The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

50

จาก Demopædia
รุ่นปรับปรุงเมื่อ 09:48, 25 เมษายน 2556 โดย Patama VAPATTANAWONG (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) (หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' <!--'''50'''--> {{CurrentStatus}} {{Unmodified edition II}} {{Summary}} __NOTOC__ === 501 === การศึกษาเกี่...')
(ต่าง) ←รุ่นปรับปรุงก่อนหน้า | รุ่นล่าสุด (ต่าง) | รุ่นปรับปรุงถัดไป→ (ต่าง)


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


501

การศึกษาเกี่ยวกับ ภาวะสมรส1จะเกี่ยวกับความถึ่ของ การแต่งงาน2 นั่นคือ การอยู่เป็นคู่3ระหว่างเพศตรงข้ามกันซึ่งเกี่ยวข้องกับสิทธิและข้อผูกพันที่กำหนดไว้โดยกฎหมายหรือประเพณี เกี่ยวกับลักษณะของบุคคลอยู่รวมกันในการแต่งงาน และเกี่ยวกับการแยกกันของคู่เช่นนั้น การศึกษาเรื่องนี้อาจขยายต่อไปให้รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับการอยู่เป็นคู่ฉันท์สามีภรรยา (503-8) รูปแบบอื่นๆ เมื่อความถี่ของการอยู่เป็นคู่เช่นนั้นทำให้เกิดความจำเป็นที่จะต้องรวมไว้ด้วย การแต่งงาน4 หรือ การสมรส4เป็นพิธีการที่กำหนดขึ้นโดยกฎหมายหรือประเพณีซึ่งทำให้การอยู่เป็นคู่ระหว่างผู้ชายกับผู้หญิงเช่นนั้นเรียกว่า คู่ครอง5 ได้แก่ สามี6และ ภรรยา7 คู่ครองที่อยู่ด้วยกันเรียกว่า คู่แต่งงาน8

  • 6. ผู้ชายเมื่อขณะการแต่งงานเรียกเจ้าบ่าว
  • 7. ผู้หญิงเมื่อขณะการแต่งงานเรียกเจ้าสาว

502

กฎหมายแต่งงาน1 หรือ ประเพณีแต่งงาน2แตกต่างกันไปในแต่ละสังคม สังคมที่บุคคลหนึ่งอาจแต่งงานกับบุคคลเพศตรงข้ามได้เพียงคนเดียวเรียกว่า การมีคู่ครองคนเดียว3 สังคมที่บุคคลหนึ่งอาจแต่งงานกับหลายคนพร้อมๆ กันเรียกว่า การมีคู่ครองหลายคน4 มีความแตกต่างระหว่างสังคม การมีสามีหลายคน5ซึ่งผู้หญิคนหนึ่งอาจมีสามีหลายคน กับสังคม การมีภรรยาหลายคน6ซึ่งผู้ชายคนหนึ่งอาจมีภรรยาหลายคน ศัพท์คำว่า"การมีคู่ครองหลายคน"มักใช้ในความหมายของการมีภรรยาหลายคน

503

ในบางประเทศการอยู่เป็นคู่ทางกฎหมายจะทำได้โดย การแต่งงานทางพลเรือน1ที่กระทำโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้น ในบางประเทศ การแต่งงานทางศาสนา2ที่เป็นไปตามกฎของศาสนาได้รับว่ามีผลในทางกฎหมาย อาจต้องมีวิธีการยอมรับทางกฎหมายและทางสังคมภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ในแต่ละประเทศเพื่อคู่อยู่กินด้วยกันซึ่งไม่มีพิธีการทางกฎหมายหรือทางศาสนาเคร่งครัดมีความมั่นคงขึ้น ตัวอย่างเช่น การแต่งงานเชิงประเพณี3 หรือ การแต่่งงานโดยกฎที่ยอมรับ3ตามประเพณีท้องถิ่น ประเภทของความสัมพันธ์แบบต่างๆ และการยอมรับทางสังคมระดับต่างๆ นัยยะในศัพท์ที่ใช้กับการอยู่เป็นคู่แบบต่างๆ แต่ความสำคัญของคำเหล่านี้ผันแปรแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละประเทศ ศัพท์คำว่า การอยู่เป็นคู่แบบสมยอม4มีนัยยะว่าคู่อยู่กินนั้นได้รับการยอมรับทางสังคม ศัพท์คำว่า การแต่งงานฉันท์เพื่อน4ก็มีความหมายคล้ายๆ กันนั้น ศัพท์คำว่า การอยู่เป็นคู่แบบเสรี5 และ การอยู่เป็นคู่ชั่วคราว6 ทั้งสองคำนี้มีนัยยะว่าคู่อยู่กินนั้นไม่เป็นการถาวร ซึ่งอาจรวมหรือไม่รวม การอยู่กินด้วยกัน7ไว้ด้วยก็ได้ บุคคลสองคนเพศตรงข้ามกันอยู่ด้วยกันแบบเป็นคู่มั่นคง ไม่ว่าจะตามกฎหมายหรือไม่เรียกว่า คู่8 ศัพท์คำว่า การอยู่เป็นคู่เยี่ยงสามีภรรยา8ใช้โดยนักประชากรศาสตร์เพื่อรวบรวมการอยู่เป็นคู่ทั้งที่ตามกฎหมายและพวกที่อยู่เป็นคู่มั่นคงที่ไม่ตามกฎหมาย

  • 3. Concubinage, n.: a type of illegal union. A concubine in the restricted sense is a woman with an accepted conjugal status inferior to that of a legally recognized wife, particularly in polygynous societies. In other societies, the word concubine is sometimes used loosely to denote any woman other than a wife living in conjugal union with a man. Today such terms as companion or mate are preferred.

504

In many countries a minimum age at marriage1 is laid down by law. The age differs from country to country and may be different for the two sexes. Marriages among persons closely related by blood are called consanguineous marriages2 and are generally prohibited by either law or custom. Persons who are forbidden to marry one another for these reasons are said to be within the prohibited degrees of consanguinity3.

505

In some countries the publication of banns1 or intent to marry1 is a necessary preliminary to a marriage (501-4), giving public notice to persons interested, who may then oppose the marriage if they have reason to do so. In many countries a marriage license2 must be obtained before the marriage ceremony can take place. A marriage certificate3 is usually delivered to the newly married couple4 after the ceremony. The consummation of marriage5 has occurred, or a marriage has been consummated5 when sexual relations have taken place between the spouses.

  • 1. Before the celebration of the marriage the future spouses are said to be engaged or betrothed, words which come from the custom of engagement or betrothal which consists of a more or less formal exchange of promise to marry.

506

Endogamy1 exists where both spouses must belong to the same group (e.g. tribe, clan). The term is also used to denote a tendency for spouses to be members of the same social or geographical group or isolate2, which is generally of limited size. The opposite requirement or tendency is called exogamy3. Mixed marriages4 are marriages between persons of different nationalities, races, religions, etc. When marriage is contracted between persons with certain common characteristics, social, physical or mental, it is called homogamy5, the opposite is called heterogamy6.

  • 1. Endogamy, n. - endogamous, adj.
  • 3. Exogamy, n. - exogamous, adj.
  • 5. Homogamy, n. - homogamous, adj.
  • 6. Heterogamy, n. - heterogamous, adj.

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=50&oldid=266"