The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "43"

จาก Demopædia
(431)
(431)
 
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 10: แถว 10:
  
 
โดยทั่วไปสถิติภาวะการตายรวบรวมมาจากการจดทะเบียนการตาย (cf. {{NonRefTerm|211}}) เมื่อการตายเกิดขึ้นจะมีการออก{{TextTerm|มรณบัตร|1|430}} สถิติจะรวบรวมจากข้อมูลที่ให้ไว้ในมรณบัตร ในบางประเทศแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ใบรับรองทางการแพทย์ของการตาย|2|430}}ที่ออกโดยบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้เสียชีวิตในระหว่างการเจ็บป่วยครั้งสุดท้าย และมรณบัตรปรกติที่ออกโดยนายทะเบียนเพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมาย
 
โดยทั่วไปสถิติภาวะการตายรวบรวมมาจากการจดทะเบียนการตาย (cf. {{NonRefTerm|211}}) เมื่อการตายเกิดขึ้นจะมีการออก{{TextTerm|มรณบัตร|1|430}} สถิติจะรวบรวมจากข้อมูลที่ให้ไว้ในมรณบัตร ในบางประเทศแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ใบรับรองทางการแพทย์ของการตาย|2|430}}ที่ออกโดยบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้เสียชีวิตในระหว่างการเจ็บป่วยครั้งสุดท้าย และมรณบัตรปรกติที่ออกโดยนายทะเบียนเพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมาย
{{Note|1| The first death statistics in England and Wales were compiled from {{NoteTerm|bills of mortality}} which were generally drawn up on the basis of {{NoteTerm|burial registers}}. In countries where vital registration is deficient, statistics can be gathered by the survey technique; questions may be asked on deaths during a reference period, generally the previous year; the {{NoteTerm|indirect estimation of mortality}} relies on such question as the {{NoteTerm|number of children surviving}} among {{NonRefTerm|children ever born}} ({{RefNumber|63|7|2}}), {{NoteTerm|orphanhood status}} or {{NoteTerm|widowhood status}}.}}
+
{{Note|1| สถิติการตายแรกๆ ในอังกฤษและเวลส์รวบรวมจาก{{NoteTerm|กฎหมายของการตาย}} ซึ่งโดยทั่วไปดึงข้อมูลมาจาก{{NoteTerm|ทะเบียนการฝังศพ}} ในประเทศที่ไม่มีการจดทะเบียนชีพ จะสามารถรวบรมสถิติได้โดยใช้วิธีการสำรวจ  คำถามอาจถามเกี่ยวกับการตายในช่วงระยะเวลาที่ระบุไว้ โดยทั่วไปใช้เวลาในช่วงปีก่อน  {{NoteTerm|การประมาณทางอ้อมของภาวะการตาย}}ต้องใช้คำถามต่อคำถาม อย่างเช่น{{NoteTerm|จำนวนบุตรที่ยังมีชีวิตอยู่}}ในจำนวน{{NonRefTerm|บุตรเกิดรอด}} ({{RefNumber|63|7|2}}) {{NoteTerm|สถานภาพความเป็นกำพร้า}} หรือ{{NoteTerm|สถานภาพความเป็นหม้าย}}}}
  
 
=== 431 ===
 
=== 431 ===
  
{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตาย|1|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตาย}}ใช้เพื่อศึกษาในรายละเอียดเรื่องภาวะการตายของช่วงเวลาหนึ่งหรือของรุ่นหนึ่ง หมายถึงความน่าจะเป็นที่บุคคลหนึ่งเมื่อมีอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x}} ปีพอดีจะตายก่อนที่จะมีอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x + n}} และจะแทนด้วยสัญลักษณ์ <sub>n</sub>q<sub>x</sub> ถ้า {{NonRefTerm|n}} = 1 เท่ากับเราพูดถึง{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตายรายปี|2|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตายรายปี}} ถ้า {{NonRefTerm|n}} = 5 เท่ากับ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตายช่วงห้าปี|3|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตายช่วงห้าปี}} {{TextTerm|อัตราตายฉับพลัน|4|431|OtherIndexEntry=อัตราตายโดยทันที}} หรือบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|แรงของภาวะการตาย|4|431|2}}เป็นขีดจำกัดของค่า <sub>n</sub>q<sub>x</sub> เมื่อ {{NonRefTerm|n}} เข้าใกล้ศูนย์ ส่วนที่เติมเต็มให้เป็น 1 ของความน่าจะเป็นของการตายจากอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x}} ไปถึงอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x + n}} คือ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการรอดชีพ|6|431}}ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ในการฉายภาพประชากร เราใช้{{TextTerm|อัตราส่วนรอดชีพ|7|431|IndexEntry=อัตราส่วนรอดชีพ}} ซึ่งเป็นความน่าจะเป็นที่คนในรุ่นเกิดเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่นต่างๆ จะมีชีวิตอยู่ n ปีต่อมา
+
{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตาย|1|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตาย}}ใช้เพื่อศึกษาในรายละเอียดเรื่องภาวะการตายของช่วงเวลาหนึ่งหรือของรุ่นหนึ่ง หมายถึงความน่าจะเป็นที่บุคคลหนึ่งเมื่อมีอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x}} ปีพอดีจะตายก่อนที่จะมีอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x + n}} และจะแทนด้วยสัญลักษณ์ <sub>n</sub>q<sub>x</sub> ถ้า {{NonRefTerm|n}} = 1 เท่ากับเราพูดถึง{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตายรายปี|2|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตายรายปี}} ถ้า {{NonRefTerm|n}} = 5 เท่ากับ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตายช่วงห้าปี|3|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตายช่วงห้าปี}} {{TextTerm|อัตราตายฉับพลัน|4|431|OtherIndexEntry=อัตราตายโดยทันที}} หรือบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|แรงของภาวะการตาย|4|431|2}}เป็นขีดจำกัดของค่า <sub>n</sub>q<sub>x</sub> เมื่อ {{NonRefTerm|n}} เข้าใกล้ศูนย์ {{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตายที่ฉายภาพ|5|431}}เป็นความน่าจะเป็นที่บุคคลรุ่นเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่น ตายระหว่างวันที่ 1 มกราคมของปีหนึ่งและ 1 มกราคมของอีกปีหนึ่ง ความน่าจะเป็นคำนี้มาจากการที่มันถูกนำไปใช้ในการคำนวณของการฉายภาพประชากร  ส่วนที่เติมเต็มให้เป็น 1 ของความน่าจะเป็นของการตายจากอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x}} ไปถึงอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x + n}} คือ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการรอดชีพ|6|431}}ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ในการฉายภาพประชากร เราใช้{{TextTerm|อัตราส่วนรอดชีพ|7|431|IndexEntry=อัตราส่วนรอดชีพ}} ซึ่งเป็นความน่าจะเป็นที่คนในรุ่นเกิดเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่นต่างๆ จะมีชีวิตอยู่ n ปีต่อมา
{{Note|1| ความน่าจะเป็นของการตายระหว่างอายุ{{NonRefTerm|x}} และ{{NonRefTerm|x + n}} นิยามว่าเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ{{NonRefTerm|x}} และ{{NonRefTerm|x + n}} ต่อจำนวนของผู้รอดชีพที่อายุแน่นอน{{NonRefTerm|x}} ต้องไม่สับสนกับ{{NoteTerm|อัตราตายกึ่งกลาง}} ซึ่งเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ{{NonRefTerm|x}} และ{{NonRefTerm|x + n}} ต่อจำนวนประชากรเฉลี่ยที่มีชีวิตอยู่ในอายุนั้น อัตราตายกึ่งกลางเขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า <sub>n</sub>m<sub>x</sub> }}
+
{{Note|1| ความน่าจะเป็นของการตายระหว่างอายุ {{NonRefTerm|x}} และ {{NonRefTerm|x + n}} นิยามได้ว่าเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ {{NonRefTerm|x}} และ {{NonRefTerm|x + n}} ต่อจำนวนของผู้รอดชีพที่อายุแน่นอน {{NonRefTerm|x}} ปี ต้องไม่ไปสับสนกับ{{NoteTerm|อัตราตายกึ่งกลาง}}ซึ่งเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ {{NonRefTerm|x}} และ {{NonRefTerm|x + n}} ต่อจำนวนประชากรเฉลี่ยที่มีชีวิตอยู่ ณ อายุนั้น อัตราตายกึ่งกลางเขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า <sub>n</sub>m<sub>x</sub> }}
{{Note|6| ความน่าจะเป็นของการรอดชีพจากอายุ{{NonRefTerm|x}} ถึงอายุ{{NonRefTerm|x + n}} เขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า <sub>n</sub>p<sub>x</sub> }}
+
{{Note|6| ความน่าจะเป็นของการรอดชีพจากอายุ {{NonRefTerm|x}} ถึงอายุ {{NonRefTerm|x + n}} เขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า <sub>n</sub>p<sub>x</sub> }}
  
 
=== 432 ===
 
=== 432 ===
แถว 26: แถว 26:
 
=== 433 ===
 
=== 433 ===
  
ความแตกต่างของจำนวน{{NonRefTerm|ผู้รอดชีพ}} ({{RefNumber|43|2|4}}) ที่อายุต่างๆ ให้จำนวนของการตายในช่วงอายุของ{{TextTerm|ฟังก์ชันการตาย|1|433}} ปรกติตารางชีพจะให้ค่าของ{{TextTerm|ความคาดหมายของชีวิต|3|433}} หรือ{{TextTerm|อายุคาดเฉลี่ย|3|433|2}}ที่อายุ x ซึ่งหมายถึงจำนวนเฉลี่ยของปีที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไปโดยคนที่มีชีวิตอยู่จนถึงอายุแน่นอน x โดยมีเงื่อนไขภาวะการตายของตารางที่ให้ไว้ {{TextTerm|อายุคาดเฉลี่ยเมื่อเกิด|4|433|OtherIndexEntry=อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด}}เป็นกรณีพิเศษหนึ่งของความคาดหมายของชีวิตที่แสดง{{TextTerm|ความยืนยาวของชีวิตเฉลี่ย|4|433|2}}ของคนตั้งแต่เกิดเมื่อมีภาวะการตายของตารางชีพนั้น ในทางกลับกันของความคาดหมายของชีวิตเมื่อเกิดเป็น{{TextTerm|อัตราตายตารางชีพ|5|433}}หรือ{{TextTerm|อัตราตายของประชากรคงที่|5|433|2}}
+
ความแตกต่างของจำนวน{{NonRefTerm|ผู้รอดชีพ}} ({{RefNumber|43|2|4}}) ที่อายุต่างๆ ให้จำนวนของการตายในช่วงอายุของ{{TextTerm|ฟังก์ชันการตาย|1|433}} และมีชื่อว่า{{TextTerm|การกระจายของการตายตารางชีพ|2|433}} เพื่อที่จะแยกความแตกต่างจากการกระจายอย่างหยาบของการตาย ปรกติตารางชีพจะให้ค่าของ{{TextTerm|ความคาดหมายของชีวิต|3|433}} หรือ{{TextTerm|อายุคาดเฉลี่ย|3|433|2}}ที่อายุ x ซึ่งหมายถึงจำนวนเฉลี่ยของปีที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไปโดยคนที่มีชีวิตอยู่จนถึงอายุแน่นอน x โดยมีเงื่อนไขภาวะการตายของตารางที่ให้ไว้ {{TextTerm|อายุคาดเฉลี่ยเมื่อเกิด|4|433|OtherIndexEntry=อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด}}เป็นกรณีพิเศษหนึ่งของความคาดหมายของชีวิตที่แสดง{{TextTerm|ความยืนยาวของชีวิตเฉลี่ย|4|433|2}}ของคนตั้งแต่เกิดเมื่อมีภาวะการตายของตารางชีพนั้น ในทางกลับกันของความคาดหมายของชีวิตเมื่อเกิดเป็น{{TextTerm|อัตราตายตารางชีพ|5|433}}หรือ{{TextTerm|อัตราตายของประชากรคงที่|5|433|2}}
{{Note|3| By integrating the {{NonRefTerm|survivorship function}} ({{RefNumber|43|2|3}}) between two exact given ages we obtain the {{NoteTerm|total number of years lived}} by the cohort between these ages; the notation for the total number of years lived between age {{NonRefTerm|x}} and {{NonRefTerm|x + n}} is {{NonRefTerm|<sub>n</sub>L<sub>x</sub>}} . This function is often called the {{NoteTerm|stationary population}} in life table column headings. By summing it from a given age x to the end of life, we obtain the total number of years to be lived after attaining age x by those reaching that age; the conventional notation is T <sub>x</sub> .}}
+
{{Note|3| ด้วยการอินทีเกรต{{NonRefTerm|ฟังก์ชันการรอดชีพ}} ({{RefNumber|43|2|3}}) ระหว่างอายุแน่นอนสองอายุ เราจะได้{{NoteTerm|จำนวนรวมของปีที่มีชีวิตอยู่}}โดนคนรุ่นวัยระหว่างสองอายุนี้  สัญญลักษณ์สำหรับจำนวนรวมของปีที่มีชีวิตอยู่ระหว่างอายุ{{NonRefTerm|x}} และ{{NonRefTerm|x + n}} คือ {{NonRefTerm|<sub>n</sub>L<sub>x</sub>}} ฟังก์ชันนี้มักเรียกว่า{{NoteTerm|ประชากรคงที่}}ในหัวสดมภ์ตารางชีพ  ด้วยการรวมค่าจากอายุ x ไปจนสิ้นสุดชีวิต เราจะได้จำนวนรวมของปีที่จะมีชีวิตอยู่หลังจากอายุ x โดยคนที่มีอายุถึงอายุนั้น สัญญลักษณ์ที่ใช้ของสดมภ์นี้คือ T <sub>x</sub> }}
{{Note|4| The notation for the expectation of life at age x is e<sub>x</sub>}}
+
{{Note|4| สัญญลักษณ์สำหรับอายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ x คือ e<sub>x</sub>}}
  
 
=== 434 ===
 
=== 434 ===

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 16:22, 18 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


430

โดยทั่วไปสถิติภาวะการตายรวบรวมมาจากการจดทะเบียนการตาย (cf. 211) เมื่อการตายเกิดขึ้นจะมีการออก มรณบัตร1 สถิติจะรวบรวมจากข้อมูลที่ให้ไว้ในมรณบัตร ในบางประเทศแยกความแตกต่างระหว่าง ใบรับรองทางการแพทย์ของการตาย2ที่ออกโดยบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้เสียชีวิตในระหว่างการเจ็บป่วยครั้งสุดท้าย และมรณบัตรปรกติที่ออกโดยนายทะเบียนเพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมาย

  • 1. สถิติการตายแรกๆ ในอังกฤษและเวลส์รวบรวมจากกฎหมายของการตาย ซึ่งโดยทั่วไปดึงข้อมูลมาจากทะเบียนการฝังศพ ในประเทศที่ไม่มีการจดทะเบียนชีพ จะสามารถรวบรมสถิติได้โดยใช้วิธีการสำรวจ คำถามอาจถามเกี่ยวกับการตายในช่วงระยะเวลาที่ระบุไว้ โดยทั่วไปใช้เวลาในช่วงปีก่อน การประมาณทางอ้อมของภาวะการตายต้องใช้คำถามต่อคำถาม อย่างเช่นจำนวนบุตรที่ยังมีชีวิตอยู่ในจำนวนบุตรเกิดรอด (637-2) สถานภาพความเป็นกำพร้า หรือสถานภาพความเป็นหม้าย

431

ความน่าจะเป็นของการตาย1ใช้เพื่อศึกษาในรายละเอียดเรื่องภาวะการตายของช่วงเวลาหนึ่งหรือของรุ่นหนึ่ง หมายถึงความน่าจะเป็นที่บุคคลหนึ่งเมื่อมีอายุแน่นอน x ปีพอดีจะตายก่อนที่จะมีอายุแน่นอน x + n และจะแทนด้วยสัญลักษณ์ nqx ถ้า n = 1 เท่ากับเราพูดถึง ความน่าจะเป็นของการตายรายปี2 ถ้า n = 5 เท่ากับ ความน่าจะเป็นของการตายช่วงห้าปี3 อัตราตายฉับพลัน4 หรือบางครั้งเรียกว่า แรงของภาวะการตาย4เป็นขีดจำกัดของค่า nqx เมื่อ n เข้าใกล้ศูนย์ ความน่าจะเป็นของการตายที่ฉายภาพ5เป็นความน่าจะเป็นที่บุคคลรุ่นเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่น ตายระหว่างวันที่ 1 มกราคมของปีหนึ่งและ 1 มกราคมของอีกปีหนึ่ง ความน่าจะเป็นคำนี้มาจากการที่มันถูกนำไปใช้ในการคำนวณของการฉายภาพประชากร ส่วนที่เติมเต็มให้เป็น 1 ของความน่าจะเป็นของการตายจากอายุแน่นอน x ไปถึงอายุแน่นอน x + n คือ ความน่าจะเป็นของการรอดชีพ6ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ในการฉายภาพประชากร เราใช้ อัตราส่วนรอดชีพ7 ซึ่งเป็นความน่าจะเป็นที่คนในรุ่นเกิดเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่นต่างๆ จะมีชีวิตอยู่ n ปีต่อมา

  • 1. ความน่าจะเป็นของการตายระหว่างอายุ x และ x + n นิยามได้ว่าเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ x และ x + n ต่อจำนวนของผู้รอดชีพที่อายุแน่นอน x ปี ต้องไม่ไปสับสนกับอัตราตายกึ่งกลางซึ่งเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ x และ x + n ต่อจำนวนประชากรเฉลี่ยที่มีชีวิตอยู่ ณ อายุนั้น อัตราตายกึ่งกลางเขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า nmx
  • 6. ความน่าจะเป็นของการรอดชีพจากอายุ x ถึงอายุ x + n เขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า npx

432

การเกิดขึ้นของภาวะการตายตลอดช่วงวงจรชีวิตอาจอธิบายด้วย ตารางชีพ1 ตารางชีพประกอบด้วย ฟังก์ชันตารางชีพ2หลายฟังก์ชัน ซึ่งทั้งหมดจะเกี่ยวโยงกันทางคณิตศาสตร์ และสามารถคำนวณได้เมื่อทราบค่าของฟังก์ชันหนึ่ง ฟังก์ชันการรอดชีพ3แสดงจำนวนของ ผู้รอดชีพ4ของรุ่น (116-2) หนึ่งที่เกิดมาพร้อมกันที่อายุแน่นอน (322-7) ต่างๆ โดยมีข้อสมมุติว่าคนรุ่นเกิดนั้นมีอัตราของภาวะการตายดังแสดงไว้ จำนวนการเกิดในรุ่นตั้งต้นเรียกว่า ราก5ของตารางชีพ และกระบวนการที่จำนวนคนของรุ่นตั้งต้นค่อยๆ ลดลงเรียกว่า การลดลง6

  • 4. จำนวนผู้รอดชีพที่อายุแน่นอน x แสดงโดย lx
  • 5. รากปรกติเท่ากับค่ายกกำลังของ 10 เช่น 10,000 หรือ 100,000

433

ความแตกต่างของจำนวนผู้รอดชีพ (432-4) ที่อายุต่างๆ ให้จำนวนของการตายในช่วงอายุของ ฟังก์ชันการตาย1 และมีชื่อว่า การกระจายของการตายตารางชีพ2 เพื่อที่จะแยกความแตกต่างจากการกระจายอย่างหยาบของการตาย ปรกติตารางชีพจะให้ค่าของ ความคาดหมายของชีวิต3 หรือ อายุคาดเฉลี่ย3ที่อายุ x ซึ่งหมายถึงจำนวนเฉลี่ยของปีที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไปโดยคนที่มีชีวิตอยู่จนถึงอายุแน่นอน x โดยมีเงื่อนไขภาวะการตายของตารางที่ให้ไว้ อายุคาดเฉลี่ยเมื่อเกิด4เป็นกรณีพิเศษหนึ่งของความคาดหมายของชีวิตที่แสดง ความยืนยาวของชีวิตเฉลี่ย4ของคนตั้งแต่เกิดเมื่อมีภาวะการตายของตารางชีพนั้น ในทางกลับกันของความคาดหมายของชีวิตเมื่อเกิดเป็น อัตราตายตารางชีพ5หรือ อัตราตายของประชากรคงที่5

  • 3. ด้วยการอินทีเกรตฟังก์ชันการรอดชีพ (432-3) ระหว่างอายุแน่นอนสองอายุ เราจะได้จำนวนรวมของปีที่มีชีวิตอยู่โดนคนรุ่นวัยระหว่างสองอายุนี้ สัญญลักษณ์สำหรับจำนวนรวมของปีที่มีชีวิตอยู่ระหว่างอายุx และx + n คือ nLx ฟังก์ชันนี้มักเรียกว่าประชากรคงที่ในหัวสดมภ์ตารางชีพ ด้วยการรวมค่าจากอายุ x ไปจนสิ้นสุดชีวิต เราจะได้จำนวนรวมของปีที่จะมีชีวิตอยู่หลังจากอายุ x โดยคนที่มีอายุถึงอายุนั้น สัญญลักษณ์ที่ใช้ของสดมภ์นี้คือ T x
  • 4. สัญญลักษณ์สำหรับอายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ x คือ ex

434

ความยืนยาวของชีวิตมัธยฐาน1บางครั้งเรียกว่า ความยืนยาวของชีวิตที่น่าจะเป็นไปได้1 คืออายุที่ครึ่งหนึ่งของรุ่นเริ่มต้นที่เกิดพร้อมกันจะตายไป หลังจากพ้นสภาพความเป็นทารก การกระจายการตายตามอายุในตารางชีพปรกติจะมีฐานนิยมและอายุที่เกิดฐานนิยมนั้นจะเรียกว่า อายุฐานนิยมเมื่อตาย2 หรือบางครั้งเรียก อายุปรกติเมื่อตาย2 ตัวชี้วัดที่น่าสนใจของ ความยืนยาวชีวิตมนุษย์3 หรือ ความยืนยาวของชีวิต3ที่มีความหมายใกล้เคียงกับศัพท์ที่ใช้กันทั่วไปในภาษาประจำวันมากกว่าคำว่าความยืนยาวชีวิตฐานนิยมหรือความยืนยาวชีวิตเฉลี่ย ศัพท์คำว่า อายุขัย4ใช้เพื่อหมายถึงความยืนยาวสูงสุดที่จะเป็นไปได้ของชีวิตมนุษย์

435

ตารางชีพสมบูรณ์1ปรกติเป็นตารางที่ให้ค่าฟังก์ชันตารางชีพ (432-2) เป็นอายุรายปี ตารางชีพย่อ2เป็นตารางที่ฟังก์ชันส่วนมากจะแสดงค่าเป็นกลุ่มอายุเท่านั้น โดยมากมักจะแบ่งเป็นช่วงห้าปีหรือสิบปีหลังจากพ้นวัยทารกแล้ว ค่าที่อยู่ระหว่างกลางของฟังก์ชันเหล่านี้จะได้มาจากวิธีการประมาณค่าระหว่างช่วง (151-7) ศัพท์คำว่า ตารางชีพสำหรับกลุ่มที่เลือก3ใช้เพื่อหมายถึงตารางชีพที่เชื่อมโยงไปถึงประสบการณ์ของกลุ่มบุคคลที่เลือกมาศึกษาจำนวนหนึ่ง อย่างเช่น ลูกค้าของบริษัทประกันชีวิต ตรงข้ามกับ ตารางชีพทั่วไป4ซึ่งเชื่อมโยงประสบการณ์ของประชากร (101-4) ทั้งหมด โดยทั่วไปตารางชีพจะนำเสนอแยกเพศชายหญิง แม้ว่าบางครั้งจะนำเสนอตารางชีพของทั้งสองเพศก็ตาม ตารางชีพซึ่งสร้างขึ้นโดยอาศัยข้อสรุปของความสัมพันธ์เชิงประจักษ์เรียกว่า ตารางชีพตัวแบบ5

436

ตารางชีพปีปฏิทิน1 หรือ ตารางชีพช่วงเวลา1 (cf. 153-2 ; 432-1) เป็นตารางชีพซึ่งอัตราภาวะการตายที่ใช้เชื่อมโยงช่วงเวลาที่ระบุไว้กับรุ่น (116-2) จึงเป็นตารางสมมุติ ในอีกด้านหนึ่ง ตารางชีพชั่วคน2 หรือ ตารางชีพรุ่นอายุ2เป็นการติดตามประสบการณ์ของรุ่นเกิดจริงๆ รุ่นหนึ่งและอัตราภาวะการตายที่อยู่ในตารางชีพนั้นจึงกระจายไปตามระยะเวลาที่ยาวนาน ปรกติเป็นเวลาราวๆ 100 ปี พื้นผิวภาวะการตาย3วาดขึ้นโดยเมื่อลงจุดความน่าจะเป็นของการตาย (431-1) กับอายุและช่วงเวลาไปพร้อมๆ กันในไดอะแกรมสามมิติ

437

เล็กซิสไดอะแกรม1ใช้กันมากในการแสดงภาพวิธีการสำหรับคำนวณความน่าจะเป็นของการตายและมาตรวัดทางประชากรศาสตร์อื่นๆ ในไดอะแกรมนี้บุคคลทุกคนจะแสดงโดย เส้นชีวิต2ซึ่งเริ่มเมื่อเกิดและสิ้นสุดที่ จุดของการตาย3 วิธีการสำหรับการศึกษาเรื่องภาวะการตายเมื่ออายุมากๆ เรียกว่า วิธีการของรุ่นที่หมดไปแล้ว4 เพราะวิธีนี้ใช้ข้อมูลการตายสำหรับรุ่นซึ่งถูกขจัดให้หมดไปแล้วด้วยภาวะการตาย

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=43&oldid=781"