The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "52"

จาก Demopædia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' <!--'''52'''--> {{CurrentStatus}} {{Unmodified edition II}} {{Summary}} __NOTOC__ === 520 === ความถี่การแต...')
 
(520)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 520 ===
 
=== 520 ===
  
ความถี่การแต่งงานเชิงสัมพัทธ์วัดได้ด้วย{{TextTerm|อัตราการแต่งงาน|1|520|IndexEntry=อัตราการแต่งงาน}} หรือ{{TextTerm|อัตราสมรส|1|520|2|IndexEntry=อัตราสมรส}} ซึ่งรวม{{TextTerm|อัตราการแต่งงานอย่างหยาบ|2|520}}ที่ให้อัตราส่วนของจำนวนรวมของการแต่งงานทั้งหมดต่อจำนวนประชากรทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง {{TextTerm|ภาวะสมรสชาย|3|520}}และ{{TextTerm|ภาวะสมรสหญิง|4|520}}มีความแตกต่างกัน และสามารถศึกษาแยกจากกัน ศัพท์คำว่า{{TextTerm|male nuptiality|3|520|2}} and {{TextTerm|female nuptiality|4|520|2}} are used for the marriage frequency of the different sexes. A {{TextTerm|sex-specific marriage rate|5|520|OtherIndexEntry=marriage, rate sex-specific}} can be computed with the appropriate population of each sex as a base. It is usual to distinguish between a {{TextTerm|first marriage rate|6|520|OtherIndexEntry=marriage rate}}, which relates the number of {{NonRefTerm|bachelors}} or {{NonRefTerm|spinsters}} ({{RefNumber|51|5|3}} and 4) marrying to the total number of bachelors and spinsters respectively and a {{TextTerm|remarriage rate|7|520|OtherIndexEntry=rate, remarriage}} which relates the number of remarriages to the total number qf widowed and divorced persons. Similar rates can be computed by age or age-group of husband and wife whenever marriages are classified by {{TextTerm|age at marriage|8|520|OtherIndexEntry=marriage, age at}} of each spouse; such rates are called {{TextTerm|age-specific marriage rates|9|520|IndexEntry=age-specific marriage rate|OtherIndexEntry=marriage, rate age-specific}}. The tabulation of spouses by age at marriage permits the computation of the {{TextTerm|mean age at marriage|10|520|OtherIndexEntry=age at marriage, mean}} or {{TextTerm|average age at marriage|10|520|2|OtherIndexEntry=age at marriage, average}} for the given year or period. {{TextTerm|Age differences between spouses|11|520|IndexEntry=age difference between spouses|OtherIndexEntry=spouses, age difference between}} can be analyzed from a classification of the {{TextTerm|combined ages|12|520|OtherIndexEntry=ages, combined}} of the spouses.
+
ความถี่การแต่งงานเชิงสัมพัทธ์วัดได้ด้วย{{TextTerm|อัตราการแต่งงาน|1|520|IndexEntry=อัตราการแต่งงาน}} หรือ{{TextTerm|อัตราสมรส|1|520|2|IndexEntry=อัตราสมรส}} ซึ่งรวม{{TextTerm|อัตราการแต่งงานอย่างหยาบ|2|520}}ที่ให้อัตราส่วนของจำนวนรวมของการแต่งงานทั้งหมดต่อจำนวนประชากรทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง {{TextTerm|ภาวะสมรสชาย|3|520}}และ{{TextTerm|ภาวะสมรสหญิง|4|520}}มีความแตกต่างกัน และสามารถศึกษาแยกจากกัน ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะสมรสชาย|3|520|2}}และ{{TextTerm|ภาวะสมรสหญิง|4|520|2}}ใช้สำหรับความถึ่การแต่งงานของเพศต่างกัน {{TextTerm|อัตราแต่งงานรายเพศ|5|520}}คำนวณได้ด้วยการใช้ประชากรที่เหมาะสมของแต่ละเพศเป็นฐาน เป็นเรื่องปรกติที่จะแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|อัตราการแต่งงานครั้งแรก|6|520}} ซึ่งโยงจำนวนของ{{NonRefTerm|ชายโสด}}หรือ{{NonRefTerm|หญิงโสด}} ({{RefNumber|51|5|3}} และ 4) ที่แต่งงานไปยังจำนวนรวมของชายโดและหญิงโสดตามลำดับ และ{{TextTerm|อัตราการแต่งงานใหม่|7|520}}ซึ่งโยงจำนวนการแต่งงานใหม่ไปยังจำนวนรวมของคนที่เป็นม่ายหรือหย่าแล้ว อัตราคล้ายๆ กันสามารถคำนวณได้เป็นรายอายุหรือรายกลุ่มอายุของสามี หรือภรรยา เมื่อจำแนกประเภทการแต่งงานโดย{{TextTerm|อายุแต่งงาน|8|520}}ของคู่ครองแต่ละคน อัตราเช่นนั้นเรียกว่า{{TextTerm|อัตราแต่งงานรายอายุ|9|520|IndexEntry=อัตราแต่งงานรายอายุ}} การทำตารางไขว้ของคู่ครองโดยอายุที่แต่งงานทำให้สามารถคำนวณ{{TextTerm|อายุแต่งงานเฉลี่ย|10|520}} หรือ{{TextTerm|อายุเฉลี่ยเมื่อแต่งงาน|10|520|2}}สำหรับปีหนึ่งหรือช่วงเวลาหนึ่ง {{TextTerm|ความแตกต่างของอายุระหว่างคู่ครอง|11|520|IndexEntry=ความแตกต่างของอายุระหว่างคู่ครอง}}สามารถวิเคราะห์ได้จากการจำแนกประเภทของ{{TextTerm|อายุรวมกัน|12|520}}ของคู่ครอง
{{Note|2| Sometimes the crude marriage rate is obtained by relating the number of newly married persons to the total population.}}
+
{{Note|2| บางครั้งอัตราการแต่งงานอย่างหยาบได้มาจากการเชื่อมโยงจำนวนของผู้แต่งงานใหม่ต่อจำนวนประชากรทั้งหมด}}
{{Note|9| The terms {{NoteTerm|marriage frequencies}} and {{NoteTerm|first marriage frequencies}} have sometimes been used to refer to the ratio of the number of marriages or first marriages at a certain age, to the total number of persons of that age, irrespective of their marital status. {{NoteTerm|Cumulated marriage frequencies}} and {{NoteTerm|cumulated first marriage frequencies}} are used in cohort studies.}}
+
{{Note|9| คำว่า{{NoteTerm|ความถี่การแต่งงาน}} และ{{NoteTerm|ความถี่การแต่งงานครั้งแรก}} บางครั้งนำไปใช้เพื่อเชื่อมโยงอัตราส่วนของจำนวนการแต่งงานหรือการแต่งงานครั้งแรกที่อายุใดอายุหนึ่งต่อจำนวนประชากรทั้งหมดที่อายุนั้น โดยไม่คำนึงถึงสถานภาพสมรสของเขาเหล่านั้น {{NoteTerm|ความถี่การแต่งงานสะสม}} และ{{NoteTerm|ความถี่การแต่งงานครั้งแรกสะสม}} นำมาใช้ในการศึกษาเชิงรุ่น}}
  
 
=== 521 ===
 
=== 521 ===

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 05:46, 1 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


520

ความถี่การแต่งงานเชิงสัมพัทธ์วัดได้ด้วย อัตราการแต่งงาน1 หรือ อัตราสมรส1 ซึ่งรวม อัตราการแต่งงานอย่างหยาบ2ที่ให้อัตราส่วนของจำนวนรวมของการแต่งงานทั้งหมดต่อจำนวนประชากรทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง ภาวะสมรสชาย3และ ภาวะสมรสหญิง4มีความแตกต่างกัน และสามารถศึกษาแยกจากกัน ศัพท์คำว่า ภาวะสมรสชาย3และ ภาวะสมรสหญิง4ใช้สำหรับความถึ่การแต่งงานของเพศต่างกัน อัตราแต่งงานรายเพศ5คำนวณได้ด้วยการใช้ประชากรที่เหมาะสมของแต่ละเพศเป็นฐาน เป็นเรื่องปรกติที่จะแยกความแตกต่างระหว่าง อัตราการแต่งงานครั้งแรก6 ซึ่งโยงจำนวนของชายโสดหรือหญิงโสด (515-3 และ 4) ที่แต่งงานไปยังจำนวนรวมของชายโดและหญิงโสดตามลำดับ และ อัตราการแต่งงานใหม่7ซึ่งโยงจำนวนการแต่งงานใหม่ไปยังจำนวนรวมของคนที่เป็นม่ายหรือหย่าแล้ว อัตราคล้ายๆ กันสามารถคำนวณได้เป็นรายอายุหรือรายกลุ่มอายุของสามี หรือภรรยา เมื่อจำแนกประเภทการแต่งงานโดย อายุแต่งงาน8ของคู่ครองแต่ละคน อัตราเช่นนั้นเรียกว่า อัตราแต่งงานรายอายุ9 การทำตารางไขว้ของคู่ครองโดยอายุที่แต่งงานทำให้สามารถคำนวณ อายุแต่งงานเฉลี่ย10 หรือ อายุเฉลี่ยเมื่อแต่งงาน10สำหรับปีหนึ่งหรือช่วงเวลาหนึ่ง ความแตกต่างของอายุระหว่างคู่ครอง11สามารถวิเคราะห์ได้จากการจำแนกประเภทของ อายุรวมกัน12ของคู่ครอง

  • 2. บางครั้งอัตราการแต่งงานอย่างหยาบได้มาจากการเชื่อมโยงจำนวนของผู้แต่งงานใหม่ต่อจำนวนประชากรทั้งหมด
  • 9. คำว่าความถี่การแต่งงาน และความถี่การแต่งงานครั้งแรก บางครั้งนำไปใช้เพื่อเชื่อมโยงอัตราส่วนของจำนวนการแต่งงานหรือการแต่งงานครั้งแรกที่อายุใดอายุหนึ่งต่อจำนวนประชากรทั้งหมดที่อายุนั้น โดยไม่คำนึงถึงสถานภาพสมรสของเขาเหล่านั้น ความถี่การแต่งงานสะสม และความถี่การแต่งงานครั้งแรกสะสม นำมาใช้ในการศึกษาเชิงรุ่น

521

The prevalence of marriage in a generation of men or women is measured by the proportion never married1. This is usually equivalent to the proportion remaining single2 at an age such as 50 after which first marriages are rare. The proportion remaining single at each age in a cohort can be computed from first marriage probabilities3, i.e. the proportion of single persons at exact age x who will marry before exact age x + 1, assuming that there is no mortality. For practical purposes, however, the proportion remaining single is usually obtained from census data as the proportion single4 at that age in the corresponding cohort. When a classification of first marriages by age of the spouses is available the mean age at first marriage5, the median age at first marriage6 and the modal age at first marriage7 can all be computed. In the absence of data on the timing of marriages, it is often possible to compute a singulate mean age at marriage8 from census data on the proportions single by age.

522

Nuptiality tables1 resemble life tables, and combine various nuptiality functions. The gross nuptiality table1 includes, by age, the first marriage probabilities (521-3) and proportions remaining single (521-2), as well as the number of first marriages2 in a cohort of given size subjected to the prevailing nuptiality on the assumption that there is no mortality; it also gives the numbers remaining single3 at various ages. The net nuptiality table4 takes mortality as well as nuptiality into account, and is a particular case of double decrement tables (153-4). Such a table includes the single survivors5, the ever-married survivors6, the probability of single survival7 and the expectation of unmarried life8.

523

A divorce rate1 can be calculated in different ways. The crude divorce rate2 gives the ratio of the number of divorces to the average population during a given period. The ratio of divorces to the number of married couples is sometimes computed and may be called the divorce rate for married persons3. If divorces are tabulated by the age of the divorced person or by duration of marriage, age-specific divorce rates4 and duration-specific divorce rates5 can be computed. Another index of divorce frequency is obtained by computing the number of divorces per new marriage6.

  • 6. This is a period measure which relates the divorces of one year, either to the marriages of that year, or to a weighted average of the marriages of several years. In cohort analysis, it is possible to relate divorces in successive years to an initial marriage cohort to compute the cumulated proportion divorced.

524

When the requisite basic statistics are available, marriage dissolution probabilities1 may be computed, showing for each sex the probability of the marriage being dissolved by death or divorce according to duration of marriage2; marriage dissolution tables are an application of double decrement life tables. Remarriage tables for widowed and divorced persons can also be computed, but the most common indices of remarriage are the relative frequency of remarriage3, i.e. the proportion of widowed or divorced persons who remarry, often given by age at widowhood or divorce, and by the interval between widowhood or divorce and remarriage. The latter information enables one to compute the mean interval between widowhood and remarriage4 and the mean interval between divorce and remarriage5.


* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=52&oldid=278"