The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "50"

จาก Demopædia
(503)
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 20: แถว 20:
  
 
ในบางประเทศการอยู่เป็นคู่ทางกฎหมายจะทำได้โดย{{TextTerm|การแต่งงานทางพลเรือน|1|503}}ที่กระทำโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้น ในบางประเทศ{{TextTerm|การแต่งงานทางศาสนา|2|503}}ที่เป็นไปตามกฎของศาสนาได้รับว่ามีผลในทางกฎหมาย อาจต้องมีวิธีการยอมรับทางกฎหมายและทางสังคมภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ในแต่ละประเทศเพื่อคู่อยู่กินด้วยกันซึ่งไม่มีพิธีการทางกฎหมายหรือทางศาสนาเคร่งครัดมีความมั่นคงขึ้น ตัวอย่างเช่น {{TextTerm|การแต่งงานเชิงประเพณี|3|503|IndexEntry=การแต่งงานเชิงประเพณี}} หรือ{{TextTerm|การแต่่งงานโดยกฎที่ยอมรับ|3|503|2|IndexEntry=การแต่่งงานโดยกฎที่ยอมรับ}}ตามประเพณีท้องถิ่น ประเภทของความสัมพันธ์แบบต่างๆ และการยอมรับทางสังคมระดับต่างๆ นัยยะในศัพท์ที่ใช้กับการอยู่เป็นคู่แบบต่างๆ แต่ความสำคัญของคำเหล่านี้ผันแปรแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละประเทศ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การอยู่เป็นคู่แบบสมยอม|4|503}}มีนัยยะว่าคู่อยู่กินนั้นได้รับการยอมรับทางสังคม ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การแต่งงานฉันท์เพื่อน|4|503|2}}ก็มีความหมายคล้ายๆ กันนั้น ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การอยู่เป็นคู่แบบเสรี|5|503}} และ{{TextTerm|การอยู่เป็นคู่ชั่วคราว|6|503}} ทั้งสองคำนี้มีนัยยะว่าคู่อยู่กินนั้นไม่เป็นการถาวร ซึ่งอาจรวมหรือไม่รวม{{TextTerm|การอยู่กินด้วยกัน|7|503}}ไว้ด้วยก็ได้ บุคคลสองคนเพศตรงข้ามกันอยู่ด้วยกันแบบเป็นคู่มั่นคง ไม่ว่าจะตามกฎหมายหรือไม่เรียกว่า{{TextTerm|คู่|8|503}} ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การอยู่เป็นคู่เยี่ยงสามีภรรยา|8|503|2}}ใช้โดยนักประชากรศาสตร์เพื่อรวบรวมการอยู่เป็นคู่ทั้งที่ตามกฎหมายและพวกที่อยู่เป็นคู่มั่นคงที่ไม่ตามกฎหมาย
 
ในบางประเทศการอยู่เป็นคู่ทางกฎหมายจะทำได้โดย{{TextTerm|การแต่งงานทางพลเรือน|1|503}}ที่กระทำโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้น ในบางประเทศ{{TextTerm|การแต่งงานทางศาสนา|2|503}}ที่เป็นไปตามกฎของศาสนาได้รับว่ามีผลในทางกฎหมาย อาจต้องมีวิธีการยอมรับทางกฎหมายและทางสังคมภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ในแต่ละประเทศเพื่อคู่อยู่กินด้วยกันซึ่งไม่มีพิธีการทางกฎหมายหรือทางศาสนาเคร่งครัดมีความมั่นคงขึ้น ตัวอย่างเช่น {{TextTerm|การแต่งงานเชิงประเพณี|3|503|IndexEntry=การแต่งงานเชิงประเพณี}} หรือ{{TextTerm|การแต่่งงานโดยกฎที่ยอมรับ|3|503|2|IndexEntry=การแต่่งงานโดยกฎที่ยอมรับ}}ตามประเพณีท้องถิ่น ประเภทของความสัมพันธ์แบบต่างๆ และการยอมรับทางสังคมระดับต่างๆ นัยยะในศัพท์ที่ใช้กับการอยู่เป็นคู่แบบต่างๆ แต่ความสำคัญของคำเหล่านี้ผันแปรแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละประเทศ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การอยู่เป็นคู่แบบสมยอม|4|503}}มีนัยยะว่าคู่อยู่กินนั้นได้รับการยอมรับทางสังคม ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การแต่งงานฉันท์เพื่อน|4|503|2}}ก็มีความหมายคล้ายๆ กันนั้น ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การอยู่เป็นคู่แบบเสรี|5|503}} และ{{TextTerm|การอยู่เป็นคู่ชั่วคราว|6|503}} ทั้งสองคำนี้มีนัยยะว่าคู่อยู่กินนั้นไม่เป็นการถาวร ซึ่งอาจรวมหรือไม่รวม{{TextTerm|การอยู่กินด้วยกัน|7|503}}ไว้ด้วยก็ได้ บุคคลสองคนเพศตรงข้ามกันอยู่ด้วยกันแบบเป็นคู่มั่นคง ไม่ว่าจะตามกฎหมายหรือไม่เรียกว่า{{TextTerm|คู่|8|503}} ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การอยู่เป็นคู่เยี่ยงสามีภรรยา|8|503|2}}ใช้โดยนักประชากรศาสตร์เพื่อรวบรวมการอยู่เป็นคู่ทั้งที่ตามกฎหมายและพวกที่อยู่เป็นคู่มั่นคงที่ไม่ตามกฎหมาย
{{Note|3| {{NoteTerm|Concubinage}}, n.: a type of illegal union. A concubine in the restricted sense is a woman with an accepted conjugal status inferior to that of a legally recognized wife, particularly in polygynous societies. In other societies, the word concubine is sometimes used loosely to denote any woman other than a wife living in conjugal union with a man. Today such terms as {{NoteTerm|companion}} or {{NoteTerm|mate}} are preferred.}}
+
{{Note|3| {{NoteTerm|การเป็นภรรยาน้อย}} (concubinage) การอยู่กินอยางไม่ถูกต้องตามกฎหมายประเภทหนึ่ง ภรรยาน้อยในความหมายที่จำกัดคือผู้หญิงที่มีสถานภาพการแต่งงานที่ยอมรับกันแล้วว่าด้อยกว่าภรรยาที่ได้รับการยอมรับตามกฎหมาย โดยเฉพาะในสังคมที่ผู้ชายสามารถมีภรรยาได้หลายคน (polygynous)  ในบางสังคม คำว่าภรรยาน้อยบางครั้งใช้อย่างหลวมๆ เพื่อหมายถึงผู้หญิงคนอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาที่อยู่กินกับผู้ชาย  ทุกวันนี้นิยมใช้ศัพท์คำว่า{{NoteTerm|เพื่อนใจ}} หรือ{{NoteTerm|เพื่อน}}มากกว่า}}
  
 
=== 504 ===
 
=== 504 ===
แถว 29: แถว 29:
  
 
ในบางประเทศ{{TextTerm|หมายแจ้งการแต่งงาน|1|505}} หรือ{{TextTerm|เจตนาแต่งงาน|1|505|2}}เป็นสิ่งจำเป็นก่อนที่จะมี{{NonRefTerm|การแต่งงาน}} ({{RefNumber|50|1|4}}) เป็นการแจ้งต่อสาธารณะให้บุคคลที่สนใจซึ่งอาจคัดค้านการแต่งงานนั้นถ้ามีเหตุผลที่จะทำเช่นนั้น ในหลายประเทศ{{TextTerm|ใบอนุญาตแต่งงาน|2|505}}ต้องได้รับก่อนที่จะมีพิธีแต่งงาน ปรกติ{{TextTerm|ใบทะเบียนสมรส|3|505}}จะนำส่งให้แก่{{TextTerm|คู่แต่งงานใหม่|4|505}}หลังจากพิธีกรรม {{TextTerm|ความสมบูรณ์ของการแต่งงาน|5|505}}เกิดขึ้น หรือการแต่งงานได้สำเร็จบริบูรณ์เมื่อคู่แต่งงานได้มีความสัมพันธ์ทางเพศกันแล้ว
 
ในบางประเทศ{{TextTerm|หมายแจ้งการแต่งงาน|1|505}} หรือ{{TextTerm|เจตนาแต่งงาน|1|505|2}}เป็นสิ่งจำเป็นก่อนที่จะมี{{NonRefTerm|การแต่งงาน}} ({{RefNumber|50|1|4}}) เป็นการแจ้งต่อสาธารณะให้บุคคลที่สนใจซึ่งอาจคัดค้านการแต่งงานนั้นถ้ามีเหตุผลที่จะทำเช่นนั้น ในหลายประเทศ{{TextTerm|ใบอนุญาตแต่งงาน|2|505}}ต้องได้รับก่อนที่จะมีพิธีแต่งงาน ปรกติ{{TextTerm|ใบทะเบียนสมรส|3|505}}จะนำส่งให้แก่{{TextTerm|คู่แต่งงานใหม่|4|505}}หลังจากพิธีกรรม {{TextTerm|ความสมบูรณ์ของการแต่งงาน|5|505}}เกิดขึ้น หรือการแต่งงานได้สำเร็จบริบูรณ์เมื่อคู่แต่งงานได้มีความสัมพันธ์ทางเพศกันแล้ว
{{Note|1| Before the celebration of the marriage the future spouses are said to be {{NoteTerm|engaged}} or {{NoteTerm|betrothed}}, words which come from the custom of {{NoteTerm|engagement}} or {{NoteTerm|betrothal}} which consists of a more or less formal exchange of promise to marry.}}
+
{{Note|1| ก่อนที่จะมีพิธีแต่งงาน คู่สมรสในอนาคตจะ{{NoteTerm|หมั้น}} หรือ{{NoteTerm|ทำสัญญา (betrothed)}} กันไว้ก่อน ศัพท์คำนี้มาจากประเพณีที่มี{{NoteTerm|การหมั้น}} หรือ{{NoteTerm|การทำสัญญาว่าจะแต่งงาน (betrothal)}} ซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนอย่างเป็นทางการในเรื่องสัญญาที่จะแต่งงานกัน}}
  
 
=== 506 ===
 
=== 506 ===
  
{{TextTerm|การแต่งงานในกลุ่ม|1|506}}คงอยู่ในที่ทั้งคู่แต่งงานอยู่ในกลุ่มเดียวกัน (เช่น เผ่า วงศ์ตระกูล) ศัพท์คำนี้ใช้เพื่อหมายถึงความโน้มเอียงที่คู่แต่งงานจะเป็นสมาชิกของกลุ่มพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ หรือกลุ่มสังคมเดียวกัน หรือ{{TextTerm|กลุ่มคนที่แยกออกต่างหาก|2|506}} ซึ่งโดยทั่วไปจะมีขนาดจำกัด ลักษณะหรือความโน้มเอียงในทางตรงข้ามเรียกว่า{{TextTerm|การแต่งงานนอกกลุ่ม|3|506}} {{TextTerm|การแต่งงานผสม|4|506|IndexEntry=การแต่งงานผสม}}คือการแต่งงานระหว่างบุคคลที่มีสัญชาติต่างกัน เชื้อชาติต่างกัน ศาสนาต่างกัน ฯลฯ เมื่อการแต่งงานเป็นการจับคู่ระหว่างบุคคลที่มีลักษณะเหมือนกันทางสังคม ทางกายภาพ หรือทางจิตใจ จะเรียกว่า {{TextTerm|homogamy|5|506}} ตรงข้ามกับคำนี้เรียกว่า {{TextTerm|heterogamy|6|506}}
+
{{TextTerm|การแต่งงานในกลุ่ม|1|506}}คงอยู่ในที่ทั้งคู่แต่งงานอยู่ในกลุ่มเดียวกัน (เช่น เผ่า วงศ์ตระกูล) ศัพท์คำนี้ใช้เพื่อหมายถึงความโน้มเอียงที่คู่แต่งงานจะเป็นสมาชิกของกลุ่มพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ หรือกลุ่มสังคมเดียวกัน หรือ{{TextTerm|กลุ่มคนที่แยกออกต่างหาก|2|506}} ซึ่งโดยทั่วไปจะมีขนาดจำกัด ลักษณะหรือความโน้มเอียงในทางตรงข้ามเรียกว่า{{TextTerm|การแต่งงานนอกกลุ่ม|3|506}} {{TextTerm|การแต่งงานผสม|4|506|IndexEntry=การแต่งงานผสม}}คือการแต่งงานระหว่างบุคคลที่มีสัญชาติต่างกัน เชื้อชาติต่างกัน ศาสนาต่างกัน ฯลฯ เมื่อการแต่งงานเป็นการจับคู่ระหว่างบุคคลที่มีลักษณะเหมือนกันทางสังคม ทางกายภาพ หรือทางจิตใจ จะเรียกว่า {{TextTerm|การแต่งงานสมลักษณ์|5|506}} ตรงข้ามกับคำนี้เรียกว่า {{TextTerm|การแต่งงานต่างลักษณ์|6|506}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 16:21, 13 มกราคม 2557


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


501

การศึกษาเกี่ยวกับ ภาวะสมรส1จะเกี่ยวกับความถึ่ของ การแต่งงาน2 นั่นคือ การอยู่เป็นคู่3ระหว่างเพศตรงข้ามกันซึ่งเกี่ยวข้องกับสิทธิและข้อผูกพันที่กำหนดไว้โดยกฎหมายหรือประเพณี เกี่ยวกับลักษณะของบุคคลอยู่รวมกันในการแต่งงาน และเกี่ยวกับการแยกกันของคู่เช่นนั้น การศึกษาเรื่องนี้อาจขยายต่อไปให้รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับการอยู่เป็นคู่ฉันท์สามีภรรยา (503-8) รูปแบบอื่นๆ เมื่อความถี่ของการอยู่เป็นคู่เช่นนั้นทำให้เกิดความจำเป็นที่จะต้องรวมไว้ด้วย การแต่งงาน4 หรือ การสมรส4เป็นพิธีการที่กำหนดขึ้นโดยกฎหมายหรือประเพณีซึ่งทำให้การอยู่เป็นคู่ระหว่างผู้ชายกับผู้หญิงเช่นนั้นเรียกว่า คู่ครอง5 ได้แก่ สามี6และ ภรรยา7 คู่ครองที่อยู่ด้วยกันเรียกว่า คู่แต่งงาน8

  • 6. ผู้ชายเมื่อขณะการแต่งงานเรียกเจ้าบ่าว
  • 7. ผู้หญิงเมื่อขณะการแต่งงานเรียกเจ้าสาว

502

กฎหมายแต่งงาน1 หรือ ประเพณีแต่งงาน2แตกต่างกันไปในแต่ละสังคม สังคมที่บุคคลหนึ่งอาจแต่งงานกับบุคคลเพศตรงข้ามได้เพียงคนเดียวเรียกว่า การมีคู่ครองคนเดียว3 สังคมที่บุคคลหนึ่งอาจแต่งงานกับหลายคนพร้อมๆ กันเรียกว่า การมีคู่ครองหลายคน4 มีความแตกต่างระหว่างสังคม การมีสามีหลายคน5ซึ่งผู้หญิคนหนึ่งอาจมีสามีหลายคน กับสังคม การมีภรรยาหลายคน6ซึ่งผู้ชายคนหนึ่งอาจมีภรรยาหลายคน ศัพท์คำว่า"การมีคู่ครองหลายคน"มักใช้ในความหมายของการมีภรรยาหลายคน

503

ในบางประเทศการอยู่เป็นคู่ทางกฎหมายจะทำได้โดย การแต่งงานทางพลเรือน1ที่กระทำโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้น ในบางประเทศ การแต่งงานทางศาสนา2ที่เป็นไปตามกฎของศาสนาได้รับว่ามีผลในทางกฎหมาย อาจต้องมีวิธีการยอมรับทางกฎหมายและทางสังคมภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ในแต่ละประเทศเพื่อคู่อยู่กินด้วยกันซึ่งไม่มีพิธีการทางกฎหมายหรือทางศาสนาเคร่งครัดมีความมั่นคงขึ้น ตัวอย่างเช่น การแต่งงานเชิงประเพณี3 หรือ การแต่่งงานโดยกฎที่ยอมรับ3ตามประเพณีท้องถิ่น ประเภทของความสัมพันธ์แบบต่างๆ และการยอมรับทางสังคมระดับต่างๆ นัยยะในศัพท์ที่ใช้กับการอยู่เป็นคู่แบบต่างๆ แต่ความสำคัญของคำเหล่านี้ผันแปรแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละประเทศ ศัพท์คำว่า การอยู่เป็นคู่แบบสมยอม4มีนัยยะว่าคู่อยู่กินนั้นได้รับการยอมรับทางสังคม ศัพท์คำว่า การแต่งงานฉันท์เพื่อน4ก็มีความหมายคล้ายๆ กันนั้น ศัพท์คำว่า การอยู่เป็นคู่แบบเสรี5 และ การอยู่เป็นคู่ชั่วคราว6 ทั้งสองคำนี้มีนัยยะว่าคู่อยู่กินนั้นไม่เป็นการถาวร ซึ่งอาจรวมหรือไม่รวม การอยู่กินด้วยกัน7ไว้ด้วยก็ได้ บุคคลสองคนเพศตรงข้ามกันอยู่ด้วยกันแบบเป็นคู่มั่นคง ไม่ว่าจะตามกฎหมายหรือไม่เรียกว่า คู่8 ศัพท์คำว่า การอยู่เป็นคู่เยี่ยงสามีภรรยา8ใช้โดยนักประชากรศาสตร์เพื่อรวบรวมการอยู่เป็นคู่ทั้งที่ตามกฎหมายและพวกที่อยู่เป็นคู่มั่นคงที่ไม่ตามกฎหมาย

  • 3. การเป็นภรรยาน้อย (concubinage) การอยู่กินอยางไม่ถูกต้องตามกฎหมายประเภทหนึ่ง ภรรยาน้อยในความหมายที่จำกัดคือผู้หญิงที่มีสถานภาพการแต่งงานที่ยอมรับกันแล้วว่าด้อยกว่าภรรยาที่ได้รับการยอมรับตามกฎหมาย โดยเฉพาะในสังคมที่ผู้ชายสามารถมีภรรยาได้หลายคน (polygynous) ในบางสังคม คำว่าภรรยาน้อยบางครั้งใช้อย่างหลวมๆ เพื่อหมายถึงผู้หญิงคนอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาที่อยู่กินกับผู้ชาย ทุกวันนี้นิยมใช้ศัพท์คำว่าเพื่อนใจ หรือเพื่อนมากกว่า

504

ในหลายประเทศ อายุแต่งงานต่ำสุด1กำหนดไว้โดยกฎหมาย อายุขั้นต่ำแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและอาจแตกต่างกันระหวางเพศทั้งสอง การแต่งงานในกลุ่มคนที่มีสายเลือดใกล้ชิดกันเรียกว่าเป็น การแต่งงานแบบร่วมสายโลหิตเดียวกัน2 และโดยทั่วไปจะถูกห้ามโดยกฎหมายหรือโดยประเพณี บุคคลผู้ถูกห้ามมิให้แต่งงานกันด้วยเหตุผลนี้กล่าวได้ว่าอยู่ภายใน ระดับของการร่วมสายโลหิต3ที่ถูกห้าม

505

ในบางประเทศ หมายแจ้งการแต่งงาน1 หรือ เจตนาแต่งงาน1เป็นสิ่งจำเป็นก่อนที่จะมีการแต่งงาน (501-4) เป็นการแจ้งต่อสาธารณะให้บุคคลที่สนใจซึ่งอาจคัดค้านการแต่งงานนั้นถ้ามีเหตุผลที่จะทำเช่นนั้น ในหลายประเทศ ใบอนุญาตแต่งงาน2ต้องได้รับก่อนที่จะมีพิธีแต่งงาน ปรกติ ใบทะเบียนสมรส3จะนำส่งให้แก่ คู่แต่งงานใหม่4หลังจากพิธีกรรม ความสมบูรณ์ของการแต่งงาน5เกิดขึ้น หรือการแต่งงานได้สำเร็จบริบูรณ์เมื่อคู่แต่งงานได้มีความสัมพันธ์ทางเพศกันแล้ว

  • 1. ก่อนที่จะมีพิธีแต่งงาน คู่สมรสในอนาคตจะหมั้น หรือทำสัญญา (betrothed) กันไว้ก่อน ศัพท์คำนี้มาจากประเพณีที่มีการหมั้น หรือการทำสัญญาว่าจะแต่งงาน (betrothal) ซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนอย่างเป็นทางการในเรื่องสัญญาที่จะแต่งงานกัน

506

การแต่งงานในกลุ่ม1คงอยู่ในที่ทั้งคู่แต่งงานอยู่ในกลุ่มเดียวกัน (เช่น เผ่า วงศ์ตระกูล) ศัพท์คำนี้ใช้เพื่อหมายถึงความโน้มเอียงที่คู่แต่งงานจะเป็นสมาชิกของกลุ่มพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ หรือกลุ่มสังคมเดียวกัน หรือ กลุ่มคนที่แยกออกต่างหาก2 ซึ่งโดยทั่วไปจะมีขนาดจำกัด ลักษณะหรือความโน้มเอียงในทางตรงข้ามเรียกว่า การแต่งงานนอกกลุ่ม3 การแต่งงานผสม4คือการแต่งงานระหว่างบุคคลที่มีสัญชาติต่างกัน เชื้อชาติต่างกัน ศาสนาต่างกัน ฯลฯ เมื่อการแต่งงานเป็นการจับคู่ระหว่างบุคคลที่มีลักษณะเหมือนกันทางสังคม ทางกายภาพ หรือทางจิตใจ จะเรียกว่า การแต่งงานสมลักษณ์5 ตรงข้ามกับคำนี้เรียกว่า การแต่งงานต่างลักษณ์6

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=50&oldid=829"