The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "60"

จาก Demopædia
(602)
(603: Syntax error)
 
(ไม่แสดง 22 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 601 ===
 
=== 601 ===
  
การศึกษาทางประชากรศาสตร์เรื่อง{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์|1|601}}เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ที่เชื่อมกับ{{TextTerm|การมีบุตร|2|601}}หรือ{{TextTerm|การสืบทอดพันธุ์|2|601|2}}ของมนุษย์ คำว่า{{TextTerm|ภาวะการเกิด|1|601|2}}บางครั้งใช้แทนคำว่าภาวะเจริญพันธุ์ ศัพท์ทั้งสองคำนี้หมายถึงความถี่ของการเกิดขึ้นของ{{TextTerm|การเกิด|3|601|IndexEntry=การเกิด}} หรือกล่าให้เจาะจงลงไปคือ{{TextTerm|การเกิดมีชีพ|4|601|IndexEntry=การเกิดมีชีพ}} — ภายในประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อย การเกิดเป็นกระบวนการของการคลอดบุตร การเกิดมีชีพหรือการเกิดของ{{TextTerm|เด็กเกิดมีชีพ|5|601|IndexEntry=เด็กเกิดมีชีพ}}แตกต่างจาก{{NonRefTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง}} (cf. {{RefNumber|41|1|5}}) โดยหลักฐานของการมีชีวิตอย่างเช่นการหายใจ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ หรือการเต้นของหัวใจของเด็กหลังจากการคลอดหรือการขับออก ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพ|6|601}} ซึ่งครั้งหนึ่งเคยใช้เพื่อชี้ว่าการตายตัวอ่อนระยะหลังไม่ได้ถูกนับรวมไว้ในจำนวนรวมของการเกิด หมายถึงการเกิดซึ่งไม่รวมการตายของทารกหรือเด็กเข้าไว้ด้วย คำว่า{{NewTextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์อย่างหยาบ|6|601}}ควรหมายถึงการเกิดทั้งหมดที่รวม "ตายคลอด" หรือการตายตัวอ่อน คำว่า{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ที่แตกต่าง|8|601}}แสดงดึงความแตกต่างของภาวะเจริญพันธุ์ระหว่างกลุ่มย่อยๆ ของประชากร
+
การศึกษาทางประชากรศาสตร์เรื่อง{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์|1|601}}เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ที่เชื่อมกับ{{TextTerm|การมีบุตร|2|601}}หรือ{{TextTerm|การสืบทอดพันธุ์|2|601|2}}ของมนุษย์ คำว่า{{TextTerm|ภาวะการเกิด|1|601|2}}บางครั้งใช้แทนคำว่าภาวะเจริญพันธุ์ ศัพท์ทั้งสองคำนี้หมายถึงความถี่ของการเกิดขึ้นของ{{TextTerm|การเกิด|3|601|IndexEntry=การเกิด}} หรือกล่าวให้เจาะจงลงไปคือ{{TextTerm|การเกิดมีชีพ|4|601|IndexEntry=การเกิดมีชีพ}} — ภายในประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อย การเกิดเป็นกระบวนการของการคลอดบุตร การเกิดมีชีพหรือการเกิดของ{{TextTerm|เด็กเกิดมีชีพ|5|601|IndexEntry=เด็กเกิดมีชีพ}}แตกต่างจาก{{NonRefTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง}} (cf. {{RefNumber|41|1|5}}) โดยหลักฐานของการมีชีวิตอย่างเช่นการหายใจ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ หรือการเต้นของหัวใจของเด็กหลังจากการคลอดหรือการขับออก ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพ|6|601}} ซึ่งครั้งหนึ่งเคยใช้เพื่อชี้ว่าการตายตัวอ่อนระยะหลังไม่ได้ถูกนับรวมไว้ในจำนวนรวมของการเกิด หมายถึงการเกิดซึ่งไม่รวมการตายของทารกหรือเด็กเข้าไว้ด้วย คำว่า {{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์อย่างหยาบ|7|601}}ควรหมายถึงการเกิดทั้งหมดที่รวม "ตายคลอด" ({{RefNumber|41|1|5}}) หรือการตายตัวอ่อนเข้าไว้ด้วย คำว่า{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ที่แตกต่าง|8|601}}แสดงดึงความแตกต่างของภาวะเจริญพันธุ์ระหว่างกลุ่มย่อยๆ ของประชากร
 +
{{Note|1| ความหมายของคำว่าภาวะเจริญพันธุ์ในประชากรศาสตร์ ให้ดู § 623}}
 
{{Note|2| บ่อยครั้งที่การสืบทอดพันธุ์หมายถึงความสมดุลย์ของการเกิดและการตาย (เช่นใน § 711) มากกว่าที่จะเป็นกระบวนการของการมีบุตรหรือ{{NoteTerm|การให้กำเนิด}}}}
 
{{Note|2| บ่อยครั้งที่การสืบทอดพันธุ์หมายถึงความสมดุลย์ของการเกิดและการตาย (เช่นใน § 711) มากกว่าที่จะเป็นกระบวนการของการมีบุตรหรือ{{NoteTerm|การให้กำเนิด}}}}
 
{{Note|3| คำว่า{{NoteTerm|การเกิด}}ปัจจุบันใช้กันโดยทั่วไปว่าหมายถึงการเกิดมีชีพ}}
 
{{Note|3| คำว่า{{NoteTerm|การเกิด}}ปัจจุบันใช้กันโดยทั่วไปว่าหมายถึงการเกิดมีชีพ}}
 +
{{Note|4| {{NoteTerm|เกิดมีชีพ}} ใช้เป็นคำนามเพื่อหมายถึงทารกเกิดมีชีพด้วย }}
  
 
=== 602 ===
 
=== 602 ===
  
{{TextTerm|การปฏิสนธิ|1|602}}เป็นผลจาก{{TextTerm|การผสมพันธุ์|2|602}}ของ{{TextTerm|ไข่|3|602}}โดย{{TextTerm|สเปิร์ม|4|602|OtherIndexEntry=อสุจิ}} หรือ{{TextTerm|เซลล์สเปิร์ม|4|602|2}} และขีดเส้นเริ่มต้นของ{{TextTerm|การตั้งครรภ์|5|602}} หรือ{{TextTerm|การครองครรภ์|5|602|2}}สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ได้ ในช่วงเวลาของพัฒนาการ{{TextTerm|ผลิตผลของการปฏิสนธิ|6|602}}จะเรียกว่า{{TextTerm|ตัวอ่อน|7|602|OtherIndexEntry=เอมบริโอ}} แล้วต่อมาเรียก{{TextTerm|ตัวอ่อนระยะหลัง|7|602|2}} — ซึ่งบางครั้งเขียนว่า{{TextTerm|fetus|7|602|3}} ขณะเวลาที่ตัวอ่อนกลายเป็นตัวอ่อนระยะหลังไม่มีการกำหนดไว้แน่นอนว่าเมื่อไร นักวิทยาศาสตร์บางคนให้ค่าไว้ที่เมื่อสิ้นสุด 12 สัปดาห์ หรือ 3 เดือนของชีวิตในมดลูก แม้ว่าขั้นตอนพัฒนาการต่อมาหลังจากสัปดาห์ที่ 8 ก็มักเรียกว่าตัวอ่อนระยะหลังหลังอยู่บ่อยๆ {{TextTerm|การฝังตัวของไข่|8|602}}หมายถึงการฝังตัวของไข่ในผนังของ{{TextTerm|มดลูก|9|602}} หรือ{{TextTerm|ครรภ์|9|602|2}}ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น 2-3 วันหลังจากการผสมพันธุ์
+
{{TextTerm|การปฏิสนธิ|1|602}}เป็นผลจาก{{TextTerm|การผสมพันธุ์|2|602}}ของ{{TextTerm|ไข่|3|602}}โดย{{TextTerm|สเปิร์ม|4|602|OtherIndexEntry=อสุจิ}} หรือ{{TextTerm|เซลล์สเปิร์ม|4|602|2}} และขีดเส้นเริ่มต้นของ{{TextTerm|การตั้งครรภ์|5|602}} หรือ{{TextTerm|การครองครรภ์|5|602|2}}สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ได้ ในช่วงเวลาของพัฒนาการ{{TextTerm|ผลิตผลของการปฏิสนธิ|6|602}}จะเรียกว่า{{TextTerm|ตัวอ่อน|7|602|OtherIndexEntry=เอมบริโอ}} แล้วต่อมาเรียก{{TextTerm|ตัวอ่อนระยะหลัง|7|602|2}} ขณะเวลาที่ตัวอ่อนกลายเป็นตัวอ่อนระยะหลังไม่มีการกำหนดไว้แน่นอนว่าเมื่อไร นักวิทยาศาสตร์บางคนให้ค่าไว้ที่เมื่อสิ้นสุด 12 สัปดาห์ หรือ 3 เดือนของชีวิตในมดลูก แม้ว่าขั้นตอนพัฒนาการต่อมาหลังจากสัปดาห์ที่ 8 ก็มักเรียกว่าตัวอ่อนระยะหลังหลังอยู่บ่อยๆ {{TextTerm|การฝังตัวของไข่|8|602}}หมายถึงการฝังตัวของไข่ในผนังของ{{TextTerm|มดลูก|9|602}} หรือ{{TextTerm|ครรภ์|9|602|2}}ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น 2-3 วันหลังจากการผสมพันธุ์
{{Note|2| {{NoteTerm|Fertilization}}, n. - {{NoteTerm|fertilize}}, v.<br />{{NoteTerm|Artificial fertilization}}: fertilization obtained by {{NoteTerm|artificial insemination}}, i.e. by a process other than {{NonRefTerm|coitus}} ({{RefNumber|62|7|2}}).}}
+
{{Note|2| {{NoteTerm|การผสมเทียม}}: การผสมพันธุ์ซึ่งทำโดยการ{{NoteTerm|ฉีดเชื้อเทียม}}ด้วยกระบวนการนอกเหนือไปจากการมี{{NonRefTerm|เพศสัมพันธุ์}} ({{RefNumber|62|7|2}}).}}
 
{{Note|3| ไข่ที่ถูกผสมแล้วเรียกว่า{{NoteTerm|ไซโกต}} }}
 
{{Note|3| ไข่ที่ถูกผสมแล้วเรียกว่า{{NoteTerm|ไซโกต}} }}
 
{{Note|5| นักวิทยาศาสตร์บางคนพิจารณาว่าการตั้งครรภ์เริ่มขึ้นเมื่อเวลาของ{{NonRefTerm|การฝังตัว}} ({{RefNumber|60|2|8}})ของไข่}}
 
{{Note|5| นักวิทยาศาสตร์บางคนพิจารณาว่าการตั้งครรภ์เริ่มขึ้นเมื่อเวลาของ{{NonRefTerm|การฝังตัว}} ({{RefNumber|60|2|8}})ของไข่}}
{{Note|7| {{NoteTerm|Embryology}}: ศาสตร์ที่เกี่ยวกับพัฒนาการของตัวอ่อน
+
{{Note|7| {{NoteTerm|Embryology}}: ศาสตร์ที่เกี่ยวกับพัฒนาการของตัวอ่อน}}
  
 
=== 603 ===
 
=== 603 ===
  
A foetus is said to be {{TextTerm|non-viable|2|603}} during the first part of a pregnancy and {{TextTerm|viable|1|603}} thereafter. The change occurs when the foetus becomes capable of independent existence outside its mother, which is commonly considered to take place when the {{TextTerm|period of gestation|3|603|OtherIndexEntry=gestation, period of}} or {{TextTerm|duration of pregnancy|3|603|2|OtherIndexEntry=pregnancy duration}} has exceeded 28 weeks. If the pregnancy has lasted longer than this, the expulsion of the foetus (alive or dead) takes place during {{TextTerm|confinement|4|603}}; an earlier explusion associated with an early foetal death is called an {{TextTerm|abortion|5|603}} (cf. § {{NoteTerm|604)}}. The period of about six weeks after delivery (during which the uterus usually regains its normal size and in which the probability of conception is low) is called the {{TextTerm|puerperium|6|603}}.
+
กล่าวได้ว่าตัวอ่อน{{TextTerm|ไม่มีชีวิต|2|603}}ในช่วงแรกๆ ของการตั้งครรภ์และจะ{{TextTerm|มีชีวิต|1|603}}หลังจากนั้น การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเมื่อตัวอ่อนเริ่มมีความสามารถที่จะอยู่ได้โดยอิสระนอกครรภ์มารดา ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อ{{TextTerm|ระยะเวลาการครองครรภ์|3|603}} หรือ{{TextTerm|ช่วงเวลาของการตั้งครรภ์|3|603|2}}เกินกว่า 28 สัปดาห์ ถ้าการตั้งครรภ์ยาวนานกว่านี้ การขับตัวอ่อนออก (มีชีพหรือตาย) เกิดขึ้นในช่วงของ{{TextTerm|การคลอดบุตร|4|603}} การขับตัวอ่อนออกก่อนโดยสัมพันธ์กับการตายตัวอ่อนระยะแรกเรียกว่า{{TextTerm|การแท้ง|5|603}} (cf. § 604) ระยะเวลาประมาณ 6 สัปดาห์หลังจากการคลอด (ในช่วงที่มดลูกปรกติจะกลับคืนสู่ขนาดเดิมและเป็นช่วงที่ความน่าจะเป็นของการปฏิสนธิต่ำ) เรียกว่า{{TextTerm|ช่วงหลังคลอด|6|603}}
{{Note|1| {{NoteTerm|Viable}}, adj. - {{NoteTerm|viability}}, n.}}
+
{{Note|2| ช่วงเวลาขั้นต่ำที่กำหนดการมีชีวิตอยู่นั้นแตกต่างกันระหว่าง 20 และ 28 สัปดาห์ ในแต่ละประเทศ แต่องค์การอนามัยโลกได้แนะนำให้ใช้ 28 สัปดาห์เป็นมาตรฐาน โดยทั่วไป ช่วงเวลาของการตั้งครรภ์คำนวณจากวันแรกของ{{NoteTerm|ประจำเดือนครั้งสุดท้าย}} ช่วงเวลานี้ประกอบขึ้นเป็น{{NoteTerm|ช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ตามปรกติธรรมดา}} ซึ่งตรงข้ามกับ{{NoteTerm|ช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ที่แท้จริง}}ที่คำนวณจากระยะเวลาปฏิสนธิ}}
{{Note|2| The minimum period determining viability varies between 20 and 28 weeks among countries, but the World Health Organization has recommended that 28 weeks be the standard time period. Generally the duration of pregnancy is computed from the onset of the {{NoteTerm|last menses}}. This constitutes the {{NoteTerm|conventional duration of pregnancy}}, as opposed to the {{NoteTerm|true duration of pregnancy}}, computed from the time of conception.}}
+
{{Note|4| กระบวนการขับตัวอ่อนระยะหลังออกจากครรภ์เรียกว่า{{NoteTerm|การคลอด}} หรือ{{NoteTerm|การให้กำเนิด}} ซึ่งเป็นการสิ้นสุดของ{{NoteTerm|ระยะเวลาของการคลอดลูก}} {{NoteTerm|การคลอดบุตร}}จะหมายรวมถึงการขับดันหรือเอา{{NoteTerm|รก}} หรือ{{NoteTerm|สิ่งหลังคลอด}}ออก }}
{{Note|4| The actual process of expulsion of the foetus is called {{NoteTerm|delivery}} or {{NoteTerm|parturition}}, which is the termination of {{NoteTerm|labor}}. In addition to those, {{NoteTerm|confinement}} includes expulsion or removal of the {{NoteTerm|placenta}} or {{NoteTerm|afterbirth}}.}}
+
{{Note|5| {{NoteTerm|คนทำแท้ง}} คือบุคคลที่ประกอบการทำแท้ง ในภาษาพูดประจำวัน คำว่า{{NonRefTerm|การแท้ง}}มักจะหมายถึง{{NonRefTerm|การทำแท้ง}} ({{RefNumber|60|4|2}}) มากกว่าที่หมายความว่า{{NonRefTerm|การแท้งเอง}} ({{RefNumber|60|4|1}})}}
{{Note|5| {{NoteTerm|Abortion}}, n. - {{NoteTerm|abort}}, v.t. or v.i. - {{NoteTerm|abortifacient}}, adj. used as n.: capable of inducing abortion. - {{NoteTerm|abortionist}}, n.: a person who performs abortions. In everyday language, the term {{NonRefTerm|abortion}} often takes the meaning of {{NonRefTerm|induced abortion}} ({{RefNumber|60|4|2}}), as opposed to {{NonRefTerm|spontaneous abortion}} ({{RefNumber|60|4|1}}).}}
 
{{Note|6| {{NoteTerm|Puerperium}}, n. - {{NoteTerm|puerperal}}, adj. (cf. {{RefNumber|42|4|4}}).}}
 
  
 
=== 604 ===
 
=== 604 ===
  
Abortions following a non-induced infra-uterine death, which may have occurred some time before expulsion, are called {{TextTerm|spontaneous abortions|1|604|IndexEntry=spontaneous abortion|OtherIndexEntry=abortion, spontaneous}} or {{TextTerm|miscarriages|1|604|2|IndexEntry=miscarriage}}, in contrast to {{TextTerm|intentional abortions|2|604|IndexEntry=intentional abortion|OtherIndexEntry=abortion, intentional}}, or {{TextTerm|induced abortions|2|604|2|IndexEntry=induced abortion|OtherIndexEntry=abortion, induced}}. A {{TextTerm|therapeutic abortion|3|604|OtherIndexEntry=abortion, therapeutic}} is one undertaken for medical reasons. The laws of certain countries permit abortions for health or other reasons; these are {{TextTerm|legal abortions|4|604|IndexEntry=legal abortion|OtherIndexEntry=abortion, legal}}. Abortions which are induced contrary to law are called {{TextTerm|illegal abortions|5|604|IndexEntry=illegal abortion|OtherIndexEntry=abortion, illegal}} or {{TextTerm|criminal abortions|5|604|2|IndexEntry=criminal abortion|OtherIndexEntry=abortion, criminal}}. According to the technique used, there are {{TextTerm|abortions by curettage|6|604|IndexEntry=abortion by cutterage|OtherIndexEntry=curettage, abortion by}}, {{TextTerm|abortions by vacuum aspiration|7|604|IndexEntry=abortion by vacuum aspiration|OtherIndexEntry=vacuum aspiration, abortion by}}, {{TextTerm|abortions by dilatation and evacuation|7|604|2|IndexEntry=abortion by dilatation and evacuation|OtherIndexEntry=dilatation and evacuation, abortion by}}, {{TextTerm|hysterotomies|8|604|IndexEntry=hysterotomy}} (involving surgical cutting into the uterus), and {{TextTerm|abortions by medical induction procedures|9|604|IndexEntry=abortion by medical induction procedure|OtherIndexEntry=medical induction procedure, abortion by}}.
+
การแท้งจากการตายภายในมดลูกโดยไม่มีการกระทำให้เกิดขึ้น ซึ่งอาจเกิดขึ้นเมื่อก่อนการขับออกมาก เรียกว่า{{TextTerm|การแท้งเอง|1|604|IndexEntry=การแท้งเอง}}หรือ{{TextTerm|การแท้งโดยธรรมชาติ|1|604|2|IndexEntry=การแท้งโดยธรรมชาติ}} ตรงข้ามกับ{{TextTerm|การแท้งโดยตั้งใจ|2|604|IndexEntry=การแท้งโดยตั้งใจ}} หรือ{{TextTerm|การทำแท้ง|2|604|2|IndexEntry=การทำแท้ง}} {{TextTerm|การแท้งเพื่อการบำบัดรักษา|3|604}}เป็นการทำแท้งด้วยเหตุผลทางการแทพย์ กฎหมายของบางประเทศอนุญาตให้ทำแท้งเพื่อเหตุผลด้านสุขภาพหรือเหตุผลอื่น เรียกว่าเป็น{{TextTerm|การทำแท้งที่ถูกกฎหมาย|4|604|IndexEntry=การทำแท้งที่ถูกกฎหมาย}} การทำแท้งซึ่งขัดต่อกฎหมายเรียกว่า{{TextTerm|การทำแท้งที่ผิดกฎหมาย|5|604|IndexEntry=การทำแท้งที่ผิดกฎหมาย}} หรือ{{TextTerm|การทำแท้งที่เป็นอาชญากรรม|5|604|2|IndexEntry=การทำแท้งที่เป็นอาชญากรรม}} ในด้านเทคนิคการทำแท้งที่ใช้ มี{{TextTerm|การทำแท้งโดยการขูดมดลูก|6|604|IndexEntry=การทำแท้งโดยการขูดมดลูก}} {{TextTerm|การทำแท้งโดยการดูดสุญญากาศ|7|604|IndexEntry=การทำแท้งโดยการดูดสุญญากาศ}} {{TextTerm|การทำแท้งโดยการถ่างและขจัดออก|7|604|2|IndexEntry=การทำแท้งโดยการถ่างและขจัดออก}} {{TextTerm|การผ่ามดลูก|8|604|IndexEntry=การผ่ามดลูก}} (เกี่ยวข้องกับการผ่าตัดเข้าไปในมดลูก) และ{{TextTerm|การทำแท้งโดยวิธีการใช้ยาขับ|9|604|IndexEntry=การทำแท้งโดยวิธีการใช้ยาขับ}}
{{Note|6| Also called {{NoteTerm|abortions by dilatation and curettage}}, (abbreviated to D and C).}}
+
{{Note|6| เรียกอีกอย่างว่าเป็น{{NoteTerm|การทำแท้งโดยการถ่างและขูดมดลูก}} (เขียนย่อๆ เป็น D&C)}}
{{Note|7| Also called {{NoteTerm|abortions by suction}}. When the procedure is used very soon after a presumed conception, the terms {{NoteTerm|menstrual regulation}} or {{NoteTerm|menstrual extraction}} are used.}}
+
{{Note|7| เรียกอีกอย่างว่าเป็น{{NoteTerm|การทำแท้งโดยการดูด}} เมื่อขั้นตอนนี้ทำขึ้นโดยเร็วหลังจากเชื่อว่ามีการปฏิสนธิจะเรียกว่า{{NoteTerm|การปรับประจำเดือน}} }}
{{Note|9| Such procedures involve {{NoteTerm|amniotic fluid exchange}} as in the instance of an {{NoteTerm|abortion by saline injection}}, or the use of {{NoteTerm|prostaglandins}}.}}
+
{{Note|9| ขั้นตอนเช่นนี้เกี่ยวพันกับ{{NoteTerm|การแลกเปลี่ยนน้ำคร่ำ}} เช่นตัวอย่างของ{{NoteTerm|การทำแท้งโดยการฉีดน้ำเกลือ}} หรือการใช้ยา{{NoteTerm|โพรสตาแกลนดินส์}}}}
  
 
=== 605 ===
 
=== 605 ===
  
{{TextTerm|Full term deliveries|1|605|IndexEntry=full term delivery|OtherIndexEntry=delivery, full term}} occur when the pregnancy has lasted at least 37 weeks, measured in {{NonRefTerm|conventional duration of pregnancy}} ({{RefNumber|60|3|3}}*). A pregnancy ending before the normal period is termed a {{TextTerm|premature delivery|2|605|OtherIndexEntry=delivery, premature}} or {{TextTerm|premature confinement|2|605|2|OtherIndexEntry=confinement, premature}} or {{TextTerm|premature birth|2|605|3|OtherIndexEntry=birth, premature}} and the product of this delivery is called a {{TextTerm|premature baby|4|605|OtherIndexEntry=baby, premature}}. Births which are not premature are called {{TextTerm|births at term|3|605|IndexEntry=birth at term|OtherIndexEntry=term, birth at}} or {{TextTerm|full-term births|3|605|2|IndexEntry=full-term birth}}. The word {{TextTerm|prematurity|5|605}} is used to refer to phenomena connected with premature delivery. A classification of births by stage of development that does not depend upon an estimate of the period of gestation is used in many countries. In this classification a live-born infant with a {{TextTerm|birth weight|6|605|OtherIndexEntry=weight, birth}} of 2,500 grams (5 1/2 lbs.) or less is said to be {{TextTerm|immature|8|605}}. {{TextTerm|Immaturity|7|605}} is often combined with {{TextTerm|debility|9|605}}, an abnormal state of weakness.
+
{{TextTerm|การคลอดครบกำหนด|1|605|IndexEntry=การคลอดครบกำหนด}}เกิดขึ้นเมื่อการตั้งครรภ์เป็นเวลาอย่างน้อย 37 สัปดาห์ วัดโดย{{NonRefTerm|ช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ตามปรกติ}} ({{RefNumber|60|3|3}}*) การตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดลงก่อนระยะเวลาปรกติเรียกว่า{{TextTerm|การคลอดก่อนกำหนด|2|605}} หรือ{{TextTerm|การคลอดบุตรก่อนเวลา|2|605|2}} หรือ{{TextTerm|การเกิดก่อนเวลา|2|605|3}} และผลิตผลของการคลอดเช่นนี้เรียกว่า{{TextTerm|ทารกก่อนกำหนด|4|605}} การเกิดซึ่งไม่ก่อนกำหนดเรียกว่า{{TextTerm|การเกิดตามกำหนด|3|605|IndexEntry=การเกิดตามกำหนด}} หรือ{{TextTerm|การเกิดครบกำหนด|3|605|2|IndexEntry=การเกิดครบกำหนด}} คำว่า{{TextTerm|ก่อนกำหนด|5|605}} ใช้เพื่อหมายถึงปรากฏการณ์ที่เชื่อมโยงกับการคลอดก่อนกำหนด การจำแนกประเภทของการเกิดโดยขั้นตอนของพัฒนาการที่ไม่ขึ้นอยู่กับการประมาณระยะเวลาของการครองครรภ์ใช้อยู่ในหลายประเทศ ในการจำแนกประเภทเช่นนี้ ทารกเกิดมีชีพด้วย{{TextTerm|น้ำหนักแรกเกิด|6|605}} 2,500 กรัม (5 1/2 ปอนด์) หรือต่ำกว่านั้นกล่าวว่า{{TextTerm|ไม่ครบกำหนด|8|605}} {{TextTerm|ภาวะไม่ครบกำหนด|7|605}}มักจะรวมกับ{{TextTerm|อาการอ่อนเพลีย|9|605}}ซึ่งเป็นภาวะผิดปรกติของความอ่อนแอ
  
 
=== 606 ===
 
=== 606 ===
  
At most confinements there is a {{TextTerm|single birth|1|606|OtherIndexEntry=birth, single}} or {{TextTerm|single delivery|1|606|2|OtherIndexEntry=delivery, single}} but at some there are {{TextTerm|plural births|2|606|IndexEntry=plural birth|OtherIndexEntry=birth, plural}}, {{TextTerm|multiple births|2|606|2|IndexEntry=multiple birth|OtherIndexEntry=birth, multiple}} or {{TextTerm|multiple deliveries|2|606|3|IndexEntry=multiple delivery|OtherIndexEntry=delivery, multiple}}. Two children born during the same confinement are called {{TextTerm|twins|3|606|IndexEntry=twin}} and we may distinguish between {{TextTerm|monozygotic twins|4|606|OtherIndexEntry=twin, monozygotic}}, {{TextTerm|uniovular twins|4|606|2|OtherIndexEntry=twin, uniovular}} or {{TextTerm|identical twins|4|606|3|OtherIndexEntry=twin, identical}} on the one hand, and {{TextTerm|dizygotic twins|5|606|OtherIndexEntry=twin, dizygotic}} or {{TextTerm|biovular twins|5|606|2|OtherIndexEntry=twin, biovular}} on the other. Monozygotic multiple births occur when one ovum splits after fertilization; the resulting children must always be of the same sex. Dizygotic multiple births are .due to the simultaneous fertilization of two or more ova and the resulting children may be of different sexes.
+
การคลอดบุตรส่วนมากจะเป็น{{TextTerm|การเกิดเดี่ยว|1|606}} หรือ{{TextTerm|การคลอดเดี่ยว|1|606|2}} แต่บางกรณีเป็น{{TextTerm|การเกิดมากกว่าหนึ่ง|2|606|IndexEntry=การเกิดมากกว่าหนึ่ง}} หรือ{{TextTerm|การคลอดมากกว่าหนึ่ง|2|606|3|IndexEntry=การคลอดมากกว่าหนึ่ง}} เด็กสองคนที่เกิดในช่วงการคลอดบุตรครั้งเดียวกันเรียกว่า{{TextTerm|แฝด|3|606|IndexEntry=แฝด}} และเราอาจแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|แฝดไข่ใบเดียวกัน|4|606}} หรือ{{TextTerm|แฝดเหมือน|4|606|3}}ประเภทหนึ่งกับ{{TextTerm|แฝดไข่สองใบ|5|606}}อีกประเภทหนึ่ง การเกิดเป็นเด็กหลายคนด้วยไข่ใบเดียวกันเกิดขึ้นเมื่อไข่แยกตัวหลังจากการผสมพันธุ์ เด็กที่เป็นผลจากการที่ไข่แยกตัวเช่นนั้นต้องเป็นเพศเดียวกันเสมอ การเกิดจากไข่หลายใบเนื่องมาจากการสุกพร้อกันของไข่สองใบหรือมากกว่าให้ผลเป็นเด็กแฝดคลอดออกมาอาจมีเพศที่ต่างกัน
{{Note|2| In British official terminology the term {{NoteTerm|maternity}} is used to denote a confinement resulting in the birth of one or more children; the number of {{NoteTerm|births per maternity}} may be computed.}}
+
{{Note|2| ศัพท์ทางการของอังกฤษ คำว่า{{NoteTerm|การเป็นมารดา}}ใช้เพื่อแสดงการคลอดที่มีผลเป็นการเกิดของบุตร 1 คนหรือมากกว่า อาจคำนวณจำนวนของ{{NoteTerm|การเกิดต่อการเป็นมารดา}}ได้ }}
{{Note|3| Where a multiple birth results in three children, these are-called triplets, four are {{NoteTerm|quadruplets}}, and five {{NoteTerm|quintuplets}}. The terms "twins", "triplets", etc. are generally used in accordance with the total number of deliveries during a confinement; occasionally, however, multiple births are classified only in accordance with the number of children born alive.}}
+
{{Note|3| เมื่อการคลอดครั้งหนึ่งออกมาเป็นบุตร 3 คน เรียกว่า{{NoteTerm|แฝดสาม}} คลอดออกมา 4 คน เรียกว่า{{NoteTerm|แฝดสี่}} 5 คนเรียกว่า{{NoteTerm|แฝดห้า}} โดยทั่วไป ศัพท์คำว่าฝาแฝด แฝดสาม ฯลฯ เรียกตามจำนวนบุตรที่คลอดออกมาทั้งหมดในระหว่างการคลอดครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตาม การคลอดบุตรคราวละหลายคนจะแยกประเภทตามจำนวนบุตรที่เกิดมีชีพเท่านั้น }}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 15:04, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


601

การศึกษาทางประชากรศาสตร์เรื่อง ภาวะเจริญพันธุ์1เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ที่เชื่อมกับ การมีบุตร2หรือ การสืบทอดพันธุ์2ของมนุษย์ คำว่า ภาวะการเกิด1บางครั้งใช้แทนคำว่าภาวะเจริญพันธุ์ ศัพท์ทั้งสองคำนี้หมายถึงความถี่ของการเกิดขึ้นของ การเกิด3 หรือกล่าวให้เจาะจงลงไปคือ การเกิดมีชีพ4 — ภายในประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อย การเกิดเป็นกระบวนการของการคลอดบุตร การเกิดมีชีพหรือการเกิดของ เด็กเกิดมีชีพ5แตกต่างจากการตายตัวอ่อนระยะหลัง (cf. 411-5) โดยหลักฐานของการมีชีวิตอย่างเช่นการหายใจ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ หรือการเต้นของหัวใจของเด็กหลังจากการคลอดหรือการขับออก ศัพท์คำว่า ภาวะเจริญพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพ6 ซึ่งครั้งหนึ่งเคยใช้เพื่อชี้ว่าการตายตัวอ่อนระยะหลังไม่ได้ถูกนับรวมไว้ในจำนวนรวมของการเกิด หมายถึงการเกิดซึ่งไม่รวมการตายของทารกหรือเด็กเข้าไว้ด้วย คำว่า ภาวะเจริญพันธุ์อย่างหยาบ7ควรหมายถึงการเกิดทั้งหมดที่รวม "ตายคลอด" (411-5) หรือการตายตัวอ่อนเข้าไว้ด้วย คำว่า ภาวะเจริญพันธุ์ที่แตกต่าง8แสดงดึงความแตกต่างของภาวะเจริญพันธุ์ระหว่างกลุ่มย่อยๆ ของประชากร

  • 1. ความหมายของคำว่าภาวะเจริญพันธุ์ในประชากรศาสตร์ ให้ดู § 623
  • 2. บ่อยครั้งที่การสืบทอดพันธุ์หมายถึงความสมดุลย์ของการเกิดและการตาย (เช่นใน § 711) มากกว่าที่จะเป็นกระบวนการของการมีบุตรหรือการให้กำเนิด
  • 3. คำว่าการเกิดปัจจุบันใช้กันโดยทั่วไปว่าหมายถึงการเกิดมีชีพ
  • 4. เกิดมีชีพ ใช้เป็นคำนามเพื่อหมายถึงทารกเกิดมีชีพด้วย

602

การปฏิสนธิ1เป็นผลจาก การผสมพันธุ์2ของ ไข่3โดย สเปิร์ม4 หรือ เซลล์สเปิร์ม4 และขีดเส้นเริ่มต้นของ การตั้งครรภ์5 หรือ การครองครรภ์5สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ได้ ในช่วงเวลาของพัฒนาการ ผลิตผลของการปฏิสนธิ6จะเรียกว่า ตัวอ่อน7 แล้วต่อมาเรียก ตัวอ่อนระยะหลัง7 ขณะเวลาที่ตัวอ่อนกลายเป็นตัวอ่อนระยะหลังไม่มีการกำหนดไว้แน่นอนว่าเมื่อไร นักวิทยาศาสตร์บางคนให้ค่าไว้ที่เมื่อสิ้นสุด 12 สัปดาห์ หรือ 3 เดือนของชีวิตในมดลูก แม้ว่าขั้นตอนพัฒนาการต่อมาหลังจากสัปดาห์ที่ 8 ก็มักเรียกว่าตัวอ่อนระยะหลังหลังอยู่บ่อยๆ การฝังตัวของไข่8หมายถึงการฝังตัวของไข่ในผนังของ มดลูก9 หรือ ครรภ์9ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น 2-3 วันหลังจากการผสมพันธุ์

  • 2. การผสมเทียม: การผสมพันธุ์ซึ่งทำโดยการฉีดเชื้อเทียมด้วยกระบวนการนอกเหนือไปจากการมีเพศสัมพันธุ์ (627-2).
  • 3. ไข่ที่ถูกผสมแล้วเรียกว่าไซโกต
  • 5. นักวิทยาศาสตร์บางคนพิจารณาว่าการตั้งครรภ์เริ่มขึ้นเมื่อเวลาของการฝังตัว (602-8)ของไข่
  • 7. Embryology: ศาสตร์ที่เกี่ยวกับพัฒนาการของตัวอ่อน

603

กล่าวได้ว่าตัวอ่อน ไม่มีชีวิต2ในช่วงแรกๆ ของการตั้งครรภ์และจะ มีชีวิต1หลังจากนั้น การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเมื่อตัวอ่อนเริ่มมีความสามารถที่จะอยู่ได้โดยอิสระนอกครรภ์มารดา ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อ ระยะเวลาการครองครรภ์3 หรือ ช่วงเวลาของการตั้งครรภ์3เกินกว่า 28 สัปดาห์ ถ้าการตั้งครรภ์ยาวนานกว่านี้ การขับตัวอ่อนออก (มีชีพหรือตาย) เกิดขึ้นในช่วงของ การคลอดบุตร4 การขับตัวอ่อนออกก่อนโดยสัมพันธ์กับการตายตัวอ่อนระยะแรกเรียกว่า การแท้ง5 (cf. § 604) ระยะเวลาประมาณ 6 สัปดาห์หลังจากการคลอด (ในช่วงที่มดลูกปรกติจะกลับคืนสู่ขนาดเดิมและเป็นช่วงที่ความน่าจะเป็นของการปฏิสนธิต่ำ) เรียกว่า ช่วงหลังคลอด6

  • 2. ช่วงเวลาขั้นต่ำที่กำหนดการมีชีวิตอยู่นั้นแตกต่างกันระหว่าง 20 และ 28 สัปดาห์ ในแต่ละประเทศ แต่องค์การอนามัยโลกได้แนะนำให้ใช้ 28 สัปดาห์เป็นมาตรฐาน โดยทั่วไป ช่วงเวลาของการตั้งครรภ์คำนวณจากวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย ช่วงเวลานี้ประกอบขึ้นเป็นช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ตามปรกติธรรมดา ซึ่งตรงข้ามกับช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ที่แท้จริงที่คำนวณจากระยะเวลาปฏิสนธิ
  • 4. กระบวนการขับตัวอ่อนระยะหลังออกจากครรภ์เรียกว่าการคลอด หรือการให้กำเนิด ซึ่งเป็นการสิ้นสุดของระยะเวลาของการคลอดลูก การคลอดบุตรจะหมายรวมถึงการขับดันหรือเอารก หรือสิ่งหลังคลอดออก
  • 5. คนทำแท้ง คือบุคคลที่ประกอบการทำแท้ง ในภาษาพูดประจำวัน คำว่าการแท้งมักจะหมายถึงการทำแท้ง (604-2) มากกว่าที่หมายความว่าการแท้งเอง (604-1)

604

การแท้งจากการตายภายในมดลูกโดยไม่มีการกระทำให้เกิดขึ้น ซึ่งอาจเกิดขึ้นเมื่อก่อนการขับออกมาก เรียกว่า การแท้งเอง1หรือ การแท้งโดยธรรมชาติ1 ตรงข้ามกับ การแท้งโดยตั้งใจ2 หรือ การทำแท้ง2 การแท้งเพื่อการบำบัดรักษา3เป็นการทำแท้งด้วยเหตุผลทางการแทพย์ กฎหมายของบางประเทศอนุญาตให้ทำแท้งเพื่อเหตุผลด้านสุขภาพหรือเหตุผลอื่น เรียกว่าเป็น การทำแท้งที่ถูกกฎหมาย4 การทำแท้งซึ่งขัดต่อกฎหมายเรียกว่า การทำแท้งที่ผิดกฎหมาย5 หรือ การทำแท้งที่เป็นอาชญากรรม5 ในด้านเทคนิคการทำแท้งที่ใช้ มี การทำแท้งโดยการขูดมดลูก6 การทำแท้งโดยการดูดสุญญากาศ7 การทำแท้งโดยการถ่างและขจัดออก7 การผ่ามดลูก8 (เกี่ยวข้องกับการผ่าตัดเข้าไปในมดลูก) และ การทำแท้งโดยวิธีการใช้ยาขับ9

  • 6. เรียกอีกอย่างว่าเป็นการทำแท้งโดยการถ่างและขูดมดลูก (เขียนย่อๆ เป็น D&C)
  • 7. เรียกอีกอย่างว่าเป็นการทำแท้งโดยการดูด เมื่อขั้นตอนนี้ทำขึ้นโดยเร็วหลังจากเชื่อว่ามีการปฏิสนธิจะเรียกว่าการปรับประจำเดือน
  • 9. ขั้นตอนเช่นนี้เกี่ยวพันกับการแลกเปลี่ยนน้ำคร่ำ เช่นตัวอย่างของการทำแท้งโดยการฉีดน้ำเกลือ หรือการใช้ยาโพรสตาแกลนดินส์

605

การคลอดครบกำหนด1เกิดขึ้นเมื่อการตั้งครรภ์เป็นเวลาอย่างน้อย 37 สัปดาห์ วัดโดยช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ตามปรกติ (603-3*) การตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดลงก่อนระยะเวลาปรกติเรียกว่า การคลอดก่อนกำหนด2 หรือ การคลอดบุตรก่อนเวลา2 หรือ การเกิดก่อนเวลา2 และผลิตผลของการคลอดเช่นนี้เรียกว่า ทารกก่อนกำหนด4 การเกิดซึ่งไม่ก่อนกำหนดเรียกว่า การเกิดตามกำหนด3 หรือ การเกิดครบกำหนด3 คำว่า ก่อนกำหนด5 ใช้เพื่อหมายถึงปรากฏการณ์ที่เชื่อมโยงกับการคลอดก่อนกำหนด การจำแนกประเภทของการเกิดโดยขั้นตอนของพัฒนาการที่ไม่ขึ้นอยู่กับการประมาณระยะเวลาของการครองครรภ์ใช้อยู่ในหลายประเทศ ในการจำแนกประเภทเช่นนี้ ทารกเกิดมีชีพด้วย น้ำหนักแรกเกิด6 2,500 กรัม (5 1/2 ปอนด์) หรือต่ำกว่านั้นกล่าวว่า ไม่ครบกำหนด8 ภาวะไม่ครบกำหนด7มักจะรวมกับ อาการอ่อนเพลีย9ซึ่งเป็นภาวะผิดปรกติของความอ่อนแอ

606

การคลอดบุตรส่วนมากจะเป็น การเกิดเดี่ยว1 หรือ การคลอดเดี่ยว1 แต่บางกรณีเป็น การเกิดมากกว่าหนึ่ง2 หรือ การคลอดมากกว่าหนึ่ง2 เด็กสองคนที่เกิดในช่วงการคลอดบุตรครั้งเดียวกันเรียกว่า แฝด3 และเราอาจแยกความแตกต่างระหว่าง แฝดไข่ใบเดียวกัน4 หรือ แฝดเหมือน4ประเภทหนึ่งกับ แฝดไข่สองใบ5อีกประเภทหนึ่ง การเกิดเป็นเด็กหลายคนด้วยไข่ใบเดียวกันเกิดขึ้นเมื่อไข่แยกตัวหลังจากการผสมพันธุ์ เด็กที่เป็นผลจากการที่ไข่แยกตัวเช่นนั้นต้องเป็นเพศเดียวกันเสมอ การเกิดจากไข่หลายใบเนื่องมาจากการสุกพร้อกันของไข่สองใบหรือมากกว่าให้ผลเป็นเด็กแฝดคลอดออกมาอาจมีเพศที่ต่างกัน

  • 2. ศัพท์ทางการของอังกฤษ คำว่าการเป็นมารดาใช้เพื่อแสดงการคลอดที่มีผลเป็นการเกิดของบุตร 1 คนหรือมากกว่า อาจคำนวณจำนวนของการเกิดต่อการเป็นมารดาได้
  • 3. เมื่อการคลอดครั้งหนึ่งออกมาเป็นบุตร 3 คน เรียกว่าแฝดสาม คลอดออกมา 4 คน เรียกว่าแฝดสี่ 5 คนเรียกว่าแฝดห้า โดยทั่วไป ศัพท์คำว่าฝาแฝด แฝดสาม ฯลฯ เรียกตามจำนวนบุตรที่คลอดออกมาทั้งหมดในระหว่างการคลอดครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตาม การคลอดบุตรคราวละหลายคนจะแยกประเภทตามจำนวนบุตรที่เกิดมีชีพเท่านั้น

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=60&oldid=762"