The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "52"

จาก Demopædia
(521)
(524)
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 19: แถว 19:
 
=== 522 ===
 
=== 522 ===
  
{{TextTerm|Nuptiality tables|1|522|IndexEntry=nuptiality table|OtherIndexEntry=table, nuptiality}} resemble life tables, and combine various nuptiality functions. The {{TextTerm|gross nuptiality table|1|522|2}} includes, by age, the {{NonRefTerm|first marriage probabilities}} ({{RefNumber|52|1|3}}) and {{NonRefTerm|proportions remaining single}} ({{RefNumber|52|1|2}}), as well as the {{TextTerm|number of first marriages|2|522|OtherIndexEntry=first marriages, number of}} in a cohort of given size subjected to the prevailing nuptiality on the assumption that there is no mortality; it also gives the {{TextTerm|numbers remaining single|3|522|IndexEntry=number remaining single|OtherIndexEntry=remaining single, number}} at various ages. The {{TextTerm|net nuptiality table|4|522|OtherIndexEntry=nuptiality table, net}} takes mortality as well as nuptiality into account, and is a particular case of {{NonRefTerm|double decrement tables}} ({{RefNumber|15|3|4}}). Such a table includes the {{TextTerm|single survivors|5|522|IndexEntry=single survivor|OtherIndexEntry=survivor, single}}, the {{TextTerm|ever-married survivors|6|522|IndexEntry=ever-married survivor|OtherIndexEntry=survivor, ever-married}}, the {{TextTerm|probability of single survival|7|522|OtherIndexEntry=single survival, probability of}} and the {{TextTerm|expectation of unmarried life|8|522|OtherIndexEntry=unmarried life, expectation of}}.
+
{{TextTerm|ตารางสมรส|1|522|IndexEntry=ตารางสมรส}}คล้ายตารางชีพ และประกอบด้วยฟังก์ชันภาวะสมรสต่างๆ {{TextTerm|ตารางสมรสรวม|1|522|2}}มีฟังก์ชันรายอายุ คือ{{NonRefTerm|ความน่าจะเป็นของการแต่งงานครั้งแรก}} ({{RefNumber|52|1|3}}) และ{{NonRefTerm|สัดส่วนคนที่ยังเป็นโสด}} ({{RefNumber|52|1|2}}) เช่นเดียวกับ{{TextTerm|จำนวนของการแต่งงานครั้งแรก|2|522}}ในรุ่นหนึ่งซึ่งขึ้นอยู่กับภาวะสมรสที่เป็นอยู่บนข้อสมมุติที่ว่าไม่มีภาวะการตาย ตารางสมรสให้{{TextTerm|จำนวนคนที่ยังอยู่เป็นโสด|3|522|IndexEntry=จำนวนคนที่ยังอยู่เป็นโสด}} ณ อายุต่างๆ {{TextTerm|ตารางสมรสสุทธิ|4|522}}นำเอาภาวะการตายและภาวะสมรสมาพิจารณาด้วยกัน และนับว่าเป็น{{NonRefTerm|ตารางแบบลดลงสองทาง}} ({{RefNumber|15|3|4}}) ตารางเช่นนั้นมี{{TextTerm|ผู้รอดชีพโสด|5|522|IndexEntry=ผู้รอดชีพโสด}} {{TextTerm|ผู้รอดชีพเคยแต่งงาน|6|522|IndexEntry=ผู้รอดชีพเคยแต่งงาน}} {{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการรอดชีพที่ยังโสด|7|522}} และ{{TextTerm|ความคาดหมายของชีวิตที่ไม่แต่งงาน|8|522}}
  
 
=== 523 ===
 
=== 523 ===
  
A {{TextTerm|divorce rate|1|523|OtherIndexEntry=rate, divorce}} can be calculated in different ways. The {{TextTerm|crude divorce rate|2|523|OtherIndexEntry=divorce rate, crude}} gives the ratio of the number of divorces to the average population during a given period. The ratio of divorces to the number of married couples is sometimes computed and may be called the {{TextTerm|divorce rate for married persons|3|523|OtherIndexEntry=married persons, divorce rate for}}. If divorces are tabulated by the age of the divorced person or by duration of marriage, {{TextTerm|age-specific divorce rates|4|523|IndexEntry=age-specific divorce rate|OtherIndexEntry=divorce rate, age-specific}} and {{TextTerm|duration-specific divorce rates|5|523|IndexEntry=duration-specific divorce rate|OtherIndexEntry=divorce rate, duration-specific}} can be computed. Another index of divorce frequency is obtained by computing the {{TextTerm|number of divorces per new marriage|6|523|OtherIndexEntry=marriage, number of divorces per new}}.
+
{{TextTerm|อัตราหย่า|1|523}}สามารถคำนวณได้หลายทาง {{TextTerm|อัตราหย่าอย่างหยาบ|2|523}}ให้อัตราส่วนของจำนวนการหย่าต่อประชากรเฉลี่ยในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อัตราส่วนของการหย่าต่อจำนวนของคู่แต่่งงานบางครั้งคำนวณได้และอาจเรียกว่า{{TextTerm|อัตราหย่าสำหรับคนแต่งงานแล้ว|3|523}} ถ้านำการหย่ามาทำตารางไขว้กับอายุของคนที่หย่าแล้ว หรือกับระยะเวลาของการแต่งงาน ก็สามารถคำนวณ{{TextTerm|อัตราหย่ารายอายุ|4|523|IndexEntry=อัตราหย่ารายอายุ}} และ{{TextTerm|อัตราหย่ารายช่วงเวลา|5|523|IndexEntry=อัตราหย่ารายช่วงเวลา}}ได้ อีกดัชนีหนึ่งของความถี่ของการหย่าได้จากการคำนวณ{{TextTerm|จำนวนของการหย่าต่อการแต่งงานใหม่|6|523}}
{{Note|6| This is a period measure which relates the divorces of one year, either to the marriages of that year, or to a weighted average of the marriages of several years. In cohort analysis, it is possible to relate divorces in successive years to an initial marriage cohort to compute the {{NoteTerm|cumulated proportion divorced}}.}}
+
{{Note|6| นี้เป็นการวัดช่วงเวลาหนึ่งซึ่งเชื่อมโยงการหย่าในหนึ่งปี ไม่ว่าจะกับการแต่งงานของปีนั้น หรือกับค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการแต่งงานหลายๆ ปี ในการวิเคราะห์เชิงรุ่น เป็นไปได้ที่จะเชื่อมโยงการหย่าในปีที่ต่อเนื่องกันกับรุ่นแต่งงานเริ่มต้นเพื่อคำนวณ{{NoteTerm|สัดส่วนการหย่าสะสม}}}}
  
 
=== 524 ===
 
=== 524 ===
  
When the requisite basic statistics are available, {{TextTerm|marriage dissolution probabilities|1|524|IndexEntry=marriage dissolution probability|OtherIndexEntry=dissolution probability, marriage}} may be computed, showing for each sex the probability of the marriage being dissolved by death or divorce according to {{TextTerm|duration of marriage|2|524|OtherIndexEntry=marriage, duration of}}; marriage dissolution tables are an application of double decrement life tables. Remarriage tables for widowed and divorced persons can also be computed, but the most common indices of remarriage are the {{TextTerm|relative frequency of remarriage|3|524|OtherIndexEntry=remarriage, relative frequency of}}, i.e. the proportion of widowed or divorced persons who remarry, often given by age at widowhood or divorce, and by the interval between widowhood or divorce and remarriage. The latter information enables one to compute the {{TextTerm|mean interval between widowhood and remarriage|4|524|IndexEntry=mean interval between widowood and remarriage|OtherIndexEntry=interval between widowood and remarriage, mean}} and the {{TextTerm|mean interval between divorce and remarriage|5|524|OtherIndexEntry=divorce and remarriage, mean interval between}}.
+
เมื่อมีข้อมูลพื้นฐานที่ต้องการ {{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการสูญสลายการแต่งงาน|1|524|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการสูญสลายการแต่งงาน}} ก็อาจคำนวณได้เพื่อแสดงสำหรับแต่ละอายุ ความน่าจะเป็นของการแต่งงานที่จะสลายไปโดยการตายหรือการหย่าตาม{{TextTerm|ระยะเวลาของการแต่งงาน|2|524}} ตารางการสูญสลายการแต่งงานเป็นการประยุกต์ตารางชีพแบบลดลงสองทาง ตารางการแต่งงานใหม่สำหรับคนเป็นม่ายหรือหย่าแล้วสามารถคำนวณได้ แต่ดัชนีที่ใช้กันมากที่สุดของการแต่งงานใหม่คือ {{TextTerm|ความถึ่สัมพัทธ์ของการแต่งงานใหม่|3|524}} ได้แก่ สัดส่วนของคนเป็นม่าย หรือหย่าแล้วที่แต่งงานใหม่ ซึ่งมักแสดงโดยอายุเมื่ออยู่ในสภาพม่ายหรือหย่า และโดยช่วงห่างระหว่างสภาพม่ายหรือหย่ากับการแต่งงานใหม่ ข้อมูลเกี่ยวกับการแต่งงานใหม่เหล่านี้ช่วยให้เราคำนวณ{{TextTerm|ช่วงห่างเฉลี่ยระหว่างสภาพม่ายกับการแต่งงานใหม่|4|524|IndexEntry=ช่วงห่างเฉลี่ยระหว่างสภาพม่ายกับการแต่งงานใหม่}} และ{{TextTerm|ช่วงห่างเฉลี่ยระหว่างการหย่ากับการแต่งงานใหม่|5|524}}
 
 
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 07:05, 1 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


520

ความถี่การแต่งงานเชิงสัมพัทธ์วัดได้ด้วย อัตราการแต่งงาน1 หรือ อัตราสมรส1 ซึ่งรวม อัตราการแต่งงานอย่างหยาบ2ที่ให้อัตราส่วนของจำนวนรวมของการแต่งงานทั้งหมดต่อจำนวนประชากรทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง ภาวะสมรสชาย3และ ภาวะสมรสหญิง4มีความแตกต่างกัน และสามารถศึกษาแยกจากกัน ศัพท์คำว่า ภาวะสมรสชาย3และ ภาวะสมรสหญิง4ใช้สำหรับความถึ่การแต่งงานของเพศต่างกัน อัตราแต่งงานรายเพศ5คำนวณได้ด้วยการใช้ประชากรที่เหมาะสมของแต่ละเพศเป็นฐาน เป็นเรื่องปรกติที่จะแยกความแตกต่างระหว่าง อัตราการแต่งงานครั้งแรก6 ซึ่งโยงจำนวนของชายโสดหรือหญิงโสด (515-3 และ 4) ที่แต่งงานไปยังจำนวนรวมของชายโดและหญิงโสดตามลำดับ และ อัตราการแต่งงานใหม่7ซึ่งโยงจำนวนการแต่งงานใหม่ไปยังจำนวนรวมของคนที่เป็นม่ายหรือหย่าแล้ว อัตราคล้ายๆ กันสามารถคำนวณได้เป็นรายอายุหรือรายกลุ่มอายุของสามี หรือภรรยา เมื่อจำแนกประเภทการแต่งงานโดย อายุแต่งงาน8ของคู่ครองแต่ละคน อัตราเช่นนั้นเรียกว่า อัตราแต่งงานรายอายุ9 การทำตารางไขว้ของคู่ครองโดยอายุที่แต่งงานทำให้สามารถคำนวณ อายุแต่งงานเฉลี่ย10 หรือ อายุเฉลี่ยเมื่อแต่งงาน10สำหรับปีหนึ่งหรือช่วงเวลาหนึ่ง ความแตกต่างของอายุระหว่างคู่ครอง11สามารถวิเคราะห์ได้จากการจำแนกประเภทของ อายุรวมกัน12ของคู่ครอง

  • 2. บางครั้งอัตราการแต่งงานอย่างหยาบได้มาจากการเชื่อมโยงจำนวนของผู้แต่งงานใหม่ต่อจำนวนประชากรทั้งหมด
  • 9. คำว่าความถี่การแต่งงาน และความถี่การแต่งงานครั้งแรก บางครั้งนำไปใช้เพื่อเชื่อมโยงอัตราส่วนของจำนวนการแต่งงานหรือการแต่งงานครั้งแรกที่อายุใดอายุหนึ่งต่อจำนวนประชากรทั้งหมดที่อายุนั้น โดยไม่คำนึงถึงสถานภาพสมรสของเขาเหล่านั้น ความถี่การแต่งงานสะสม และความถี่การแต่งงานครั้งแรกสะสม นำมาใช้ในการศึกษาเชิงรุ่น

521

ความชุกของการแต่งงานในรุ่นผู้ชายหรือผู้หญิงรุ่นหนึ่งวัดได้จาก สัดส่วนไม่เคยแต่งงาน1 ปรกติสัดส่วนนี้เท่ากับ สัดส่วนคนที่ยังเป็นโสด2 ณ อายุหนึ่ง เช่น อายุ 50 หลังจากอายุนั้นแล้วการแต่งงานครั้งแรกจะเกิดขึ้นได้ยาก สัดส่วนคนที่ยังเป็นโสดที่แต่ละอายุในคนรุ่นหนึ่งสามารถคำนวณได้จาก ความน่าจะเป็นของการแต่งงานครั้งแรก3 นั่นคือสัดส่วนของคนโสด ณ อายุที่แน่นอน x ที่จะแต่งงานก่อนครบอายุแน่นอน x + 1 โดยสมมุติว่าไม่มีภาวะการตาย อย่างไรก็ตาม เพื่อวัตถุประสงค์ในทางปฏิบัติ ปรกติสัดส่วนคนที่ยังเป็นโสดจะได้จากข้อมูลสำมะโนที่เป็น สัดส่วนโสด4 ณ อายุนั้นในรุ่นที่สอดคล้องกัน เมื่อมีข้อมูลการจำแนกประเภทของการแต่งงานครั้งแรกโดยอายุของคู่ครอง อายุเฉลี่ยเมื่อแต่งงานครั้งแรก5 อายุมัธยฐานเมื่อแต่งงานครั้งแรก6 และ อายุฐานนิยมเมื่อแต่งงานครั้งแรก7 ก็สามารถคำนวณได้ทั้งหมด ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลาของการแต่งงาน ก็ยังเป็นไปได้ที่จะคำนวณ อายุโสดเฉลี่ยเมื่อแรกสมรส8จากข้อมูลสำมะโนรายการสัดส่วนโสดตามอายุ

522

ตารางสมรส1คล้ายตารางชีพ และประกอบด้วยฟังก์ชันภาวะสมรสต่างๆ ตารางสมรสรวม1มีฟังก์ชันรายอายุ คือความน่าจะเป็นของการแต่งงานครั้งแรก (521-3) และสัดส่วนคนที่ยังเป็นโสด (521-2) เช่นเดียวกับ จำนวนของการแต่งงานครั้งแรก2ในรุ่นหนึ่งซึ่งขึ้นอยู่กับภาวะสมรสที่เป็นอยู่บนข้อสมมุติที่ว่าไม่มีภาวะการตาย ตารางสมรสให้ จำนวนคนที่ยังอยู่เป็นโสด3 ณ อายุต่างๆ ตารางสมรสสุทธิ4นำเอาภาวะการตายและภาวะสมรสมาพิจารณาด้วยกัน และนับว่าเป็นตารางแบบลดลงสองทาง (153-4) ตารางเช่นนั้นมี ผู้รอดชีพโสด5 ผู้รอดชีพเคยแต่งงาน6 ความน่าจะเป็นของการรอดชีพที่ยังโสด7 และ ความคาดหมายของชีวิตที่ไม่แต่งงาน8

523

อัตราหย่า1สามารถคำนวณได้หลายทาง อัตราหย่าอย่างหยาบ2ให้อัตราส่วนของจำนวนการหย่าต่อประชากรเฉลี่ยในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อัตราส่วนของการหย่าต่อจำนวนของคู่แต่่งงานบางครั้งคำนวณได้และอาจเรียกว่า อัตราหย่าสำหรับคนแต่งงานแล้ว3 ถ้านำการหย่ามาทำตารางไขว้กับอายุของคนที่หย่าแล้ว หรือกับระยะเวลาของการแต่งงาน ก็สามารถคำนวณ อัตราหย่ารายอายุ4 และ อัตราหย่ารายช่วงเวลา5ได้ อีกดัชนีหนึ่งของความถี่ของการหย่าได้จากการคำนวณ จำนวนของการหย่าต่อการแต่งงานใหม่6

  • 6. นี้เป็นการวัดช่วงเวลาหนึ่งซึ่งเชื่อมโยงการหย่าในหนึ่งปี ไม่ว่าจะกับการแต่งงานของปีนั้น หรือกับค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการแต่งงานหลายๆ ปี ในการวิเคราะห์เชิงรุ่น เป็นไปได้ที่จะเชื่อมโยงการหย่าในปีที่ต่อเนื่องกันกับรุ่นแต่งงานเริ่มต้นเพื่อคำนวณสัดส่วนการหย่าสะสม

524

เมื่อมีข้อมูลพื้นฐานที่ต้องการ ความน่าจะเป็นของการสูญสลายการแต่งงาน1 ก็อาจคำนวณได้เพื่อแสดงสำหรับแต่ละอายุ ความน่าจะเป็นของการแต่งงานที่จะสลายไปโดยการตายหรือการหย่าตาม ระยะเวลาของการแต่งงาน2 ตารางการสูญสลายการแต่งงานเป็นการประยุกต์ตารางชีพแบบลดลงสองทาง ตารางการแต่งงานใหม่สำหรับคนเป็นม่ายหรือหย่าแล้วสามารถคำนวณได้ แต่ดัชนีที่ใช้กันมากที่สุดของการแต่งงานใหม่คือ ความถึ่สัมพัทธ์ของการแต่งงานใหม่3 ได้แก่ สัดส่วนของคนเป็นม่าย หรือหย่าแล้วที่แต่งงานใหม่ ซึ่งมักแสดงโดยอายุเมื่ออยู่ในสภาพม่ายหรือหย่า และโดยช่วงห่างระหว่างสภาพม่ายหรือหย่ากับการแต่งงานใหม่ ข้อมูลเกี่ยวกับการแต่งงานใหม่เหล่านี้ช่วยให้เราคำนวณ ช่วงห่างเฉลี่ยระหว่างสภาพม่ายกับการแต่งงานใหม่4 และ ช่วงห่างเฉลี่ยระหว่างการหย่ากับการแต่งงานใหม่5

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=52&oldid=283"