความสามารถเช่นนั้นเรียก{{TextTerm|ความไม่สามารถมีบุตร|2|621}}หรือ{{TextTerm|การเป็นหมัน|2|621|2}} {{TextTerm|ความไม่สามารถตั้งครรภ์|3|621}}และ{{NewTextTerm|inability to procreate|10|621}} เป็นสาเหตุหลักแต่ไม่ใช่สาเหตุเดียวของการเป็นหมัน เมื่อใช้คำว่าการเป็นหมันคำเดียวโดดๆ จะให้ความหมายถึงการเป็นหมันถาวรที่ไม่อาจคืนกลับมาได้ แต่บ่อยครั้งที่มีการใช้คำว่า{{NewTextTerm|ความไม่สามารถปฏิสนธิชั่วคราว|4}}และ{{TextTerm|การเป็นหมันชั่วคราว|5|621}}เพื่อให้แตกต่างจาก{{NewTextTerm|ความไม่สามารถปฏิสนธิถาวร|6}}และ{{TextTerm|การเป็นหมันถาวร|7|621}} ในสตรี เราแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|การเป็นหมันปฐมภูมิ|8|621}}เมื่อผู้หญิงไม่เคยสามารถมีบุตรเลย กับ{{TextTerm|การเป็นหมันทุติยภูมิ|9|621}}ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากให้กำเนิดลูกหนึ่งคนหรือมากกว่านั้น
+
สมรรถนะของผู้ชาย ของผู้หญิง หรือของคู่อยู่กินที่จะผลิตลูกที่มีชีวิตได้เรียก{{TextTerm|ความสามารถมีบุตร|1|621}} การขาดความสามารถเช่นนั้นเรียก{{TextTerm|ความไม่สามารถมีบุตร|2|621}}หรือ{{TextTerm|การเป็นหมัน|2|621|2}} {{TextTerm|ความไม่สามารถตั้งครรภ์|3|621}}และ{{TextTerm|ความไม่สามารถให้กำเนิด|10|621}} เป็นสาเหตุหลักแต่ไม่ใช่สาเหตุเดียวของการเป็นหมัน เมื่อใช้คำว่าการเป็นหมันคำเดียวโดดๆ จะให้ความหมายถึงการเป็นหมันถาวรที่ไม่อาจคืนกลับมาได้ แต่บ่อยครั้งที่มีการใช้คำว่า{{TextTerm|ความไม่สามารถทำให้เกิดการปฏิสนธิชั่วคราว|4}}และ{{TextTerm|การเป็นหมันชั่วคราว|5|621}}เพื่อให้แตกต่างจาก{{TextTerm|ความไม่สามารถทำให้เกิดการปฏิสนธิถาวร|6}}และ{{TextTerm|การเป็นหมันถาวร|7|621}} ในสตรี เราแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|การเป็นหมันปฐมภูมิ|8|621}}เมื่อผู้หญิงไม่เคยสามารถมีบุตรเลย กับ{{TextTerm|การเป็นหมันทุติยภูมิ|9|621}}ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากให้กำเนิดลูกหนึ่งคนหรือมากกว่านั้น
{{Note|1| {{NoteTerm|Fecundity}}, n. - {{NoteTerm|fecund}}, adj. An alternative meaning of the term implies the ability to conceive, rather than to produce a live child. The terms {{NoteTerm|sub-fecundity}} and {{NoteTerm|sub-fecund}} mean either that the capacity to produce a live child is below normal, or that the probability of conception is low.}}
+
{{Note|1| ความหมายอีกอย่างหนึ่งของศัพท์คำนี้ แสดงถึงความสามารถที่จะมีบุตรมากกว่าความสามารถที่จะผลิตบุตรที่มีชีพ คำว่า{{NoteTerm|ด้อยความสามารถมีบุตร}}มีความหมายว่าความสามารถที่จะผลิตบุตรมีชีพมีต่ำกว่าปรกติหรือมีความเป็นไปได้ต่ำที่จะเกิดการปฏิสนธิ}}
{{Note|2| {{NoteTerm|Sterility}}, n. - {{NoteTerm|sterile}}, adj. {{NoteTerm|Infecundity}}, n. - {{NoteTerm|infecund}}, adj. }}
 
  
 
=== 622 ===
 
=== 622 ===
  
The term {{NonRefTerm|temporary sterility}} ({{RefNumber|62|1|5}}) is used even in instances where a woman’s inability to conceive is not the result of a pathological condition.Women are said to have {{TextTerm|sterile periods|1|622|IndexEntry=sterile period|OtherIndexEntry=period, sterile}} in each {{TextTerm|menstrual cycle|2|622|OtherIndexEntry=cycle, menstrual}}, because generally conception can occur only during a few days around the time of {{TextTerm|ovulation|3|622}}. The period of sterility that extends from {{NoteTerm|conception}} ({{RefNumber|60|2|1}}) to the return of ovulation after a delivery, which includes {{NonRefTerm|pregnancy}} ({{RefNumber|60|2|5}}) and is influenced by the duration of {{TextTerm|breastfeeding|4|622}}, is called the {{TextTerm|nonsusceptible period|5|622|OtherIndexEntry=period, nonsusceptible}}, particularly in mathematical models of reproduction. Temporary sterility is also used to refer to the occurrence of {{TextTerm|anovulatory cycles|6|622|IndexEntry=anovulatory cycle|OtherIndexEntry=cycle, anovulatory}} (i.e., menstrual cycles in which ovulation does not occur) or to abnormal periods of amenorrhea. The {{TextTerm|sub-fecundity|7|622}} of very young women is commonly called {{TextTerm|adolescent sterility|8|622|OtherIndexEntry=sterility, adolescent}}; it would be better to talk about {{TextTerm|adolescent sub-fecundity|8|622|2|OtherIndexEntry=sub-fecundity, adolescent}}.
+
คำว่า{{NonRefTerm|การเป็นหมันชั่วคราว}} ({{RefNumber|62|1|5}}) ใช้แม้กระทั่งในกรณีที่ความไม่สามารถตั้งครรภ์ของผู้หญิงไม่ได้เป็นผลมาจากสภาพความเจ็บป่วย กล่าวได้ว่าผู้หญิงมี{{TextTerm|ช่วงเวลาเป็นหมัน|1|622|IndexEntry=ช่วงเวลาเป็นหมัน}}ในแต่ละ{{TextTerm|รอบประจำเดือน|2|622|OtherIndexEntry=รอบเดือน|OtherIndexEntry=รอบระดู}} เพราะโดยทั่วไปการปฏิสนธิจะเกิดขึ้นได้ในช่วงเวลาสองสามวันใกล้ๆ เวลาของ{{TextTerm|การตกไข่|3|622}}เท่านั้น ช่วงเวลาของการเป็นหมันที่ขยายต่อจาก{{NonRefTerm|การปฏิสนธิ}} ({{RefNumber|60|2|1}}) ไปจนถึงการกลับมาของการตกไข่อีกครั้งหลังจากการคลอดซึ่งนับรวมเวลาของ{{NonRefTerm|การตั้งครรภ์}} ({{RefNumber|60|2|5}}) และผลของระยะเวลาใน{{TextTerm|การให้นมบุตร|4|622}}เรียกว่า{{TextTerm|ช่วงเวลาที่ไม่ไวรับ|5|622}} โดยเฉพาะใช้ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการสืบทอดพันธุ์ การเป็นหมันชั่วคราวใช้เพื่อหมายถึงการเกิดขึ้นของ{{TextTerm|รอบเวลาที่ไม่มีการตกไข่|6|622|IndexEntry=รอบเวลาที่ไม่มีการตกไข่}} (ได้แก่รอบประจำเดือนซึ่งการตกไข่ไม่เกิดขึ้น) หรือช่วงเวลาผิดปรกติของภาวะขาดระดู {{TextTerm|ความด้อยความสามารถมีบุตร|7|622}}ของผู้หญิงอายุน้อยมากๆ เรียกกันว่า{{TextTerm|การเป็นหมันวัยรุ่น|8|622}} น่าจะดีกว่าถ้าจะพูดว่า{{TextTerm|ความด้อยความสามารถมีบุตรของวัยรุ่น|8|622|2}}
{{Note|5| The period between delivery and the return of ovulation is often called the period of {{NoteTerm|postpartum sterility}}.}}
+
{{Note|5| ระยะเวลาระหว่างการคลอดกับการตกไข่อีกครั้งมักเรียกว่า{{NoteTerm|ระยะเวลาเป็นหมันหลังคลอด}} }}
{{Note|6| Also called anovular cycles.}}
+
{{Note|6| เรียกว่ารอบไม่ตกไข่ด้วย}}
  
 
=== 623 ===
 
=== 623 ===
  
{{TextTerm|Fertility|1|623}} and {{TextTerm|infertility|2|623}} refer to reproductive performance rather than capacity, and are used according to whether there was actual childbearing or not during the period under review. When it concerns the complete reproductive period, the term {{NewTextTerm|total infertility|3}} may be used while {{TextTerm|permanent infertility|4|623|OtherIndexEntry=infertility, permanent}} may extend from a certain age or marriage duration to the end of the childbearing years. {{NewTextTerm|Voluntary infertility|5}} is used when the absence of procreation corresponds to a decision of the couple ({{RefNumber|50|3|8}}).
+
{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์|1|623}} และ{{TextTerm|ภาวะไม่เจริญพันธุ์|2|623}}หมายถึงพฤติกรรมสืบทอดพันธุ์มากกว่าสมรรถนะ และคำทั้งสองนี้ใช้เพื่อแสดงว่ามีบุตรเกิดขึ้นมาจริงๆ หรือไม่ในช่วงเวลาที่ศึกษา เมื่อคำนึงถึงช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์สมบูรณ์ คำว่า{{TextTerm|ภาวะไม่เจริญพันธุ์รวม|3}}อาจนำมาใช้ในขณะที่{{TextTerm|ภาวะไม่เจริญพันธุ์ถาวร|4|623}}อาจขยายจากอายุหนึ่งหรือจากช่วงเวลาการแต่งงานไปถึงจุดสิ้นสุดของช่วงเวลาของการมีบุตร {{TextTerm|ภาวะไม่เจริญพันธุ์โดยสมัครใจ|5}}ใช้เมื่อไม่มีการสืบทอดพันธุ์ที่สอดคล้องเป็นไปตามการตัดสินใจของ{{NonRefTerm|คู่อยู่กิน}} ({{RefNumber|50|3|8}}) ขอให้สังเกตว่าในประเทศที่พูดภาษาละติน คำว่าภาวะเจริญพันธุ์และความสามารถมีบุตรใช้ในความหมายที่ตรงข้ามกับคำในภาษาอังกฤษ ฉะนั้นคำว่า {{NonRefTerm|fécondité}} ในภาษาฝรั่งเศส และ {{NonRefTerm|fecundidad}} ในภาษาสเปนจะแปลว่า fertility และคำว่า {{NonRefTerm|fertilité}} และ {{NonRefTerm|fertilidad}} แปลว่า fecundity
It should be noted that in many Latin languages, the cognates of fertility and fecondity are used in a sense diametrically opposite to that in English. Thus, the French {{NonRefTerm|fécondité}} and the Spanish {{NonRefTerm|fecundidad}} are properly translated by fertility, and {{NonRefTerm|fertilité}} and {{NonRefTerm|fertilidad}} by fecondity.
+
{{Note|2| <br />{{NoteTerm|ไร้บุตร}} หมายถึงสภาวะที่ผู้หญิง ผู้ชาย หรือคู่อยู่กินยังไม่มีบุตรเลย}}
{{Note|1| {{NoteTerm|Fertility}}, n. - fertile, adj.}}
 
{{Note|2| {{NoteTerm|Infertility}}, n. - infertile, adj.<br />{{NoteTerm|Childlessness}}, n. - {{NoteTerm|childless}}, adj. : refer to the state of a women, man or couple who have been so far infertile.}}
 
  
 
=== 624 ===
 
=== 624 ===
  
The {{NonRefTerm|fertility}} ({{RefNumber|62|3|1}}) of couples will depend upon their {{TextTerm|reproductive behavior|1|624|OtherIndexEntry=behavior, reproductive}}. A distinction is drawn between {{TextTerm|planners|2|624|IndexEntry=planner}}, couples who attempt to regulate the number and {{NonRefTerm|spacing}} ({{RefNumber|61|2|1}}*) of their births, and {{TextTerm|non-planners|3|624|IndexEntry=non-planner}}, couples who make no such attempt. {{TextTerm|Family planning|4|624|OtherIndexEntry=planning, family}} has a broader meaning than {{TextTerm|family limitation|4|624|2|OtherIndexEntry=limitation, family}} which refers to efforts not to exceed the {{TextTerm|number of children wanted|5|624|OtherIndexEntry=children wanted, number of}}. The terms {{TextTerm|birth control|6|624|OtherIndexEntry=control, birth}} or {{TextTerm|fertility regulation|6|624|2|OtherIndexEntry=regulation, fertility}} are not restricted to the activities of married persons.
+
{{NonRefTerm|ภาวะเจริญพันธุ์}} ({{RefNumber|62|3|1}}) ของคู่อยู่กินจะขึ้นอยู่กับ{{TextTerm|พฤติกรรมการสืบทอดพันธุ์|1|624}}ของเขา มีความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ผู้วางแผน|2|624|IndexEntry=ผู้วางแผน}}ซึ่งหมายถึงคู่อยู่กินที่พยายามกำหนดจำนวนหรือ{{NonRefTerm|เว้นระยะ}} ({{RefNumber|61|2|1}}*) ของการเกิด กับ{{TextTerm|ผู้ไม่วางแผน|3|624|IndexEntry=ผู้ไม่วางแผน}}ซึ่งหมายถึงคู่อยู่กินที่ไม่มีความพยายามดังกล่าวเลย {{TextTerm|การวางแผนครอบครัว|4|624}}มีความหมายกว้างกว่า{{TextTerm|การจำกัดขนาดครอบครัว|4|624|2}}ซึ่งหมายถึงความพยายามที่จะมีลูกไม่เกิน{{TextTerm|จำนวนบุตรที่ต้องการ|5|624}} ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การคุมกำเนิด|6|624}}หรือ{{TextTerm|การกำหนดภาวะเจริญพันธุ์|6|624|2}}ไม่่จำกัดอยู่กับกิจกรรมของคนที่แต่งงานแล้วเท่านั้น
{{Note|4| A classification according to {{NoteTerm|family planning status}} distinguishes couples who have not tried to regulate the number and spacing of their children from those who have tried to do so.}}
+
{{Note|4| การจำแนกประเภทตาม{{NoteTerm|สถานภาพตามการวางแผนครอบครัว}}แยกคู่อยู่กินที่ไม่พยายามกำหนดหรือเว้นระยะการมีบุตรของตนออกจากคู่อยู่กินที่พยายามกระทำการดังกล่าว}}
{{Note|5| {{NoteTerm|Unwanted births}} or {{NoteTerm|unintended births}} are those that occur after the total family size desired by the couple has been reached. They are distinguished from {{NoteTerm|unplanned births}} that may have occurred at a time that was not intended, and perhaps outside of wedlock.}}
+
{{Note|5| {{NoteTerm|การเกิดที่ไม่ต้องการ}} หรือ{{NoteTerm|การเกิดที่ไม่ตั้งใจ}}คือการเกิดที่เกิดขึ้นหลังจากคู่อยู่กินมีบุตรตามจำนวนที่ปรารถนาแล้ว ศัพท์คำนี้ต่างจากคำว่า{{NoteTerm|การเกิดที่ไม่วางแผน}}ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจและบางทีเป็นการเกิดนอกสมรส}}
  
 
=== 625 ===
 
=== 625 ===
  
Family planning implies a concern with {{TextTerm|planned parenthood|1|625|OtherIndexEntry=parenthood, planned}} or {{TextTerm|responsible parenthood|1|625|2|OtherIndexEntry=parenthood, responsible}}, i.e., the desire to determine the number and spacing of births in conformity with the best interest of each couple, or of society. The number of children expected by a couple may differ from the {{TextTerm|desired number of children|2|625|OtherIndexEntry=children, desired number of}} or {{TextTerm|intended number of children|2|625|2|OtherIndexEntry=children, intended number of}} reported by the couple in a survey. Even if these goals are not revised, they may be exceeded as a result of {{TextTerm|contraceptive failures|3|625|IndexEntry=contraceptive failure|OtherIndexEntry=failure, contraceptive}} ; the frequency of the latter depends on {{TextTerm|contraceptive effectiveness|4|625|OtherIndexEntry=effectiveness, contraceptive}} which has two aspects. {{TextTerm|Theoretical effectiveness|5|625|OtherIndexEntry=effectiveness, theoretical}} or {{TextTerm|physiological effectiveness|5|625|2|OtherIndexEntry=effectiveness, physiological}} indicates how reliable a method is when used all the time according to directions. {{TextTerm|Use effectiveness|6|625|OtherIndexEntry=effectiveness, use}} measures its reliability when used in everyday situations by a given population. Reasoning in terms of {{NonRefTerm|residual fecundability}} ({{RefNumber|63|8|7}}), use effectiveness is usually measured by the {{TextTerm|contraceptive failure rate|7|625|OtherIndexEntry=failure rate, contraceptive}} which relates the number of unintended conceptions to the length of exposure to the risk of conceiving.
+
การวางแผนครอบครัวมีความเกี่ยวโยงถึง{{TextTerm|พ่อแม่ที่วางแผน|1|625}} หรือ{{TextTerm|พ่อแม่ที่รับผิดชอบ|1|625|2}} ได้แก่ ความปรารถนาที่จะกำหนดจำนวนและเว้นระยะของการเกิดให้เป็นเป็นประโยชน์มากที่สุดของคู่อยู่กินหรือของสังคม จำนวนบุตรที่คู่อยู่กินคาดว่าจะมีอาจแตกต่างจาก{{TextTerm|จำนวนบุตรที่ปรารถนา|2|625}} หรือ{{TextTerm|จำนวนบุตรที่ตั้งใจ|2|625|2}} ที่คู่อยู่กินให้ข้อมูลในการสำรวจ  แม้ว่าจำนวนบุตรที่เป็นเป้าหมายเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง คู่อยู่กินก็อาจมีบุตรเกินกว่าจำนวนเหล่านั้นอันเป็นผลมาจาก{{TextTerm|ความล้มเหลวของการคุมกำเนิด|3|625|IndexEntry=ความล้มเหลวของการคุมกำเนิด}} ความถี่ของความล้มเหลวที่ขึ้นอยู่กับ{{TextTerm|ประสิทธิภาพของการคุมกำเนิด|4|625}}ซึ่งมีอยู่สองลักษณะ  {{TextTerm|ประสิทธิภาพเชิงทฤษฎี|5|625}}หรือ{{TextTerm|ประสิทธิภาพเชิงสรีรวิทยา|5|625|2}} ชี้ให้เห็นว่าวิธีคุมกำเนิดเชื่อถือได้อย่างไรเมื่อใช้ตลอดเวลาตามคำแนะนำในการใช้  {{TextTerm|ประสิทธิภาพในการใช้|6|625}}วัดความเชื่อถือได้เมื่อใช้ในสถานการณ์ประจำวันโดยประชากรหนึ่ง  เพื่อเป็นเหตุผลอธิบายศัพท์คำว่า{{NonRefTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ส่วนที่เหลือ}} ({{RefNumber|63|8|7}}) ประสิทธิภาพในการใช้ปรกติวัดได้ด้วย{{TextTerm|อัตราความล้มเหลวของการคุมกำเนิด|7|625}}ซึ่งโยงจำนวนการปฏิสนธิที่ไม่ตั้งใจไปยังระยะเวลาที่เสี่ยงต่อการปฏิสนธิ
{{Note|2| In other terms, {{NoteTerm|birth expectations}} differ from {{NoteTerm|reproductive intentions}}. A distinction is made between {{NoteTerm|desired family size}}, the number of children a woman, man or couple wants to have, and the {{NoteTerm|ideal family size}} which they envision for their society. {{NoteTerm|Intended family size}} may be lower than desired family size.}}
+
{{Note|2| ในศัพท์คำอื่นๆ {{NoteTerm|การเกิดที่คาดหวัง}}แตกต่างจาก{{NoteTerm|การเกิดที่ตั้งใจ}} มีความแตกต่างระหว่างคำว่า{{NoteTerm|ขนาดครอบครัวที่ปรารถนา}}ซึ่งหมายถึงจำนวนบุตรที่ผู้หญิงคนหนึ่ง ผู้ชายคนหนึ่ง หรือคู่อยู่กินคู่หนึ่งที่ต้องการที่จะมี กับ{{NoteTerm|ขนาดครอบครัวในอุดมคติ}}ซึ่งผู้หญิง ผู้ชาย หรือคู่อยู่กินมองในมุมว่าควรเป็นขนาดครอบครัวที่เหมาะสมสำหรับคนในสังคม  {{NoteTerm|ขนาดครอบครัวที่ตั้งใจ}}อาจต่ำกว่าขนาดครอบครัวที่ปรารถนา}}
{{Note|3| {{NoteTerm|Unplanned births}} are often opposed to {{NoteTerm|planned births}}.}}
+
{{Note|3| {{NoteTerm|การเกิดที่ไม่ได้วางแผน}}ตรงข้ามกับ{{NoteTerm|การเกิดที่วางแผน}}}}
{{Note|4| 5. and 6. {{NoteTerm|Efficacy}} is a synonym for effectiveness in these expressions.}}
+
{{Note|4| 5. และ 6. ในศัพท์คำนี้ {{NoteTerm|ประสิทธิผล}}มีความหมายเหมือนกับประสิทธิภาพ}}
{{Note|4| Not to be confused with the {{NoteTerm|demographic effectiveness}} of a family planning program (see {{RefNumber|62|6|7}}), or of a method in a population.}}
+
{{Note|4| อย่าสับสนกับคำว่า{{NoteTerm|ประสิทธิภาพทางประชากร}}ของโครงการวางแผนครอบครัว (ดู {{RefNumber|62|6|7}}) หรือของวิธีคุมกำเนิดที่ใช้อยู่ในประชากรหนึ่ง}}
  
 
=== 626 ===
 
=== 626 ===
  
A {{TextTerm|family planning program|1|626|OtherIndexEntry=planning program, family}} seeks to introduce and diffuse birth control in a group of {{TextTerm|potential users|2|626|IndexEntry=potential user|OtherIndexEntry=user, potential}} or in a {{TextTerm|target population|2|626|2|OtherIndexEntry=population, target}}. Teams of {{TextTerm|fieldworkers|3|626|IndexEntry=fieldworker}}, including {{TextTerm|canvassers|3|626|2|IndexEntry=canvasser}}, {{TextTerm|motivators|3|626|3|IndexEntry=motivator}} and {{TextTerm|distributors|3|626|4|IndexEntry=distributor}}, attempt to reach and convince the population to use contraception or abortion. The success of the program can be measured by the {{TextTerm|proportion of new acceptors|4|626|OtherIndexEntry=new acceptors, proportion of}} in the target population, or by the {{TextTerm|acceptance rate|4|626|2|OtherIndexEntry=rate, acceptance}}; for the acceptors of contraception, the {{TextTerm|continuation rate|5|626|OtherIndexEntry=rate, continuation}} after a certain lapse of time and its complement, the {{TextTerm|termination rate|6|626|OtherIndexEntry=rate, termination}} or {{TextTerm|drop-out rate|6|626|2|IndexEntry=dropout rate}} are also computed. Estimates of the numbers and proportions of {{TextTerm|births averted|7|626|IndexEntry=birth averted|OtherIndexEntry=averted birth}} reflect the {{NonRefTerm|demographic effectiveness}} ({{RefNumber|62|5|4}}*) of the program. Contraceptive prevalence in a population is estimated by the {{TextTerm|proportion of current users|8|626|OtherIndexEntry=current users, proportion of}} of contraception from a relevant universe, such as married women of reproductive age.
+
{{TextTerm|โครงการวางแผนครอบครัว|1|626}}ดำเนินการให้ความรู้และกระจายการคุมกำเนิดในกลุ่ม{{TextTerm|ผู้อาจเป็นผู้ใช้|2|626}} หรือใน{{TextTerm|ประชากรเป้าหมาย|2|626|2}} ทีมของ{{TextTerm|พนักงานภาคสนาม|3|626}}ซึ่งรวม {{TextTerm|พนักงานสอบถาม|3|626|2}} {{TextTerm|พนักงานชักจูงใจ|3|626|3}} และ{{TextTerm|พนักงานจ่ายเครื่องมือคุมกำเนิด|3|626|4}} พยายามเข้าถึงและชักชวนประชากรให้ใช้วิธีคุมกำเนิดหรือการแท้ง ความสำเร็จของโครงการวัดได้ด้วย{{TextTerm|สัดส่วนของผู้รับบริการรายใหม่|4|626}}ในประชากรเป้าหมาย หรือวัดโดย{{TextTerm|อัตรารับบริการ|4|626|2}} สำหรับผู้รับบริการคุมกำเนิด มีการคำนวณ{{TextTerm|อัตราคงใช้|5|626}}หลังจากช่วงเวลาหนึ่ง {{TextTerm|อัตราการหยุดใช้|6|626}}หรือ{{TextTerm|อัตราเลิกใช้|6|626|2}} การคาดประมาณจำนวนและสัดส่วนของ{{TextTerm|การเกิดที่ป้องกันได้|7|626}}สะท้อนให้เห็น{{NonRefTerm|ประสิทธิภาพทางประชากร}} ({{RefNumber|62|5|4}}*) ของโครงการ  ความชุกของการคุมกำเนิดในประชากรประมาณได้โดย{{TextTerm|สัดส่วนของผู้กำลังใช้|8|626}}ของการคุมกำเนิดจากประชากรที่เกี่ยวข้อง อย่างเช่นสตรีที่แต่งงานแล้วในวัยสืบทอดพันธุ์
{{Note|8| Special {{NoteTerm|surveys of knowledge, attitudes and practice}} of contraception have been called KAP surveys in abbreviation.}}
+
{{Note|8| {{NoteTerm|การสำรวจความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติ}}การคุมกำเนิด เรียกโดยใช้อักษรย่อว่า KAP {{NoteTerm|อัตราคุมกำเนิด}} (contraceptive prevalence rate) หมายถึงร้อยละของสตรีวัยมีบุตรที่แต่งงานแล้วและยังอยู่กินกับสามีที่กำลังใช้วิธีคุมกำเนิดชนิดใดชนิดหนึ่งอยู่ เป็นดัชนีที่ชี้ความสำเร็จของโครงการวางแผนครอบครัวอีกดัชนีหนึ่ง}}
  
 
=== 627 ===
 
=== 627 ===
  
{{TextTerm|Contraception|1|627}} refers to measures which are taken in order to prevent {{TextTerm|sexual intercourse|2|627|OtherIndexEntry=intercourse, sexual}} or {{TextTerm|coitus|2|627|2}} from resulting in conception; the term covers contraceptive {{NonRefTerm|sterilization}} ({{RefNumber|63|1|1}}). {{TextTerm|Birth control methods|3|627|IndexEntry=birth control method|OtherIndexEntry=control method, birth}} is used in a broader sense than {{TextTerm|contraceptive methods|3|627|2|IndexEntry=contraceptive method|OtherIndexEntry=method, contraceptive}} to include induced {{NonRefTerm|abortion}} ({{RefNumber|60|4|2}}). {{TextTerm|Abstinence|4|627}} from coitus, particularly {{NonRefTerm|periodic abstinence}} ({{RefNumber|62|8|4}}) is often included among contraceptive or birth control methods.
+
{{TextTerm|การป้องกันการปฏิสนธิ|1|627}}หมายถึงมาตรการซึ่งใช้เพื่อที่จะป้องกันไม่ให้เกิดผลการปฏิสนธิจาก{{TextTerm|การมีเพศสัมพันธ์|2|627}}หรือ{{TextTerm|การร่วมประเวณี|2|627|2}} ศัพท์คำนี้ครอบคลุม{{NonRefTerm|การทำหมัน}} ({{RefNumber|63|1|1}})เพื่อคุมกำเนิด  {{TextTerm|วิธีคุมกำเนิด|3|627}}ใช้ในความหมายที่กว้างกว่า{{TextTerm|วิธีป้องกันการปฏิสนธิ|3|627|2}} เพื่อรวม{{NonRefTerm|การทำแท้ง}} ({{RefNumber|60|4|2}}) {{TextTerm|การงดเว้น|4|627}}จากการมีเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะ{{NonRefTerm|การงดเว้นร่วมเพศเป็นระยะ ๆ}} ({{RefNumber|62|8|4}}) มักจะรวมอยู่ในวิธีป้องกันการปฏิสนธิหรือวิธีคุมกำเนิด
{{Note|1| {{NoteTerm|Contraception}}, n. - {{NoteTerm|contraceptor}}, n.: one who practices contraception. {{NoteTerm|Contraceptive}}, adj. : used for contraception.}}
 
{{Note|4| {{NoteTerm|Abstinence}}, n. - {{NoteTerm|abstain}}, v.}}
 
  
 
=== 628 ===
 
=== 628 ===
  
A distinction is frequently drawn between {{TextTerm|appliance methods|1|628|IndexEntry=appliance method|OtherIndexEntry=method, appliance}} of contraception and {{TextTerm|non-appliance methods|2|628|IndexEntry=non-appliance method|OtherIndexEntry=method, non-appliance}}. One principal non-appliance method of contraception is {{TextTerm|coitus interruptus|3|628}} or {{TextTerm|withdrawal|3|628|2}}. Another non-appliance method of contraception is {{TextTerm|periodic abstinence|4|628|OtherIndexEntry=abstinence, periodic}} or the {{TextTerm|rhythm method|4|628|2|OtherIndexEntry=method, rhythm}}, in which coitus is avoided during the period when the woman is believed to be fecund and takes place only during the so-called {{TextTerm|safe period|5|628|OtherIndexEntry=period, safe}} of the menstrual cycle. The {{TextTerm|basal body temperature method|6|628|OtherIndexEntry=method, basal body temperature}} refers to the method in which the woman keeps track of her temperature to identify the safe period.
+
มักแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|วิธีที่ใช้อุปกรณ์|1|628}}ของการป้องกันการปฏิสนธิ กับ{{TextTerm|วิธีที่ไม่ใช้อุปกรณ์|2|628}} วิธีที่ไม่ใช้อุปกรณ์ในการป้องกันการปฏิสนธิหลักวิธีหนึ่งคือ{{TextTerm|การหลั่งภายนอก|3|628}} หรือ{{TextTerm|การถอนออก|3|628|2}} วิธีที่ไม่ใช้อุปกรณ์ในการป้องกันการปฏิสนธิอีกวิธีหนึ่งคือ{{TextTerm|การงดเว้นร่วมเพศเป็นระยะ ๆ|4|628}}หรือ{{TextTerm|วิธีการนับระยะปลอดภัย|4|628|2}}ซึ่งเป็นการหลีกเลี่ยงการร่วมเพศในช่วงที่เชื่อว่าผู้หญิงมีโอกาสตั้งครรภ์ได้ และจะร่วมเพศในช่วงที่เรียกว่า{{TextTerm|ระยะปลอดภัย|5|628}}ของรอบประจำเดือนเท่านั้น {{TextTerm|วิธีการวัดอุณหภูมิร่างกาย|6|628}}หมายถึงวิธีที่ผู้หญิงคอยติดตามวัดอุณหภูมิร่างกายของตนเองเพื่อหาระยะปลอดภัย
{{Note|1| Appliance methods include not only {{NoteTerm|barrier methods}} which are used to prevent the union of the sperm and ovum, but also methods using other {{NoteTerm|contraceptive devices}} such as the intra-uterine device ({{RefNumber|62|9|10}}) and other types of {{NoteTerm|contraceptives}} such as the pill ({{RefNumber|63|0|4}}).}}
+
{{Note|1| วิธีที่ใช้อุปกรณ์มีทั้งที่เป็น{{NoteTerm|วิธีใช้สิ่งกั้นขวาง}}ซึ่งใช้เพื่อป้องกันการพบกันของสเปิร์มและไข่ และวิธีที่ใช้{{NoteTerm|อุปกรณ์คุมกำเนิด}}อื่นๆ อย่างเช่น ห่วงอนามัย ({{RefNumber|62|9|10}}) และ{{NoteTerm|การคุมกำเนิด}}ประเภทอื่น เช่นยาเม็ด ({{RefNumber|63|0|4}})}}
{{Note|4| The term {{NoteTerm|natural family planning methods}} has been applied collectively to cover the rhythm method, the basal body temperature method, and other techniques which attempt to identify stages of the woman’s ovulatory cycle.}}
+
{{Note|4| ศัพท์คำว่า{{NoteTerm|วิธีวางแผนครอบครัวตามธรรมชาติ}}หมายรวมถึงวิธีนับระยะปลอดภัย วิธีวัดอุณหภูมิร่างกาย และเทคนิคอื่นๆ ที่พยายามระบุขั้นตอนของรอบการตกไข่ของสตรี}}
  
 
=== 629 ===
 
=== 629 ===
  
The barrier methods which are more commonly used alone or in combination include the {{TextTerm|condom|1|629}} or {{TextTerm|sheath|1|629|2}}, used by men, and the {{TextTerm|cervical cap|2|629|OtherIndexEntry=cap, cervical}} or {{TextTerm|pessary|2|629|2}}, the {{TextTerm|diaphragm|3|629}}, {{TextTerm|tampon|4|629}} or {{TextTerm|sponge|4|629|2}}, {{TextTerm|contraceptive jelly|5|629|OtherIndexEntry=jelly, contraceptive}}, {{TextTerm|suppository|6|629}}, {{TextTerm|foam tablets|7|629|IndexEntry=foam tablet|OtherIndexEntry=tablet, foam}} and {{TextTerm|douche|8|629}} with or without {{TextTerm|spermicide|9|629}}, used by women. There are various types of {{TextTerm|intra-uterine devices|10|629|IndexEntry=intra-uterine device|OtherIndexEntry=device, intra-uterine}} (abbreviated to {{TextTerm|IUD|10|629|2|IndexEntry=I.U.D.}}), including the {{TextTerm|loop|10|629|3}} the {{TextTerm|coil|10|629|4}}, the {{TextTerm|copper T|10|629|5}}, etc.
+
วิธีการใช้สิ่งกั้นขวางซึ่งใช้กันมากทั้งใช้วิธีเดียวโดดๆ หรือผสมกับวิธีอื่นมี{{TextTerm|ถุงยาง|1|629}}หรือ{{TextTerm|ปลอก|1|629|2}}ที่ใช้โดยผู้ชาย และ{{TextTerm|หมวกครอบปากมดลูก|2|629}} หรือ{{TextTerm|อุปกรณ์ยันมดลูก|2|629|2}} {{TextTerm|ไดอะแฟรม|3|629}} {{TextTerm|แทมปอน|4|629}}หรือ{{TextTerm|ฟองน้ำ|4|629|2}} {{TextTerm|เจลลี่คุมกำเนิด|5|629}} {{TextTerm|ยาเหน็บช่องคลอด|6|629}} {{TextTerm|ยาเม็ดฟองฟู่|7|629}} และ{{TextTerm|น้ำยาฉีดล้าง|8|629}} ทั้งที่มีและไม่มี{{TextTerm|ยาฆ่าสเปิร์ม|9|629}}ที่ใช้โดยผู้หญิง นอกจากนั้นยังมี{{TextTerm|ห่วงอนามัย|10|629}} (เรียกย่อๆ ว่า{{TextTerm|ไอยูดี|10|629|2|IndexEntry=ไอยูดี}}) (IUD) อีกหลายประเภท เช่นแบบ{{TextTerm|ขมวด|10|629|3}} {{TextTerm|ขดลวด|10|629|4}} {{TextTerm|ขดทองแดงรูปตัวที|10|629|5}} ฯลฯ
  
 
=== 630 ===
 
=== 630 ===
  
{{TextTerm|Oral contraceptives|1|630|IndexEntry=oral contracptive|OtherIndexEntry=contraceptive, oral}} are a method of {{TextTerm|hormonal contraception|2|630|OtherIndexEntry=contraception, hormonal}} or {{TextTerm|contraception by steroids|3|630|OtherIndexEntry=steroids, contraception by}}. These inhibit ovulation by regular ingestion of the {{TextTerm|pill|4|630}}, or by injections or implants.
+
{{TextTerm|การป้องกันการปฏิสนธิทางปาก|1|630}}เป็นวิธี{{TextTerm|การป้องกันการปฏิสนธิด้วยฮอร์โมน|2|630}} หรือ{{TextTerm|การป้องกันการปฏิสนธิด้วยสเตอรอยด์|3|630}} วิธีเหล่านี้ป้องกันไม่ให้ไข่สุกโดยนำเข้าสู่ร่างกายทางปากของ{{TextTerm|เม็ดยาคุม|4|630}} หรือโดยการฉีดยา หรือโดยการฝังใต้ผิวหนัง
  
 
=== 631 ===
 
=== 631 ===
  
{{TextTerm|Sterilization|1|631}} results from various surgical procedures: on the male, {{TextTerm|vasectomy|2|631}} or {{NewTextTerm|occlusion|3|631}} involves tying and cutting the vas deferens; on the female {{TextTerm|tubal ligation|4|631|OtherIndexEntry=ligation, tubal}} and {{TextTerm|salpingectomy|5|631}} or {{TextTerm|tubectomy|5|631|2}} involve interventions on the fallopian tubes. {{TextTerm|Hysterectomy|6|631|IndexEntry=hysteroctomy}} or excision of the uterus, also involves sterilization of the woman.
+
{{TextTerm|การทำหมัน|1|631}}เป็นผลจากการผ่าตัดวิธีต่างๆ  การทำหมันชายคือมีการ{{TextTerm|ตัดท่อน้ำเชื้อ|2|631|OtherIndexEntry=การทำหมันชาย}} หรือ{{TextTerm|การปิดท่อน้ำเชื้อ|3|631}} ซึ่งเป็นการผูกและตัดท่อนำเชื้ออสุจิ การทำหมันหญิงมี{{TextTerm|การผูกท่อนำไข่|4|631}} และ{{TextTerm|การตัดท่อนำไข่|5|631}} ซึ่งเป็นการขัดขวางการทำงานของท่อนำไข่ {{TextTerm|การตัดมดลูก|6|631}} หรือการตัดมดลูกทิ้งก็นับเป็นการทำให้ผู้หญิงเป็นหมันด้วยเช่นกัน
{{Note|4|and 5. Various procedures are used to gain access to the Fallopian tubes, such as {{NoteTerm|laparotomy, colpotomy}} or {{NoteTerm|laparoscopy}}.}}
+
{{Note|4|และ 5. มีการใช้วิธีการหลายอย่างที่จะเข้าถึงท่อนำไข่ อย่างเช่น {{NoteTerm|การผ่าท้อง}} (laparotomy) {{NoteTerm|การผ่าช่องคลอด}} (colpotomy) หรือ{{NoteTerm|การใช้กล้องส่องช่องท้อง}} (laparoscopy)}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 17:01, 20 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


620

ช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์1 (หรือ ช่วงเวลามีบุตร1ในสตรี) เริ่มที่ วัยสามารถผสมพันธุ์ได้2 การมีระดู3การปรากฏขึ้นของประจำเดือน4 หรือ เมน4ในสตรี — เริ่มที่วัยสามารถผสมพันธุ์ได้ ประจำเดือนแรกเรียก การเริ่มแรกมีระดู5 และการมีประจำเดือนหยุดลงเมื่อถึง วัยหมดระดู6 ซึ่งบางครั้งเรียกว่า ช่วงระยะหมดระดู6 ในทางปฏิบัติ ช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์มักจะกำหนดว่าให้เริ่มที่อายุ 15 ปี หรืออายุต่ำสุดที่จะแต่งงาน (504-1) และมักจะให้สิ้นสุดลงที่อายุ 45 หรือ 50 ปี การไม่มีประจำเดือนชั่วคราวทั้งที่เป็นปรกติหรือเกิดจากความเจ็บป่วยเรียกว่า ภาวะขาดระดู7 ภาวะขาดระดูจากการตั้งครรภ์8เกิดขึ้นหลังจากการปฏิสนธิ และ ภาวะขาดระดูหลังคลอด9เกิดขึ้นหลังจากการคลอดบุตร

  • 1. ใช้ศัพท์คำว่าวัยเจริญพันธุ์ หรือวัยตั้งครรภ์ได้ด้วยเช่นกัน
  • 6. คำพูดที่ว่าการเปลี่ยนแปลงของชีวิตใช้ในความหมายเดียวกับวัยหมดระดูในภาษาพูด

621

สมรรถนะของผู้ชาย ของผู้หญิง หรือของคู่อยู่กินที่จะผลิตลูกที่มีชีวิตได้เรียก ความสามารถมีบุตร1 การขาดความสามารถเช่นนั้นเรียก ความไม่สามารถมีบุตร2หรือ การเป็นหมัน2 ความไม่สามารถตั้งครรภ์3และ ความไม่สามารถให้กำเนิด10 เป็นสาเหตุหลักแต่ไม่ใช่สาเหตุเดียวของการเป็นหมัน เมื่อใช้คำว่าการเป็นหมันคำเดียวโดดๆ จะให้ความหมายถึงการเป็นหมันถาวรที่ไม่อาจคืนกลับมาได้ แต่บ่อยครั้งที่มีการใช้คำว่า ความไม่สามารถทำให้เกิดการปฏิสนธิชั่วคราว4และ การเป็นหมันชั่วคราว5เพื่อให้แตกต่างจาก ความไม่สามารถทำให้เกิดการปฏิสนธิถาวร6และ การเป็นหมันถาวร7 ในสตรี เราแยกความแตกต่างระหว่าง การเป็นหมันปฐมภูมิ8เมื่อผู้หญิงไม่เคยสามารถมีบุตรเลย กับ การเป็นหมันทุติยภูมิ9ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากให้กำเนิดลูกหนึ่งคนหรือมากกว่านั้น

  • 1. ความหมายอีกอย่างหนึ่งของศัพท์คำนี้ แสดงถึงความสามารถที่จะมีบุตรมากกว่าความสามารถที่จะผลิตบุตรที่มีชีพ คำว่าด้อยความสามารถมีบุตรมีความหมายว่าความสามารถที่จะผลิตบุตรมีชีพมีต่ำกว่าปรกติหรือมีความเป็นไปได้ต่ำที่จะเกิดการปฏิสนธิ

622

คำว่าการเป็นหมันชั่วคราว (621-5) ใช้แม้กระทั่งในกรณีที่ความไม่สามารถตั้งครรภ์ของผู้หญิงไม่ได้เป็นผลมาจากสภาพความเจ็บป่วย กล่าวได้ว่าผู้หญิงมี ช่วงเวลาเป็นหมัน1ในแต่ละ รอบประจำเดือน2 เพราะโดยทั่วไปการปฏิสนธิจะเกิดขึ้นได้ในช่วงเวลาสองสามวันใกล้ๆ เวลาของ การตกไข่3เท่านั้น ช่วงเวลาของการเป็นหมันที่ขยายต่อจากการปฏิสนธิ (602-1) ไปจนถึงการกลับมาของการตกไข่อีกครั้งหลังจากการคลอดซึ่งนับรวมเวลาของการตั้งครรภ์ (602-5) และผลของระยะเวลาใน การให้นมบุตร4เรียกว่า ช่วงเวลาที่ไม่ไวรับ5 โดยเฉพาะใช้ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการสืบทอดพันธุ์ การเป็นหมันชั่วคราวใช้เพื่อหมายถึงการเกิดขึ้นของ รอบเวลาที่ไม่มีการตกไข่6 (ได้แก่รอบประจำเดือนซึ่งการตกไข่ไม่เกิดขึ้น) หรือช่วงเวลาผิดปรกติของภาวะขาดระดู ความด้อยความสามารถมีบุตร7ของผู้หญิงอายุน้อยมากๆ เรียกกันว่า การเป็นหมันวัยรุ่น8 น่าจะดีกว่าถ้าจะพูดว่า ความด้อยความสามารถมีบุตรของวัยรุ่น8

  • 5. ระยะเวลาระหว่างการคลอดกับการตกไข่อีกครั้งมักเรียกว่าระยะเวลาเป็นหมันหลังคลอด
  • 6. เรียกว่ารอบไม่ตกไข่ด้วย

623

ภาวะเจริญพันธุ์1 และ ภาวะไม่เจริญพันธุ์2หมายถึงพฤติกรรมสืบทอดพันธุ์มากกว่าสมรรถนะ และคำทั้งสองนี้ใช้เพื่อแสดงว่ามีบุตรเกิดขึ้นมาจริงๆ หรือไม่ในช่วงเวลาที่ศึกษา เมื่อคำนึงถึงช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์สมบูรณ์ คำว่า ภาวะไม่เจริญพันธุ์รวม3อาจนำมาใช้ในขณะที่ ภาวะไม่เจริญพันธุ์ถาวร4อาจขยายจากอายุหนึ่งหรือจากช่วงเวลาการแต่งงานไปถึงจุดสิ้นสุดของช่วงเวลาของการมีบุตร ภาวะไม่เจริญพันธุ์โดยสมัครใจ5ใช้เมื่อไม่มีการสืบทอดพันธุ์ที่สอดคล้องเป็นไปตามการตัดสินใจของคู่อยู่กิน (503-8) ขอให้สังเกตว่าในประเทศที่พูดภาษาละติน คำว่าภาวะเจริญพันธุ์และความสามารถมีบุตรใช้ในความหมายที่ตรงข้ามกับคำในภาษาอังกฤษ ฉะนั้นคำว่า fécondité ในภาษาฝรั่งเศส และ fecundidad ในภาษาสเปนจะแปลว่า fertility และคำว่า fertilité และ fertilidad แปลว่า fecundity

  • 2.
    ไร้บุตร หมายถึงสภาวะที่ผู้หญิง ผู้ชาย หรือคู่อยู่กินยังไม่มีบุตรเลย

624

ภาวะเจริญพันธุ์ (623-1) ของคู่อยู่กินจะขึ้นอยู่กับ พฤติกรรมการสืบทอดพันธุ์1ของเขา มีความแตกต่างระหว่าง ผู้วางแผน2ซึ่งหมายถึงคู่อยู่กินที่พยายามกำหนดจำนวนหรือเว้นระยะ (612-1*) ของการเกิด กับ ผู้ไม่วางแผน3ซึ่งหมายถึงคู่อยู่กินที่ไม่มีความพยายามดังกล่าวเลย การวางแผนครอบครัว4มีความหมายกว้างกว่า การจำกัดขนาดครอบครัว4ซึ่งหมายถึงความพยายามที่จะมีลูกไม่เกิน จำนวนบุตรที่ต้องการ5 ศัพท์คำว่า การคุมกำเนิด6หรือ การกำหนดภาวะเจริญพันธุ์6ไม่่จำกัดอยู่กับกิจกรรมของคนที่แต่งงานแล้วเท่านั้น

  • 4. การจำแนกประเภทตามสถานภาพตามการวางแผนครอบครัวแยกคู่อยู่กินที่ไม่พยายามกำหนดหรือเว้นระยะการมีบุตรของตนออกจากคู่อยู่กินที่พยายามกระทำการดังกล่าว
  • 5. การเกิดที่ไม่ต้องการ หรือการเกิดที่ไม่ตั้งใจคือการเกิดที่เกิดขึ้นหลังจากคู่อยู่กินมีบุตรตามจำนวนที่ปรารถนาแล้ว ศัพท์คำนี้ต่างจากคำว่าการเกิดที่ไม่วางแผนซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจและบางทีเป็นการเกิดนอกสมรส

625

การวางแผนครอบครัวมีความเกี่ยวโยงถึง พ่อแม่ที่วางแผน1 หรือ พ่อแม่ที่รับผิดชอบ1 ได้แก่ ความปรารถนาที่จะกำหนดจำนวนและเว้นระยะของการเกิดให้เป็นเป็นประโยชน์มากที่สุดของคู่อยู่กินหรือของสังคม จำนวนบุตรที่คู่อยู่กินคาดว่าจะมีอาจแตกต่างจาก จำนวนบุตรที่ปรารถนา2 หรือ จำนวนบุตรที่ตั้งใจ2 ที่คู่อยู่กินให้ข้อมูลในการสำรวจ แม้ว่าจำนวนบุตรที่เป็นเป้าหมายเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง คู่อยู่กินก็อาจมีบุตรเกินกว่าจำนวนเหล่านั้นอันเป็นผลมาจาก ความล้มเหลวของการคุมกำเนิด3 ความถี่ของความล้มเหลวที่ขึ้นอยู่กับ ประสิทธิภาพของการคุมกำเนิด4ซึ่งมีอยู่สองลักษณะ ประสิทธิภาพเชิงทฤษฎี5หรือ ประสิทธิภาพเชิงสรีรวิทยา5 ชี้ให้เห็นว่าวิธีคุมกำเนิดเชื่อถือได้อย่างไรเมื่อใช้ตลอดเวลาตามคำแนะนำในการใช้ ประสิทธิภาพในการใช้6วัดความเชื่อถือได้เมื่อใช้ในสถานการณ์ประจำวันโดยประชากรหนึ่ง เพื่อเป็นเหตุผลอธิบายศัพท์คำว่าภาวะความสามารถในการมีครรภ์ส่วนที่เหลือ (638-7) ประสิทธิภาพในการใช้ปรกติวัดได้ด้วย อัตราความล้มเหลวของการคุมกำเนิด7ซึ่งโยงจำนวนการปฏิสนธิที่ไม่ตั้งใจไปยังระยะเวลาที่เสี่ยงต่อการปฏิสนธิ

  • 2. ในศัพท์คำอื่นๆ การเกิดที่คาดหวังแตกต่างจากการเกิดที่ตั้งใจ มีความแตกต่างระหว่างคำว่าขนาดครอบครัวที่ปรารถนาซึ่งหมายถึงจำนวนบุตรที่ผู้หญิงคนหนึ่ง ผู้ชายคนหนึ่ง หรือคู่อยู่กินคู่หนึ่งที่ต้องการที่จะมี กับขนาดครอบครัวในอุดมคติซึ่งผู้หญิง ผู้ชาย หรือคู่อยู่กินมองในมุมว่าควรเป็นขนาดครอบครัวที่เหมาะสมสำหรับคนในสังคม ขนาดครอบครัวที่ตั้งใจอาจต่ำกว่าขนาดครอบครัวที่ปรารถนา
  • 3. การเกิดที่ไม่ได้วางแผนตรงข้ามกับการเกิดที่วางแผน
  • 4. 5. และ 6. ในศัพท์คำนี้ ประสิทธิผลมีความหมายเหมือนกับประสิทธิภาพ
  • 4. อย่าสับสนกับคำว่าประสิทธิภาพทางประชากรของโครงการวางแผนครอบครัว (ดู 626-7) หรือของวิธีคุมกำเนิดที่ใช้อยู่ในประชากรหนึ่ง

626

โครงการวางแผนครอบครัว1ดำเนินการให้ความรู้และกระจายการคุมกำเนิดในกลุ่ม ผู้อาจเป็นผู้ใช้2 หรือใน ประชากรเป้าหมาย2 ทีมของ พนักงานภาคสนาม3ซึ่งรวม พนักงานสอบถาม3 พนักงานชักจูงใจ3 และ พนักงานจ่ายเครื่องมือคุมกำเนิด3 พยายามเข้าถึงและชักชวนประชากรให้ใช้วิธีคุมกำเนิดหรือการแท้ง ความสำเร็จของโครงการวัดได้ด้วย สัดส่วนของผู้รับบริการรายใหม่4ในประชากรเป้าหมาย หรือวัดโดย อัตรารับบริการ4 สำหรับผู้รับบริการคุมกำเนิด มีการคำนวณ อัตราคงใช้5หลังจากช่วงเวลาหนึ่ง อัตราการหยุดใช้6หรือ อัตราเลิกใช้6 การคาดประมาณจำนวนและสัดส่วนของ การเกิดที่ป้องกันได้7สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพทางประชากร (625-4*) ของโครงการ ความชุกของการคุมกำเนิดในประชากรประมาณได้โดย สัดส่วนของผู้กำลังใช้8ของการคุมกำเนิดจากประชากรที่เกี่ยวข้อง อย่างเช่นสตรีที่แต่งงานแล้วในวัยสืบทอดพันธุ์

  • 8. การสำรวจความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการคุมกำเนิด เรียกโดยใช้อักษรย่อว่า KAP อัตราคุมกำเนิด (contraceptive prevalence rate) หมายถึงร้อยละของสตรีวัยมีบุตรที่แต่งงานแล้วและยังอยู่กินกับสามีที่กำลังใช้วิธีคุมกำเนิดชนิดใดชนิดหนึ่งอยู่ เป็นดัชนีที่ชี้ความสำเร็จของโครงการวางแผนครอบครัวอีกดัชนีหนึ่ง

627

การป้องกันการปฏิสนธิ1หมายถึงมาตรการซึ่งใช้เพื่อที่จะป้องกันไม่ให้เกิดผลการปฏิสนธิจาก การมีเพศสัมพันธ์2หรือ การร่วมประเวณี2 ศัพท์คำนี้ครอบคลุมการทำหมัน (631-1)เพื่อคุมกำเนิด วิธีคุมกำเนิด3ใช้ในความหมายที่กว้างกว่า วิธีป้องกันการปฏิสนธิ3 เพื่อรวมการทำแท้ง (604-2) การงดเว้น4จากการมีเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะการงดเว้นร่วมเพศเป็นระยะ ๆ (628-4) มักจะรวมอยู่ในวิธีป้องกันการปฏิสนธิหรือวิธีคุมกำเนิด

628

มักแยกความแตกต่างระหว่าง วิธีที่ใช้อุปกรณ์1ของการป้องกันการปฏิสนธิ กับ วิธีที่ไม่ใช้อุปกรณ์2 วิธีที่ไม่ใช้อุปกรณ์ในการป้องกันการปฏิสนธิหลักวิธีหนึ่งคือ การหลั่งภายนอก3 หรือ การถอนออก3 วิธีที่ไม่ใช้อุปกรณ์ในการป้องกันการปฏิสนธิอีกวิธีหนึ่งคือ การงดเว้นร่วมเพศเป็นระยะ ๆ4หรือ วิธีการนับระยะปลอดภัย4ซึ่งเป็นการหลีกเลี่ยงการร่วมเพศในช่วงที่เชื่อว่าผู้หญิงมีโอกาสตั้งครรภ์ได้ และจะร่วมเพศในช่วงที่เรียกว่า ระยะปลอดภัย5ของรอบประจำเดือนเท่านั้น วิธีการวัดอุณหภูมิร่างกาย6หมายถึงวิธีที่ผู้หญิงคอยติดตามวัดอุณหภูมิร่างกายของตนเองเพื่อหาระยะปลอดภัย

  • 1. วิธีที่ใช้อุปกรณ์มีทั้งที่เป็นวิธีใช้สิ่งกั้นขวางซึ่งใช้เพื่อป้องกันการพบกันของสเปิร์มและไข่ และวิธีที่ใช้อุปกรณ์คุมกำเนิดอื่นๆ อย่างเช่น ห่วงอนามัย (629-10) และการคุมกำเนิดประเภทอื่น เช่นยาเม็ด (630-4)
  • 4. ศัพท์คำว่าวิธีวางแผนครอบครัวตามธรรมชาติหมายรวมถึงวิธีนับระยะปลอดภัย วิธีวัดอุณหภูมิร่างกาย และเทคนิคอื่นๆ ที่พยายามระบุขั้นตอนของรอบการตกไข่ของสตรี

629

วิธีการใช้สิ่งกั้นขวางซึ่งใช้กันมากทั้งใช้วิธีเดียวโดดๆ หรือผสมกับวิธีอื่นมี ถุงยาง1หรือ ปลอก1ที่ใช้โดยผู้ชาย และ หมวกครอบปากมดลูก2 หรือ อุปกรณ์ยันมดลูก2 ไดอะแฟรม3 แทมปอน4หรือ ฟองน้ำ4 เจลลี่คุมกำเนิด5 ยาเหน็บช่องคลอด6 ยาเม็ดฟองฟู่7 และ น้ำยาฉีดล้าง8 ทั้งที่มีและไม่มี ยาฆ่าสเปิร์ม9ที่ใช้โดยผู้หญิง นอกจากนั้นยังมี ห่วงอนามัย10 (เรียกย่อๆ ว่า ไอยูดี10) (IUD) อีกหลายประเภท เช่นแบบ ขมวด10 ขดลวด10 ขดทองแดงรูปตัวที10 ฯลฯ

630

การป้องกันการปฏิสนธิทางปาก1เป็นวิธี การป้องกันการปฏิสนธิด้วยฮอร์โมน2 หรือ การป้องกันการปฏิสนธิด้วยสเตอรอยด์3 วิธีเหล่านี้ป้องกันไม่ให้ไข่สุกโดยนำเข้าสู่ร่างกายทางปากของ เม็ดยาคุม4 หรือโดยการฉีดยา หรือโดยการฝังใต้ผิวหนัง

631

การทำหมัน1เป็นผลจากการผ่าตัดวิธีต่างๆ การทำหมันชายคือมีการ ตัดท่อน้ำเชื้อ2 หรือ การปิดท่อน้ำเชื้อ3 ซึ่งเป็นการผูกและตัดท่อนำเชื้ออสุจิ การทำหมันหญิงมี การผูกท่อนำไข่4 และ การตัดท่อนำไข่5 ซึ่งเป็นการขัดขวางการทำงานของท่อนำไข่ การตัดมดลูก6 หรือการตัดมดลูกทิ้งก็นับเป็นการทำให้ผู้หญิงเป็นหมันด้วยเช่นกัน

  • 4. และ 5. มีการใช้วิธีการหลายอย่างที่จะเข้าถึงท่อนำไข่ อย่างเช่น การผ่าท้อง (laparotomy) การผ่าช่องคลอด (colpotomy) หรือการใช้กล้องส่องช่องท้อง (laparoscopy)

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=62&oldid=799"