The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "61"

จาก Demopædia
(610)
(611)
แถว 14: แถว 14:
 
=== 611 ===
 
=== 611 ===
  
การเกิดอาจจำแนกออกตาม{{TextTerm|ลำดับการเกิด|1|611}} เช่น การเกิดลำดับแรก การเกิดลำดับที่สอง ฯลฯ ปรกติลำดับการเกิดกำหนดได้โดยดูจาก{{TextTerm|การเกิดลูกก่อนๆ ของแม่|3|611}} และบางครั้งดูเพียง{{TextTerm|การเกิดของการแต่งงานครั้งที่เป็นอยู่|2|611}} โดยทั่วไปลำดับการเกิดจะนับเฉพาะการเกิดมีชีพเท่านั้น แต่บางครั้งก็นับการตายตัวอ่อนระยะหลังเอาไว้ด้วย การจำแนกประเภทของผู้หญิงโดย{{TextTerm|ลำดับการคลอดบุตร|4|611}}ทำได้ในวิธีเดียวกันกับการเกิด โดยการนับครรภ์ทั้งหมดที่อยู่เป็นอย่างน้อย 28 สัปดาห์ และนับการเกิดลูกแฝดเป็น{{NonRefTerm|การคลอดบุตร}} (cf. {{RefNumber|60|3|4}}) ครั้งเดียว ในทำนองเดียวกัน การจำแนกประเภท{{TextTerm|ลำดับการตั้งครรภ์|5|611}}ทำได้โดยการนับการตั้งครรภ์ที่รู้ทั้งหมด ในทางการแพทย์เรียกผู้หญิงว่า {{TextTerm|nulligravida|6|611}} ถ้าผู้หญิงคนนั้นไม่เคยตั้งครรภ์มาก่อน ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ท้องแรก|7|611}} และ{{TextTerm|multigravida|8|611}} ใช้สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรก และเคยตั้งครรภ์มาก่อนตามลำดับ ยังมีการจำแนกประเภทผู้หญิงออกตาม{{TextTerm|จำนวนบุตร|9|611}} โดยปรกตินับจากจำนวนบุตรที่เกิดมีชีพ แม้ว่าในวรรณกรรมทางชีววิทยา ศัพท์คำนี้จะหมายถึงจำนวนของการคลอดบุตรก็ตาม และผู้หญิงที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อนเลยเรียกว่า {{TextTerm|nullipara|10|611}} หรือ {{TextTerm|nulliparous|10|611|2}} ในทำนองเดียวกัน ผู้หญิงจะเรียกเป็น {{TextTerm|primipara|11|611}} และเชื่อว่าเป็น {{TextTerm|primiparous|11|611|2|IndexEntry=phimiparous}} เมื่อคลอดบุตรครั้งแรก และเป็น {{TextTerm|multipara|12|611}} หรือ {{TextTerm|multiparous|12|611|2}} เมื่อมีการคลอดบุตรครั้งต่อๆ มา
+
การเกิดอาจจำแนกออกตาม{{TextTerm|ลำดับการเกิด|1|611}} เช่น การเกิดลำดับแรก การเกิดลำดับที่สอง ฯลฯ ปรกติลำดับการเกิดกำหนดได้โดยดูจาก{{TextTerm|ลูกคนก่อนๆ ที่เกิดกับแม่|3|611}} และบางครั้งดูเพียง{{TextTerm|ลูกที่เกิดในการแต่งงานครั้งปัจจุบัน|2|611}} โดยทั่วไปลำดับการเกิดจะนับเฉพาะการเกิดมีชีพเท่านั้น แต่บางครั้งก็นับการตายตัวอ่อนระยะหลังเอาไว้ด้วย การจำแนกประเภทของผู้หญิงโดย{{TextTerm|ลำดับการคลอดบุตร|4|611}}ทำได้ในวิธีเดียวกันกับการเกิด โดยการนับครรภ์ทั้งหมดที่มีอายุอย่างน้อย 28 สัปดาห์ และนับการเกิดลูกแฝดเป็น{{NonRefTerm|การคลอดบุตร}} (cf. {{RefNumber|60|3|4}}) ครั้งเดียว ในทำนองเดียวกัน การจำแนกประเภท{{TextTerm|ลำดับการตั้งครรภ์|5|611}}ทำได้โดยการนับการตั้งครรภ์ที่รู้ทั้งหมด ในทางการแพทย์เรียกผู้หญิงว่า {{TextTerm|หญิงไม่เคยตั้งครรภ์|6|611}} ถ้าผู้หญิงคนนั้นไม่เคยตั้งครรภ์มาก่อน ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ท้องแรก|7|611}} และ{{TextTerm|ตั้งครรภ์มาแล้วหลายครั้ง|8|611}} ใช้สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรก และเคยตั้งครรภ์มาก่อนตามลำดับ ยังมีการจำแนกประเภทผู้หญิงออกตาม{{TextTerm|จำนวนบุตร|9|611}} โดยปรกตินับจากจำนวนบุตรที่เกิดมีชีพ แม้ว่าในวรรณกรรมทางชีววิทยา ศัพท์คำนี้จะหมายถึงจำนวนของการคลอดบุตรก็ตาม และผู้หญิงที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อนเลยเรียกว่า {{TextTerm|หญิงไม่เคยคลอดบุตร|10|611}} ในทำนองเดียวกัน ผู้หญิงจะเรียกเป็น {{TextTerm|หญิงคลอดบุตรครั้งแรก|11|611}} เมื่อคลอดบุตรครั้งแรก และเป็น {{TextTerm|หญิงคลอดบุตรมาแล้วหลายครั้ง|12|611}} เมื่อมีการคลอดบุตรครั้งต่อๆ มา
 
{{Note|1| {{NoteTerm|การเกิดลำดับสูงกว่า}}เป็นการเกิดหลังจากการเกิดลำดับสุดท้ายที่ระบุ เช่น การเกิดลำดับที่ห้าและลำดับสูงกว่า }}
 
{{Note|1| {{NoteTerm|การเกิดลำดับสูงกว่า}}เป็นการเกิดหลังจากการเกิดลำดับสุดท้ายที่ระบุ เช่น การเกิดลำดับที่ห้าและลำดับสูงกว่า }}
{{Note|9| A woman who has not borne any live children is called a {{NoteTerm|zero-parity woman}}, a {{NoteTerm|one-parity woman}} has borne one child but no more, and so on.}}
+
{{Note|9| ผู้หญิงที่ไม่เคยให้กำเนิดบุตรเลยเรียกว่า {{NoteTerm|สตรีลำดับบุตรศูนย์}} {{NoteTerm|สตรีลำดับบุตรหนึ่ง}}หมายถึงสตรีที่ให้กำเนิดบุตร 1 คนและไม่มีบุตรอีกเลย และต่อๆ ไป}}
  
 
=== 612 ===
 
=== 612 ===

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 10:46, 10 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


610

การเกิดจำแนกออกตาม ความถูกต้องตามกฎหมาย1 เด็กที่ถูกต้องตามกฎหมาย2อาจนิยามอย่างเคร่งครัดว่าหมายถึงเด็กที่บิดาและมารดาแต่งงานกันในเวลาที่ปฏิสนธิ แต่ในทางปฏิบัติ การจำแนกเช่นนั้นขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรสของมารดา ณ เวลาของการเกิด หรือ หลังจากการสูญสลายของการแต่งงาน (510-3) ก็ขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรสของมารดา ณ เวลาของการปฏิสนธิ การเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมาย3เป็นการคลอดของเด็กที่ถูกต้องตามกฎหมาย การเกิดอื่นนอกจากนั้นเป็น การเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย4 เป็นสิ่งที่ปฏิบัติกันทั่วไปที่จะพิจารณาว่าเด็กที่เป็นผลมาจาก การปฏิสนธิก่อนแต่งงาน5 หรือ การปฏิสนธิก่อนสมรส5 (ได้แก่การปฏิสนธิที่เกิดขึ้นก่อนการแต่งงาน) เป็นเด็กถูกต้องตามกฎหมายถ้าบิดามารดาของเด็กนั้นแต่งงานกัน ณ เวลาของการเกิด เด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย6 หรือ เด็กเกิดนอกสมรส6อาจ ทำให้ถูกต้องตามกฎหมาย8 หรือ ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย8โดยการแต่งงานของบิดามารดาในเวลาต่อมา กระบวนการของ การทำให้ชอบด้วยกฎหมาย9ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ อาจให้สิทธิทางกฎหมายบางอย่างหรือสิทธิทั้งหมดซึ่งเด็กที่ถูกต้องตามกฎหมายพึงมีแก่เด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ในระบบกฎหมายบางระบบ เป็นไปได้ที่บิดาจะให้ การยอมรับ7 หรือ การรับรู้7บุตรที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายของเขา กล่าวคือ ยอมรับในรูปแบบทางกฎหมายว่าตนเป็นบิดาของเด็ก

  • 5. มีการใช้คำว่าท้องก่อนแต่งด้วยเช่นกัน
  • 6. คำว่าลูกไม่มีพ่อก็มีการใช้ด้วยเช่นกัน ตามกฎหมายของบางประเทศ เด็กจะถือว่าไม่ถูกต้องตามกฎหมายถ้าเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ที่ผิดกฎหมาย หรือ ความสัมพันธ์นอกสมรส ซึ่งได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างหญิงที่แต่งงานแล้วกับชายที่มิใช่เป็นสามี แต่การเกิดเช่นนั้นอาจไม่จดทะเบียนว่าเป็นเด็กที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเสมอไป

611

การเกิดอาจจำแนกออกตาม ลำดับการเกิด1 เช่น การเกิดลำดับแรก การเกิดลำดับที่สอง ฯลฯ ปรกติลำดับการเกิดกำหนดได้โดยดูจาก ลูกคนก่อนๆ ที่เกิดกับแม่3 และบางครั้งดูเพียง ลูกที่เกิดในการแต่งงานครั้งปัจจุบัน2 โดยทั่วไปลำดับการเกิดจะนับเฉพาะการเกิดมีชีพเท่านั้น แต่บางครั้งก็นับการตายตัวอ่อนระยะหลังเอาไว้ด้วย การจำแนกประเภทของผู้หญิงโดย ลำดับการคลอดบุตร4ทำได้ในวิธีเดียวกันกับการเกิด โดยการนับครรภ์ทั้งหมดที่มีอายุอย่างน้อย 28 สัปดาห์ และนับการเกิดลูกแฝดเป็นการคลอดบุตร (cf. 603-4) ครั้งเดียว ในทำนองเดียวกัน การจำแนกประเภท ลำดับการตั้งครรภ์5ทำได้โดยการนับการตั้งครรภ์ที่รู้ทั้งหมด ในทางการแพทย์เรียกผู้หญิงว่า หญิงไม่เคยตั้งครรภ์6 ถ้าผู้หญิงคนนั้นไม่เคยตั้งครรภ์มาก่อน ศัพท์คำว่า ท้องแรก7 และ ตั้งครรภ์มาแล้วหลายครั้ง8 ใช้สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรก และเคยตั้งครรภ์มาก่อนตามลำดับ ยังมีการจำแนกประเภทผู้หญิงออกตาม จำนวนบุตร9 โดยปรกตินับจากจำนวนบุตรที่เกิดมีชีพ แม้ว่าในวรรณกรรมทางชีววิทยา ศัพท์คำนี้จะหมายถึงจำนวนของการคลอดบุตรก็ตาม และผู้หญิงที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อนเลยเรียกว่า หญิงไม่เคยคลอดบุตร10 ในทำนองเดียวกัน ผู้หญิงจะเรียกเป็น หญิงคลอดบุตรครั้งแรก11 เมื่อคลอดบุตรครั้งแรก และเป็น หญิงคลอดบุตรมาแล้วหลายครั้ง12 เมื่อมีการคลอดบุตรครั้งต่อๆ มา

  • 1. การเกิดลำดับสูงกว่าเป็นการเกิดหลังจากการเกิดลำดับสุดท้ายที่ระบุ เช่น การเกิดลำดับที่ห้าและลำดับสูงกว่า
  • 9. ผู้หญิงที่ไม่เคยให้กำเนิดบุตรเลยเรียกว่า สตรีลำดับบุตรศูนย์ สตรีลำดับบุตรหนึ่งหมายถึงสตรีที่ให้กำเนิดบุตร 1 คนและไม่มีบุตรอีกเลย และต่อๆ ไป

612

การศึกษาเรื่อง เวลาการเกิด1เกี่ยวข้องกับความยาวนานของ ช่วงห่างระหว่างการเกิด2 ช่วงเวลานี้รวมถึง ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานและการเกิดบุตรคนแรก3 และ ช่วงห่างระหว่างการเกิดบุตรคนต่อๆ มา4 ช่วงห่างระหว่างการเกิดกับวันเวลาที่กำหนดไว้อย่างเช่นวันเวลาของสำมะโน (202-1 *) หรือของการสำรวจ (203-4) เรียกว่า ช่วงห่างระหว่างการเกิดเปิด5 ช่วงห่างที่เริ่มก่อนและจบลงหลังจากวันเวลาที่กำหนดไว้เรียกว่า ช่วงคร่อม6 ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานกับการเกิดลำดับที่ N7ก็มีการใช้ในการศึกษาเวลาของการเกิด

  • 1. Birth spacing, although sometimes found in the sense of birth timing as above, is commonly used to refer to the deliberate efforts of couples to postpone a birth.
  • 3. Also called first birth intervals. The second birth interval is that between the first and the second birth; and so on.
  • 4. As seen from the vantage of that census or survey, the intervals between the recorded successive births are called closed birth intervals.

613

ในการคิดระยะเวลาของการ เปิดสู่ความเสี่ยงของการปฏิสนธิ1จำเป็นต้องพิจารณาถึง ช่วงห่างระหว่างครรภ์2 ช่วงห่างระหว่างการแต่งงานกับครรภ์แรกเป็น การยืดเวลาปฏิสนธิ3หรือ ช่วงห่างของครรภ์แรก3 ระยะเวลาระหว่างการสิ้นสุดของครรภ์หนึ่งกับการเริ่มต้นของครรภ์ต่อไปเป็น ช่วงห่างระหว่างครรภ์4 ถ้าเวลาเมื่อผู้หญิงไม่มีกิจกรรมทางเพศถูกลบออกไป ก็จะได้ ช่วงห่างระหว่างครรภ์สุทธิ5 ระยะเวลาระหว่างการสิ้นสุดของครรภ์สุดท้ายกับวันเวลาของการสำรวจเรียกว่า ช่วงห่างระหว่างครรภ์เปิด6

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=61&oldid=409"