The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "62"

จาก Demopædia
(624)
(625)
แถว 39: แถว 39:
 
=== 625 ===
 
=== 625 ===
  
Family planning implies a concern with {{TextTerm|planned parenthood|1|625|OtherIndexEntry=parenthood, planned}} or {{TextTerm|responsible parenthood|1|625|2|OtherIndexEntry=parenthood, responsible}}, i.e., the desire to determine the number and spacing of births in conformity with the best interest of each couple, or of society. The number of children expected by a couple may differ from the {{TextTerm|desired number of children|2|625|OtherIndexEntry=children, desired number of}} or {{TextTerm|intended number of children|2|625|2|OtherIndexEntry=children, intended number of}} reported by the couple in a survey. Even if these goals are not revised, they may be exceeded as a result of {{TextTerm|contraceptive failures|3|625|IndexEntry=contraceptive failure|OtherIndexEntry=failure, contraceptive}} ; the frequency of the latter depends on {{TextTerm|contraceptive effectiveness|4|625|OtherIndexEntry=effectiveness, contraceptive}} which has two aspects. {{TextTerm|Theoretical effectiveness|5|625|OtherIndexEntry=effectiveness, theoretical}} or {{TextTerm|physiological effectiveness|5|625|2|OtherIndexEntry=effectiveness, physiological}} indicates how reliable a method is when used all the time according to directions. {{TextTerm|Use effectiveness|6|625|OtherIndexEntry=effectiveness, use}} measures its reliability when used in everyday situations by a given population. Reasoning in terms of {{NonRefTerm|residual fecundability}} ({{RefNumber|63|8|7}}), use effectiveness is usually measured by the {{TextTerm|contraceptive failure rate|7|625|OtherIndexEntry=failure rate, contraceptive}} which relates the number of unintended conceptions to the length of exposure to the risk of conceiving.
+
การวางแผนครอบครัวมีความเกี่ยวโยงถึง{{TextTerm|พ่อแม่ที่วางแผน|1|625}} หรือ{{TextTerm|พ่อแม่ที่รับผิดชอบ|1|625|2}} ได้แก่ ความปรารถนาที่จะกำหนดจำนวนและเว้นระยะของการเกิดให้เป็นไปตามความสนใจที่สุดของคู่อยู่กินหรือของสังคม จำนวนบุตรที่คู่อยู่กินคาดว่าจะมีอาจแตกต่างจาก{{TextTerm|จำนวนบุตรที่ปรารถนา|2|625}} หรือ{{TextTerm|จำนวนบุตรที่ตั้งใจ|2|625|2}} ที่คู่อยู่กินให้ข้อมูลในการสำรวจ  แม้ว่าจำนวนบุตรที่เป็นเป้าหมายเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง คู่อยู่กินก็อาจมีบุตรเกินกว่าจำนวนเหล่านั้นอันเป็นผลมาจาก{{TextTerm|ความล้มเหลวของการคุมกำเนิด|3|625|IndexEntry=ความล้มเหลวของการคุมกำเนิด}} ความถี่ของความล้มเหลวที่ขึ้นอยู่กับ{{TextTerm|ประสิทธิภาพของการคุมกำเนิด|4|625}}ซึ่งมีอยู่สองลักษณะ  {{TextTerm|ประสิทธิภาพเชิงทฤษฎี|5|625}}หรือ{{TextTerm|ประสิทธิภาพเชิงสรีรวิทยา|5|625|2}} ชี้ให้เห็นว่าวิธีคุมกำเนิดเชื่อถือได้อย่างไรเมื่อใช้ตลอดเวลาตามคำแนะนำในการใช้  {{TextTerm|ประสิทธิภาพในการใช้|6|625}}วัดความเชื่อถือได้เมื่อใช้ในสถานการณ์ประจำวันโดยประชากรหนึ่ง  การให้เหตุผลของศัพท์คำว่า{{NonRefTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ส่วนที่เหลือ}} ({{RefNumber|63|8|7}}) ประสิทธิภาพในการใช้ปรกติวัดได้ด้วย{{TextTerm|อัตราความล้มเหลวของการคุมกำเนิด|7|625}}ซึ่งโยงจำนวนการปฏิสนธิที่ไม่ตั้งใจไปยังระยะเวลาที่เสี่ยงต่อการปฏิสนธิ
 
{{Note|2| In other terms, {{NoteTerm|birth expectations}} differ from {{NoteTerm|reproductive intentions}}. A distinction is made between {{NoteTerm|desired family size}}, the number of children a woman, man or couple wants to have, and the {{NoteTerm|ideal family size}} which they envision for their society. {{NoteTerm|Intended family size}} may be lower than desired family size.}}
 
{{Note|2| In other terms, {{NoteTerm|birth expectations}} differ from {{NoteTerm|reproductive intentions}}. A distinction is made between {{NoteTerm|desired family size}}, the number of children a woman, man or couple wants to have, and the {{NoteTerm|ideal family size}} which they envision for their society. {{NoteTerm|Intended family size}} may be lower than desired family size.}}
 
{{Note|3| {{NoteTerm|Unplanned births}} are often opposed to {{NoteTerm|planned births}}.}}
 
{{Note|3| {{NoteTerm|Unplanned births}} are often opposed to {{NoteTerm|planned births}}.}}

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 20:38, 2 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


620

ช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์1 (หรือ ช่วงเวลามีบุตร1ในสตรี) เริ่มที่ วัยสามารถผสมพันธุ์ได้2 การมีระดู3การปรากฏขึ้นของประจำเดือน4 หรือ เมน4ในสตรี — เริ่มที่วัยสามารถผสมพันธุ์ได้ ประจำเดือนแรกเรียก การเริ่มแรกมีระดู5 และการมีประจำเดือนหยุดลงเมื่อถึง วัยหมดระดู6 ซึ่งบางครั้งเรียกว่า ช่วงระยะหมดระดู6 ในทางปฏิบัติ ช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์มักจะกำหนดว่าให้เริ่มที่อายุ 15 ปี หรืออายุต่ำสุดที่จะแต่งงาน (504-1) และมักจะให้สิ้นสุดลงที่อายุ 45 หรือ 50 ปี การไม่มีประจำเดือนชั่วคราวทั้งที่เป็นปรกติดหรือเกิดจากความเจ็บป่วยเรียกว่า ภาวะขาดระดู7 ภาวะขาดระดูจากการตั้งครรภ์8เกิดขึ้นหลังจากการปฏิสนธิ และ ภาวะขาดระดูหลังคลอด9เกิดขึ้นหลังจากการคลอดบุตร

  • 1. The terms reproductive ages or fecund ages are also used.
  • 3. Menstruation, n. - menstruate, v. - menstrual, adj.
  • 6. Menopause, n. - menopausal, adj. The expression change of life is used as a synonym for menopause in colloquial language.

621

สมรรถนะของผู้ชาย ของผู้หญิง หรือของคู่อยู่กินที่จะผลิตลูกที่มีชีวิตได้เรียก ความสามารถมีบุตร1 การขาดความสามารถเช่นนั้นเรียก ความไม่สามารถมีบุตร2หรือ การเป็นหมัน2 ความไม่สามารถตั้งครรภ์3และinability to procreate 10* เป็นสาเหตุหลักแต่ไม่ใช่สาเหตุเดียวของการเป็นหมัน เมื่อใช้คำว่าการเป็นหมันคำเดียวโดดๆ จะให้ความหมายถึงการเป็นหมันถาวรที่ไม่อาจคืนกลับมาได้ แต่บ่อยครั้งที่มีการใช้คำว่าความไม่สามารถปฏิสนธิชั่วคราว 4*และ การเป็นหมันชั่วคราว5เพื่อให้แตกต่างจากความไม่สามารถปฏิสนธิถาวร 6*และ การเป็นหมันถาวร7 ในสตรี เราแยกความแตกต่างระหว่าง การเป็นหมันปฐมภูมิ8เมื่อผู้หญิงไม่เคยสามารถมีบุตรเลย กับ การเป็นหมันทุติยภูมิ9ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากให้กำเนิดลูกหนึ่งคนหรือมากกว่านั้น

  • 1. Fecundity, n. - fecund, adj. An alternative meaning of the term implies the ability to conceive, rather than to produce a live child. The terms sub-fecundity and sub-fecund mean either that the capacity to produce a live child is below normal, or that the probability of conception is low.
  • 2. Sterility, n. - sterile, adj. Infecundity, n. - infecund, adj.

622

คำว่าการเป็นหมันชั่วคราว (621-5) ใช้แม้กระทั่งในกรณีที่ความไม่สามารถตั้งครรภ์ของผู้หญิงไม่ได้เป็นผลมาจากสภาพความเจ็บป่วย กล่าวได้ว่าผู้หญิงมี ช่วงเวลาเป็นหมัน1ในแต่ละ รอบประจำเดือน2 เพราะโดยทั่วไปการปฏิสนธิจะเกิดขึ้นได้ในช่วงเวลาสองสามวันใกล้ๆ เวลาของ การตกไข่3เท่านั้น ช่วงเวลาของการเป็นหมันที่ขยายต่อจากการปฏิสนธิ (602-1) ไปจนถึงการกลับมาของการตกไขอีกครั้งหลังจากการคลอดซึ่งนับรวมเวลาของการตั้งครรภ์ (602-5) และผลของระยะเวลาใน การให้นมบุตร4เรียกว่า ช่วงเวลาที่ไม่ไวรับ5 โดยเฉพาะใช้ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการสืบทอดพันธุ์ การเป็นหมันชั่วคราวใช้เพื่อหมายถึงการเกิดขึ้นของ รอบเวลาที่ไม่มีการตกไข่6 (ได้แก่รอบประจำเดือนซึ่งการตกไข่ไม่เกิดขึ้น) หรือช่วงเวลาผิดปรกติของภาวะขาดระดู ความด้อยความสามารถมีบุตร7ของผู้หญิงอายุน้อยมากๆ เรียกกันว่า การเป็นหมันวัยรุ่น8 น่าจะดีกวาถ้าจะใช้พูดว่า ความด้อยความสามารถมีบุตรของวัยรุ่น8

  • 5. The period between delivery and the return of ovulation is often called the period of postpartum sterility.
  • 6. Also called anovular cycles.

623

ภาวะเจริญพันธุ์1 และ ภาวะไม่เจริญพันธุ์2หมายถึงพฤติกรรมสืบทอดพันธุ์มากกว่าสมรรถนะ และคำทั้งสองนี้ใช้เพื่อแสดงว่ามีบุตรเกิดขึ้นมาจริงๆ หรือไม่ในช่วงเวลาที่ศึกษา เมื่อคำนึงถึงช่วงเวลาสืบทอดพันธุ์สมบูรณ์ คำว่าภาวะไม่เจริญพันธุ์รวม 3*อาจนำมาใช้ในขณะที่ ภาวะไม่เจริญพันธุ์ถาวร4อาจขยายจากอายุหนึ่งหรือจากช่วงเวลาการแต่งงานไปถึงจุดสิ้นสุดของช่วงเวลาของการมีบุตร ภาวะไม่เจริญพันธุ์โดยสมัครใจ 5*ใช้เมื่อไม่มีการสืบทอดพันธุ์ที่สอดคล้องกับตามการตัดสินใจของคู่ครอง (503-8) ขอให้สังเกตว่าในประเทศที่พูดภาษาละติน คำว่าภาวะเจริญพันธุ์และความสามารถมีบุตรใช้ในความหมายที่ตรงข้ามกับคำในภาษาอังกฤษ ฉะนั้นคำว่า fécondité ในภาษาฝรั่งเศส และ fecundidad ในภาษาสเปนจะแปลว่า fertility และคำว่า fertilité และ fertilidad แปลว่า fecundity

  • 2. Infertility, n. - infertile, adj.
    Childlessness, n. - childless, adj. : refer to the state of a women, man or couple who have been so far infertile.

624

ภาวะเจริญพันธุ์ (623-1) ของคู่อยู่กินจะขึ้นอยู่กับ พฤติกรรมการสืบทอดพันธุ์1ของเขา มีความแตกต่างระหว่าง ผู้วางแผน2ซึ่งหมายถึงคู่อยู่กินที่พยายามกำหนดจำนวนหรือเว้นระยะ (612-1*) ของการเกิด กับ ผู้ไม่วางแผน3ซึ่งหมายถึงคู่อยู่กินที่ไม่มีความพยายามดังกล่าวเลย การวางแผนครอบครัว4มีความหมายกว้างกว่า การจำกัดขนาดครอบครัว4ซึ่งหมายถึงความพยายามที่จะมีลูกไม่เกิน จำนวนบุตรที่ต้องการ5 ศัพท์คำว่า การคุมกำเนิด6หรือ การกำหนดภาวะเจริญพันธุ์6ไม่่จำกัดอยู่กับกิจกรรมของคนที่แต่งงานแล้วเท่านั้น

  • 4. A classification according to family planning status distinguishes couples who have not tried to regulate the number and spacing of their children from those who have tried to do so.
  • 5. Unwanted births or unintended births are those that occur after the total family size desired by the couple has been reached. They are distinguished from unplanned births that may have occurred at a time that was not intended, and perhaps outside of wedlock.

625

การวางแผนครอบครัวมีความเกี่ยวโยงถึง พ่อแม่ที่วางแผน1 หรือ พ่อแม่ที่รับผิดชอบ1 ได้แก่ ความปรารถนาที่จะกำหนดจำนวนและเว้นระยะของการเกิดให้เป็นไปตามความสนใจที่สุดของคู่อยู่กินหรือของสังคม จำนวนบุตรที่คู่อยู่กินคาดว่าจะมีอาจแตกต่างจาก จำนวนบุตรที่ปรารถนา2 หรือ จำนวนบุตรที่ตั้งใจ2 ที่คู่อยู่กินให้ข้อมูลในการสำรวจ แม้ว่าจำนวนบุตรที่เป็นเป้าหมายเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง คู่อยู่กินก็อาจมีบุตรเกินกว่าจำนวนเหล่านั้นอันเป็นผลมาจาก ความล้มเหลวของการคุมกำเนิด3 ความถี่ของความล้มเหลวที่ขึ้นอยู่กับ ประสิทธิภาพของการคุมกำเนิด4ซึ่งมีอยู่สองลักษณะ ประสิทธิภาพเชิงทฤษฎี5หรือ ประสิทธิภาพเชิงสรีรวิทยา5 ชี้ให้เห็นว่าวิธีคุมกำเนิดเชื่อถือได้อย่างไรเมื่อใช้ตลอดเวลาตามคำแนะนำในการใช้ ประสิทธิภาพในการใช้6วัดความเชื่อถือได้เมื่อใช้ในสถานการณ์ประจำวันโดยประชากรหนึ่ง การให้เหตุผลของศัพท์คำว่าภาวะความสามารถในการมีครรภ์ส่วนที่เหลือ (638-7) ประสิทธิภาพในการใช้ปรกติวัดได้ด้วย อัตราความล้มเหลวของการคุมกำเนิด7ซึ่งโยงจำนวนการปฏิสนธิที่ไม่ตั้งใจไปยังระยะเวลาที่เสี่ยงต่อการปฏิสนธิ

  • 2. In other terms, birth expectations differ from reproductive intentions. A distinction is made between desired family size, the number of children a woman, man or couple wants to have, and the ideal family size which they envision for their society. Intended family size may be lower than desired family size.
  • 3. Unplanned births are often opposed to planned births.
  • 4. 5. and 6. Efficacy is a synonym for effectiveness in these expressions.
  • 4. Not to be confused with the demographic effectiveness of a family planning program (see 626-7), or of a method in a population.

626

A family planning program1 seeks to introduce and diffuse birth control in a group of potential users2 or in a target population2. Teams of fieldworkers3, including canvassers3, motivators3 and distributors3, attempt to reach and convince the population to use contraception or abortion. The success of the program can be measured by the proportion of new acceptors4 in the target population, or by the acceptance rate4; for the acceptors of contraception, the continuation rate5 after a certain lapse of time and its complement, the termination rate6 or drop-out rate6 are also computed. Estimates of the numbers and proportions of births averted7 reflect the demographic effectiveness (625-4*) of the program. Contraceptive prevalence in a population is estimated by the proportion of current users8 of contraception from a relevant universe, such as married women of reproductive age.

  • 8. Special surveys of knowledge, attitudes and practice of contraception have been called KAP surveys in abbreviation.

627

Contraception1 refers to measures which are taken in order to prevent sexual intercourse2 or coitus2 from resulting in conception; the term covers contraceptive sterilization (631-1). Birth control methods3 is used in a broader sense than contraceptive methods3 to include induced abortion (604-2). Abstinence4 from coitus, particularly periodic abstinence (628-4) is often included among contraceptive or birth control methods.

  • 1. Contraception, n. - contraceptor, n.: one who practices contraception. Contraceptive, adj. : used for contraception.
  • 4. Abstinence, n. - abstain, v.

628

A distinction is frequently drawn between appliance methods1 of contraception and non-appliance methods2. One principal non-appliance method of contraception is coitus interruptus3 or withdrawal3. Another non-appliance method of contraception is periodic abstinence4 or the rhythm method4, in which coitus is avoided during the period when the woman is believed to be fecund and takes place only during the so-called safe period5 of the menstrual cycle. The basal body temperature method6 refers to the method in which the woman keeps track of her temperature to identify the safe period.

  • 1. Appliance methods include not only barrier methods which are used to prevent the union of the sperm and ovum, but also methods using other contraceptive devices such as the intra-uterine device (629-10) and other types of contraceptives such as the pill (630-4).
  • 4. The term natural family planning methods has been applied collectively to cover the rhythm method, the basal body temperature method, and other techniques which attempt to identify stages of the woman’s ovulatory cycle.

629

The barrier methods which are more commonly used alone or in combination include the condom1 or sheath1, used by men, and the cervical cap2 or pessary2, the diaphragm3, tampon4 or sponge4, contraceptive jelly5, suppository6, foam tablets7 and douche8 with or without spermicide9, used by women. There are various types of intra-uterine devices10 (abbreviated to IUD10), including the loop10 the coil10, the copper T10, etc.

630

Oral contraceptives1 are a method of hormonal contraception2 or contraception by steroids3. These inhibit ovulation by regular ingestion of the pill4, or by injections or implants.

631

Sterilization1 results from various surgical procedures: on the male, vasectomy2 or occlusion 3* involves tying and cutting the vas deferens; on the female tubal ligation4 and salpingectomy5 or tubectomy5 involve interventions on the fallopian tubes. Hysterectomy6 or excision of the uterus, also involves sterilization of the woman.

  • 4. and 5. Various procedures are used to gain access to the Fallopian tubes, such as laparotomy, colpotomy or laparoscopy.

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=62&oldid=334"