The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "61"

จาก Demopædia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย '<!--'''61'''--> {{CurrentStatus}} {{Unmodified edition II}} {{Summary}} __NOTOC__ === 610 === การเกิดจำแนก...')
 
(613)
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 8: แถว 8:
 
=== 610 ===
 
=== 610 ===
  
การเกิดจำแนกออกตาม{{TextTerm|ความถูกต้องตามกฎหมาย|1|610}} {{TextTerm|เด็กที่ถูกต้องตามกฎหมาย|2|610}}อาจนิยามอย่างเคร่งคัดว่าหมายถึงเด็กที่บิดาและมารดาแต่งงานกันในเวลาที่ปฏิสนธิ แต่ในทางปฏิบัติ การจำแนกเช่นนั้นขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรสของมารดา ณ เวลาของการเกิด หรือหลังจาก{{NonRefTerm|การสิ้นสลายของการแต่งงาน}} ({{RefNumber|51|0|3}}) ก็ขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรสของมารดา ณ เวลาของการปฏิสนธิ {{TextTerm|การเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมาย|3|610}}เป็นการคลอดของเด็กที่ถูกต้องตามกฎหมาย การเกิดอื่นนอกจากนั้นเป็น{{TextTerm|การเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย|4|610|IndexEntry=การเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายte}} It is general practice to consider as legitimate the children who result from {{TextTerm|pre-marital conceptions|5|610|IndexEntry=pre-marital conception|OtherIndexEntry=conception, pre-marital}} or {{TextTerm|pre-nuptial conceptions|5|610|2|IndexEntry=pre-nuptial conception|OtherIndexEntry=conception, pre-nuptial}} (i.e., conceptions occurring before marriage) provided that the parents are married to each other at the time of the birth. An {{TextTerm|illegitimate child|6|610|OtherIndexEntry=child, illegitimate}} or {{TextTerm|child born out of wedlock|6|610|2|OtherIndexEntry=wedlock, child born out of}} may be {{TextTerm|legitimized|8|610}} or {{TextTerm|legitimated|8|610|2}} by the subsequent marriage of its parents. The process of {{TextTerm|legitimation|9|610}}, which varies in different countries, may confer on the illegitimate child some or all of the legal rights of legitimate children. In some legal systems it is possible for a father to grant {{TextTerm|recognition|7|610}} to, or {{TextTerm|acknowledge|7|610|2}}, his illegitimate child, i.e., to admit in legal form that he is the child’s father.
+
การเกิดจำแนกออกตาม{{TextTerm|ความถูกต้องตามกฎหมาย|1|610}} {{TextTerm|เด็กที่ถูกต้องตามกฎหมาย|2|610}}อาจนิยามอย่างเคร่งครัดว่าหมายถึงเด็กที่บิดาและมารดาแต่งงานกันในเวลาที่ปฏิสนธิ แต่ในทางปฏิบัติ การจำแนกเช่นนั้นขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรสของมารดา ณ เวลาของการเกิด หรือ หลังจาก{{NonRefTerm|การสูญสลายของการแต่งงาน}} ({{RefNumber|51|0|3}}) ก็ขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรสของมารดา ณ เวลาของการปฏิสนธิ {{TextTerm|การเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมาย|3|610}}เป็นการคลอดของเด็กที่ถูกต้องตามกฎหมาย การเกิดอื่นนอกจากนั้นเป็น{{TextTerm|การเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย|4|610|IndexEntry=การเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายte}} เป็นสิ่งที่ปฏิบัติกันทั่วไปที่จะพิจารณาว่าเด็กที่เป็นผลมาจาก{{TextTerm|การปฏิสนธิก่อนแต่งงาน|5|610|IndexEntry=การปฏิสนธิก่อนแต่งงาน}} หรือ{{TextTerm|การปฏิสนธิก่อนสมรส|5|610|2|IndexEntry=การปฏิสนธิก่อนสมรส}} (ได้แก่การปฏิสนธิที่เกิดขึ้นก่อนการแต่งงาน) เป็นเด็กถูกต้องตามกฎหมายถ้าบิดามารดาของเด็กนั้นแต่งงานกัน ณ เวลาของการเกิด {{TextTerm|เด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย|6|610}} หรือ{{TextTerm|เด็กเกิดนอกสมรส|6|610|2}}อาจ{{TextTerm|ทำให้ถูกต้องตามกฎหมาย|8|610}} หรือ{{TextTerm|ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย|8|610|2}}โดยการแต่งงานของบิดามารดาในเวลาต่อมา กระบวนการของ{{TextTerm|การทำให้ชอบด้วยกฎหมาย|9|610}}ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ อาจให้สิทธิทางกฎหมายบางอย่างหรือสิทธิทั้งหมดซึ่งเด็กที่ถูกต้องตามกฎหมายพึงมีแก่เด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ในระบบกฎหมายบางระบบ เป็นไปได้ที่บิดาจะให้{{TextTerm|การยอมรับ|7|610}} หรือ{{TextTerm|การรับรู้|7|610|2}}บุตรที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายของเขา กล่าวคือ ยอมรับในรูปแบบทางกฎหมายว่าตนเป็นบิดาของเด็ก
{{Note|5| {{NoteTerm|Bridal pregnancies}} is also used in this connection.}}
+
{{Note|5| มีการใช้คำว่า{{NoteTerm|ท้องก่อนแต่ง}}ด้วยเช่นกัน}}
{{Note|6| The legal term {{NoteTerm|bastard}} has acquired a derogatory meaning but is occasionally used by historical demographers. According to the law of some countries a child is illegitimate if it results from {{NoteTerm|adulterous relations}} or {{NoteTerm|extra-marital relations}} i.e., a connection between a married woman and a man other than her husband, but such a birth is not always registered as illegitimate. . }}
+
{{Note|6| คำว่า{{NoteTerm|ลูกไม่มีพ่อ}}ก็มีการใช้ด้วยเช่นกัน ตามกฎหมายของบางประเทศ เด็กจะถือว่าไม่ถูกต้องตามกฎหมายถ้าเป็นผลมาจาก{{NoteTerm|ความสัมพันธ์ที่ผิดกฎหมาย}} หรือ {{NoteTerm|ความสัมพันธ์นอกสมรส}} ซึ่งได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างหญิงที่แต่งงานแล้วกับชายที่มิใช่เป็นสามี แต่การเกิดเช่นนั้นอาจไม่จดทะเบียนว่าเป็นเด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเสมอไป }}
  
 
=== 611 ===
 
=== 611 ===
  
Births are also classified by {{TextTerm|birth order|1|611|OtherIndexEntry=order, birth}}, e.g. first births, second births, etc. Birth order is usually determined by considering all {{TextTerm|previous births to the mother|3|611|OtherIndexEntry=mother, previous births to the}}, and sometimes only {{TextTerm|births of the present marriage|2|611|OtherIndexEntry=marriage, birth tof the present}}. Birth order is generally based on live births only, but occasionally late foetal deaths are taken into account as well. A classification of women by {{TextTerm|confinement order|4|611|OtherIndexEntry=order, confinement}} is made in the same way as for births by counting all pregnancies which lasted at least 28 weeks, and reckoning multiple births as one confinement (cf. {{RefNumber|60|3|4}}). Similarly a classification by {{TextTerm|pregnancy order|5|611|OtherIndexEntry=order, pregnancy}} is made by counting all known pregnancies. In medical parlance, a woman is called {{TextTerm|nulligravida|6|611}} if she has never been pregnant; the terms {{TextTerm|primigravida|7|611}} and {{TextTerm|multigravida|8|611}} respectively are used for a woman who is pregnant for the first time or who has been pregnant before. Women are also classified by {{TextTerm|parity|9|611}}, usually on the basis of the number of children born alive, although in biological literature the term refers to the number of confinements, and a woman who has had no confinement at all is said to be a {{TextTerm|nullipara|10|611}} or {{TextTerm|nulliparous|10|611|2}}. Similarly, a woman is termed a {{TextTerm|primipara|11|611}} and deemed to be {{TextTerm|primiparous|11|611|2|IndexEntry=phimiparous}} at her first confinement and a {{TextTerm|multipara|12|611}} or {{TextTerm|multiparous|12|611|2}} at subsequent confinements.
+
การเกิดอาจจำแนกออกตาม{{TextTerm|ลำดับการเกิด|1|611}} เช่น การเกิดลำดับแรก การเกิดลำดับที่สอง ฯลฯ ปรกติลำดับการเกิดกำหนดได้โดยดูจาก{{TextTerm|ลูกคนก่อนๆ ที่เกิดกับแม่|3|611}} และบางครั้งดูเพียง{{TextTerm|ลูกที่เกิดในการแต่งงานครั้งปัจจุบัน|2|611}} โดยทั่วไปลำดับการเกิดจะนับเฉพาะการเกิดมีชีพเท่านั้น แต่บางครั้งก็นับการตายตัวอ่อนระยะหลังเอาไว้ด้วย การจำแนกประเภทของผู้หญิงโดย{{TextTerm|ลำดับการคลอดบุตร|4|611}}ทำได้ในวิธีเดียวกันกับการเกิด โดยการนับครรภ์ทั้งหมดที่มีอายุอย่างน้อย 28 สัปดาห์ และนับการเกิดลูกแฝดเป็น{{NonRefTerm|การคลอดบุตร}} (cf. {{RefNumber|60|3|4}}) ครั้งเดียว ในทำนองเดียวกัน การจำแนกประเภท{{TextTerm|ลำดับการตั้งครรภ์|5|611}}ทำได้โดยการนับการตั้งครรภ์ที่รู้ทั้งหมด ในทางการแพทย์เรียกผู้หญิงว่า {{TextTerm|หญิงไม่เคยตั้งครรภ์|6|611}} ถ้าผู้หญิงคนนั้นไม่เคยตั้งครรภ์มาก่อน ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ท้องแรก|7|611}} และ{{TextTerm|ตั้งครรภ์มาแล้วหลายครั้ง|8|611}} ใช้สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรก และเคยตั้งครรภ์มาก่อนตามลำดับ ยังมีการจำแนกประเภทผู้หญิงออกตาม{{TextTerm|จำนวนบุตร|9|611}} โดยปรกตินับจากจำนวนบุตรที่เกิดมีชีพ แม้ว่าในวรรณกรรมทางชีววิทยา ศัพท์คำนี้จะหมายถึงจำนวนของการคลอดบุตรก็ตาม และผู้หญิงที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อนเลยเรียกว่า {{TextTerm|หญิงไม่เคยคลอดบุตร|10|611}} ในทำนองเดียวกัน ผู้หญิงจะเรียกเป็น {{TextTerm|หญิงคลอดบุตรครั้งแรก|11|611}} เมื่อคลอดบุตรครั้งแรก และเป็น {{TextTerm|หญิงคลอดบุตรมาแล้วหลายครั้ง|12|611}} เมื่อมีการคลอดบุตรครั้งต่อๆ มา
{{Note|1| {{NoteTerm|Higher order births}} are births occurring after the last specified order, e.g. fifth and higher order births.}}
+
{{Note|1| {{NoteTerm|การเกิดลำดับสูงกว่า}}เป็นการเกิดหลังจากการเกิดลำดับสุดท้ายที่ระบุ เช่น การเกิดลำดับที่ห้าและลำดับสูงกว่า }}
{{Note|9| A woman who has not borne any live children is called a {{NoteTerm|zero-parity woman}}, a {{NoteTerm|one-parity woman}} has borne one child but no more, and so on.}}
+
{{Note|9| ผู้หญิงที่ไม่เคยให้กำเนิดบุตรเลยเรียกว่า {{NoteTerm|สตรีลำดับบุตรศูนย์}} {{NoteTerm|สตรีลำดับบุตรหนึ่ง}}หมายถึงสตรีที่ให้กำเนิดบุตร 1 คนและไม่มีบุตรอีกเลย และต่อๆ ไป}}
  
 
=== 612 ===
 
=== 612 ===
  
Studies of {{TextTerm|birth timing|1|612|OtherIndexEntry=timing, birth}} deal with the length of {{TextTerm|birth intervals|2|612|IndexEntry=birth interval|OtherIndexEntry=interval, birth}}. These include the {{TextTerm|interval between marriage and the first birth|3|612|OtherIndexEntry=marriage and the first birth, interval between}} and {{TextTerm|intervals between successive births|4|612|IndexEntry=interval between successive births|OtherIndexEntry=births, interval between successive}}. The interval between a birth and a fixed date, such as that of a {{NonRefTerm|census}} ({{RefNumber|20|2|1}} *) or {{NonRefTerm|survey}} ({{RefNumber|20|3|4}}), is called an {{TextTerm|open birth interval|5|612|OtherIndexEntry=birth interval, open}}; intervals that begin before and end after that date are called {{TextTerm|straddling intervals|6|612|IndexEntry=straddling interval|OtherIndexEntry=interval, straddling}}. The {{TextTerm|interval between marriage and the N<sup>th</sup> birth|7|612|IndexEntry=birth interval between marriage and the Nth birth|OtherIndexEntry=marriage and the nth birth, interval between}} is also used to study the timing of births.
+
การศึกษาเรื่อง{{TextTerm|เวลาการเกิด|1|612}}เกี่ยวข้องกับความยาวนานของ{{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างการเกิด|2|612|IndexEntry=ช่วงห่างระหว่างการเกิด}} ช่วงเวลานี้รวมถึง{{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานและการเกิดบุตรคนแรก|3|612}} และ{{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างการเกิดบุตรคนต่อๆ มา|4|612|IndexEntry=ช่วงห่างระหว่างการเกิดบุตรคนต่อๆ มา}} ช่วงห่างระหว่างการเกิดกับวันเวลาที่กำหนดไว้อย่างเช่นวันเวลาของ{{NonRefTerm|สำมะโน}} ({{RefNumber|20|2|1}} *) หรือของ{{NonRefTerm|การสำรวจ}} ({{RefNumber|20|3|4}}) เรียกว่า{{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างการเกิดเปิด|5|612}} ช่วงห่างที่เริ่มก่อนและจบลงหลังจากวันเวลาที่กำหนดไว้เรียกว่า{{TextTerm|ช่วงคร่อม|6|612|IndexEntry=ช่วงคร่อม}} {{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานกับการเกิดลำดับที่ N|7|612|IndexEntry=ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานกับการเกิดลำดับที่ N}}ก็มีการใช้ในการศึกษาเวลาของการเกิด
{{Note|1| {{NoteTerm|Birth spacing}}, although sometimes found in the sense of birth timing as above, is commonly used to refer to the deliberate efforts of couples to postpone a birth.}}
+
{{Note|1| {{NoteTerm|การเว้นระยะการมีบุตร}} แม้บางครั้งจะมีความหมายของเวลาการเกิดตามที่กล่าวข้างต้น แต่จะใช้คำนี้เพื่อหมายถึงความพยายามของคู่สมรสที่จะเลื่อนเวลาของการมีบุตรออกไป}}
{{Note|3| Also called {{NoteTerm|first birth intervals}}. The {{NoteTerm|second birth interval}} is that between the first and the second birth; and so on.}}
+
{{Note|3| เรียกว่า{{NoteTerm|ช่วงห่างของบุตรคนแรก}}ก็ได้ {{NoteTerm|ช่วงห่างของบุตรคนที่สอง}}คือช่วงเวลาระหว่างการเกิดครั้งแรกและการเกิดครั้งที่สอง และต่อๆ ไป}}
{{Note|4| As seen from the vantage of that census or survey, the intervals between the recorded successive births are called {{NoteTerm|closed birth intervals}}.}}
+
{{Note|4| ดังจะเห็นได้จากข้อมูลของสำมะโนหรือการสำรวจ ช่วงห่างระหว่างการเกิดบุตรคนต่อๆ ไปที่บันทึกไว้จะเรียกว่า{{NoteTerm|ช่วงห่างการเกิดปิด}}}}
  
 
=== 613 ===
 
=== 613 ===
  
In computing the period of {{TextTerm|exposure to the risk of conception|1|613|OtherIndexEntry=conception, exposure to the risk of}} it is necessary to consider {{TextTerm|pregnancy intervals|2|613|IndexEntry=pregnancy interval|OtherIndexEntry=interval, pregnancy}}. The interval between marriage and the first pregnancy is the {{TextTerm|conception delay|3|613|OtherIndexEntry=delay, conception}} or {{TextTerm|first pregnancy interval|3|613|2|OtherIndexEntry=pregnancy interval, first}}. The period between the end of one pregnancy and the beginning of the next is the {{TextTerm|inter-pregnancy interval|4|613|OtherIndexEntry=interval, inter-pregnancy}}. If the time when the woman had no sexual activity is subtracted, a {{TextTerm|net inter-pregnancy interval|5|613|OtherIndexEntry=inter-pregnancy interval, net}} is obtained. The period between the end of the last pregnancy and the date of a survey is called an {{TextTerm|open inter-pregnancy interval|6|613|OtherIndexEntry=inter-pregnancy interval, open}}.
+
ในการคิดระยะเวลาของการ{{TextTerm|เปิดสู่ความเสี่ยงของการปฏิสนธิ|1|613}}จำเป็นต้องพิจารณาถึง{{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างครรภ์|2|613|IndexEntry=ช่วงห่างระหว่างครรภ์}} ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานกับครรภ์แรกเป็น{{TextTerm|การยืดเวลาปฏิสนธิ|3|613}}หรือ{{TextTerm|ช่วงห่างของครรภ์แรก|3|613|2}} ระยะเวลาระหว่างการสิ้นสุดของครรภ์หนึ่งกับการเริ่มต้นของครรภ์ต่อไปเป็น{{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างครรภ์|4|613}} ถ้าลบเวลาเมื่อที่ผู้หญิงไม่มีกิจกรรมทางเพศออกไป ก็จะได้{{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างครรภ์สุทธิ|5|613}} ระยะเวลาระหว่างการสิ้นสุดของครรภ์สุดท้ายกับวันเวลาของการสำรวจเรียกว่า{{TextTerm|ช่วงห่างระหว่างครรภ์เปิด|6|613}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 10:51, 10 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


610

การเกิดจำแนกออกตาม ความถูกต้องตามกฎหมาย1 เด็กที่ถูกต้องตามกฎหมาย2อาจนิยามอย่างเคร่งครัดว่าหมายถึงเด็กที่บิดาและมารดาแต่งงานกันในเวลาที่ปฏิสนธิ แต่ในทางปฏิบัติ การจำแนกเช่นนั้นขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรสของมารดา ณ เวลาของการเกิด หรือ หลังจากการสูญสลายของการแต่งงาน (510-3) ก็ขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรสของมารดา ณ เวลาของการปฏิสนธิ การเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมาย3เป็นการคลอดของเด็กที่ถูกต้องตามกฎหมาย การเกิดอื่นนอกจากนั้นเป็น การเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย4 เป็นสิ่งที่ปฏิบัติกันทั่วไปที่จะพิจารณาว่าเด็กที่เป็นผลมาจาก การปฏิสนธิก่อนแต่งงาน5 หรือ การปฏิสนธิก่อนสมรส5 (ได้แก่การปฏิสนธิที่เกิดขึ้นก่อนการแต่งงาน) เป็นเด็กถูกต้องตามกฎหมายถ้าบิดามารดาของเด็กนั้นแต่งงานกัน ณ เวลาของการเกิด เด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย6 หรือ เด็กเกิดนอกสมรส6อาจ ทำให้ถูกต้องตามกฎหมาย8 หรือ ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย8โดยการแต่งงานของบิดามารดาในเวลาต่อมา กระบวนการของ การทำให้ชอบด้วยกฎหมาย9ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ อาจให้สิทธิทางกฎหมายบางอย่างหรือสิทธิทั้งหมดซึ่งเด็กที่ถูกต้องตามกฎหมายพึงมีแก่เด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ในระบบกฎหมายบางระบบ เป็นไปได้ที่บิดาจะให้ การยอมรับ7 หรือ การรับรู้7บุตรที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายของเขา กล่าวคือ ยอมรับในรูปแบบทางกฎหมายว่าตนเป็นบิดาของเด็ก

  • 5. มีการใช้คำว่าท้องก่อนแต่งด้วยเช่นกัน
  • 6. คำว่าลูกไม่มีพ่อก็มีการใช้ด้วยเช่นกัน ตามกฎหมายของบางประเทศ เด็กจะถือว่าไม่ถูกต้องตามกฎหมายถ้าเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ที่ผิดกฎหมาย หรือ ความสัมพันธ์นอกสมรส ซึ่งได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างหญิงที่แต่งงานแล้วกับชายที่มิใช่เป็นสามี แต่การเกิดเช่นนั้นอาจไม่จดทะเบียนว่าเป็นเด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเสมอไป

611

การเกิดอาจจำแนกออกตาม ลำดับการเกิด1 เช่น การเกิดลำดับแรก การเกิดลำดับที่สอง ฯลฯ ปรกติลำดับการเกิดกำหนดได้โดยดูจาก ลูกคนก่อนๆ ที่เกิดกับแม่3 และบางครั้งดูเพียง ลูกที่เกิดในการแต่งงานครั้งปัจจุบัน2 โดยทั่วไปลำดับการเกิดจะนับเฉพาะการเกิดมีชีพเท่านั้น แต่บางครั้งก็นับการตายตัวอ่อนระยะหลังเอาไว้ด้วย การจำแนกประเภทของผู้หญิงโดย ลำดับการคลอดบุตร4ทำได้ในวิธีเดียวกันกับการเกิด โดยการนับครรภ์ทั้งหมดที่มีอายุอย่างน้อย 28 สัปดาห์ และนับการเกิดลูกแฝดเป็นการคลอดบุตร (cf. 603-4) ครั้งเดียว ในทำนองเดียวกัน การจำแนกประเภท ลำดับการตั้งครรภ์5ทำได้โดยการนับการตั้งครรภ์ที่รู้ทั้งหมด ในทางการแพทย์เรียกผู้หญิงว่า หญิงไม่เคยตั้งครรภ์6 ถ้าผู้หญิงคนนั้นไม่เคยตั้งครรภ์มาก่อน ศัพท์คำว่า ท้องแรก7 และ ตั้งครรภ์มาแล้วหลายครั้ง8 ใช้สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรก และเคยตั้งครรภ์มาก่อนตามลำดับ ยังมีการจำแนกประเภทผู้หญิงออกตาม จำนวนบุตร9 โดยปรกตินับจากจำนวนบุตรที่เกิดมีชีพ แม้ว่าในวรรณกรรมทางชีววิทยา ศัพท์คำนี้จะหมายถึงจำนวนของการคลอดบุตรก็ตาม และผู้หญิงที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อนเลยเรียกว่า หญิงไม่เคยคลอดบุตร10 ในทำนองเดียวกัน ผู้หญิงจะเรียกเป็น หญิงคลอดบุตรครั้งแรก11 เมื่อคลอดบุตรครั้งแรก และเป็น หญิงคลอดบุตรมาแล้วหลายครั้ง12 เมื่อมีการคลอดบุตรครั้งต่อๆ มา

  • 1. การเกิดลำดับสูงกว่าเป็นการเกิดหลังจากการเกิดลำดับสุดท้ายที่ระบุ เช่น การเกิดลำดับที่ห้าและลำดับสูงกว่า
  • 9. ผู้หญิงที่ไม่เคยให้กำเนิดบุตรเลยเรียกว่า สตรีลำดับบุตรศูนย์ สตรีลำดับบุตรหนึ่งหมายถึงสตรีที่ให้กำเนิดบุตร 1 คนและไม่มีบุตรอีกเลย และต่อๆ ไป

612

การศึกษาเรื่อง เวลาการเกิด1เกี่ยวข้องกับความยาวนานของ ช่วงห่างระหว่างการเกิด2 ช่วงเวลานี้รวมถึง ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานและการเกิดบุตรคนแรก3 และ ช่วงห่างระหว่างการเกิดบุตรคนต่อๆ มา4 ช่วงห่างระหว่างการเกิดกับวันเวลาที่กำหนดไว้อย่างเช่นวันเวลาของสำมะโน (202-1 *) หรือของการสำรวจ (203-4) เรียกว่า ช่วงห่างระหว่างการเกิดเปิด5 ช่วงห่างที่เริ่มก่อนและจบลงหลังจากวันเวลาที่กำหนดไว้เรียกว่า ช่วงคร่อม6 ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานกับการเกิดลำดับที่ N7ก็มีการใช้ในการศึกษาเวลาของการเกิด

  • 1. การเว้นระยะการมีบุตร แม้บางครั้งจะมีความหมายของเวลาการเกิดตามที่กล่าวข้างต้น แต่จะใช้คำนี้เพื่อหมายถึงความพยายามของคู่สมรสที่จะเลื่อนเวลาของการมีบุตรออกไป
  • 3. เรียกว่าช่วงห่างของบุตรคนแรกก็ได้ ช่วงห่างของบุตรคนที่สองคือช่วงเวลาระหว่างการเกิดครั้งแรกและการเกิดครั้งที่สอง และต่อๆ ไป
  • 4. ดังจะเห็นได้จากข้อมูลของสำมะโนหรือการสำรวจ ช่วงห่างระหว่างการเกิดบุตรคนต่อๆ ไปที่บันทึกไว้จะเรียกว่าช่วงห่างการเกิดปิด

613

ในการคิดระยะเวลาของการ เปิดสู่ความเสี่ยงของการปฏิสนธิ1จำเป็นต้องพิจารณาถึง ช่วงห่างระหว่างครรภ์2 ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานกับครรภ์แรกเป็น การยืดเวลาปฏิสนธิ3หรือ ช่วงห่างของครรภ์แรก3 ระยะเวลาระหว่างการสิ้นสุดของครรภ์หนึ่งกับการเริ่มต้นของครรภ์ต่อไปเป็น ช่วงห่างระหว่างครรภ์4 ถ้าลบเวลาเมื่อที่ผู้หญิงไม่มีกิจกรรมทางเพศออกไป ก็จะได้ ช่วงห่างระหว่างครรภ์สุทธิ5 ระยะเวลาระหว่างการสิ้นสุดของครรภ์สุดท้ายกับวันเวลาของการสำรวจเรียกว่า ช่วงห่างระหว่างครรภ์เปิด6

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=61&oldid=411"