The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "43"

จาก Demopædia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' <!--'''43'''--> {{CurrentStatus}} {{Unmodified edition II}} {{Summary}} __NOTOC__ === 430 === Mortality statistics are generally co...')
 
(431)
 
(ไม่แสดง 17 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 430 ===
 
=== 430 ===
  
Mortality statistics are generally compiled from death registration (cf. {{NonRefTerm|211}}). When a death takes place a {{TextTerm|death certificate|1|430|OtherIndexEntry=certificate, death}} is generally issued; statistics are compiled from the information given on death certificates. In some countries a distinction is made between the {{TextTerm|medical certificate of death|2|430|OtherIndexEntry=certificate of death, medical}} issued by a medical practitioner who has attended the deceased person during his or her last illness, and an ordinary death certificate issued by the registrar of deaths for legal purposes.
+
โดยทั่วไปสถิติภาวะการตายรวบรวมมาจากการจดทะเบียนการตาย (cf. {{NonRefTerm|211}}) เมื่อการตายเกิดขึ้นจะมีการออก{{TextTerm|มรณบัตร|1|430}} สถิติจะรวบรวมจากข้อมูลที่ให้ไว้ในมรณบัตร ในบางประเทศแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ใบรับรองทางการแพทย์ของการตาย|2|430}}ที่ออกโดยบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้เสียชีวิตในระหว่างการเจ็บป่วยครั้งสุดท้าย และมรณบัตรปรกติที่ออกโดยนายทะเบียนเพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมาย
{{Note|1| The first death statistics in England and Wales were compiled from {{NoteTerm|bills of mortality}} which were generally drawn up on the basis of {{NoteTerm|burial registers}}. In countries where vital registration is deficient, statistics can be gathered by the survey technique; questions may be asked on deaths during a reference period, generally the previous year; the {{NoteTerm|indirect estimation of mortality}} relies on such question as the {{NoteTerm|number of children surviving}} among {{NonRefTerm|children ever born}} ({{RefNumber|63|7|2}}), {{NoteTerm|orphanhood status}} or {{NoteTerm|widowhood status}}.}}
+
{{Note|1| สถิติการตายแรกๆ ในอังกฤษและเวลส์รวบรวมจาก{{NoteTerm|กฎหมายของการตาย}} ซึ่งโดยทั่วไปดึงข้อมูลมาจาก{{NoteTerm|ทะเบียนการฝังศพ}} ในประเทศที่ไม่มีการจดทะเบียนชีพ จะสามารถรวบรมสถิติได้โดยใช้วิธีการสำรวจ  คำถามอาจถามเกี่ยวกับการตายในช่วงระยะเวลาที่ระบุไว้ โดยทั่วไปใช้เวลาในช่วงปีก่อน  {{NoteTerm|การประมาณทางอ้อมของภาวะการตาย}}ต้องใช้คำถามต่อคำถาม อย่างเช่น{{NoteTerm|จำนวนบุตรที่ยังมีชีวิตอยู่}}ในจำนวน{{NonRefTerm|บุตรเกิดรอด}} ({{RefNumber|63|7|2}}) {{NoteTerm|สถานภาพความเป็นกำพร้า}} หรือ{{NoteTerm|สถานภาพความเป็นหม้าย}}}}
  
 
=== 431 ===
 
=== 431 ===
  
{{TextTerm|Probabilities of dying|1|431|IndexEntry=probability of dying|OtherIndexEntry=dying, probability of}} or {{TextTerm|death probabilities|1|431|2|IndexEntry=probability of death}} are used to study in detail the mortality of a period or of a cohort. They are the probabilities that an individual of exact age {{NonRefTerm|x}} will die before exact age {{NonRefTerm|x + n}}, and are represented by the symbol <sub>n</sub>q<sub>x</sub>. If {{NonRefTerm|n}} = 1, we talk about {{TextTerm|annual death probabilities|2|431|IndexEntry=annual death probability|OtherIndexEntry=death probability, annual}}; if {{NonRefTerm|n}} = 5, about {{TextTerm|quinquennial death probabilities|3|431|IndexEntry=quinquennial death probability|OtherIndexEntry=death probability, quinquennial}}. The {{TextTerm|instantaneous death rate|4|431|OtherIndexEntry=death rate, instantaneous}}, or as it is occasionally called the {{TextTerm|force of mortality|4|431|2|OtherIndexEntry=mortality, force of}}, is the limit of the <sub>n</sub>q<sub>x</sub> value as {{NonRefTerm|n}} tends to zero. The complement to one of the probability of dying from exact age {{NonRefTerm|x}} to exact age {{NonRefTerm|x + n}} is the {{TextTerm|probability of survival|6|431|OtherIndexEntry=survival, probability of}} over this interval. In the preparation of population projections, we use {{TextTerm|survival ratios|7|431|IndexEntry=survival ratio|OtherIndexEntry=ratio, survival}}; they represent the probability that individuals of the same birth cohort or group of cohorts will still be alive n years later.
+
{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตาย|1|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตาย}}ใช้เพื่อศึกษาในรายละเอียดเรื่องภาวะการตายของช่วงเวลาหนึ่งหรือของรุ่นหนึ่ง หมายถึงความน่าจะเป็นที่บุคคลหนึ่งเมื่อมีอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x}} ปีพอดีจะตายก่อนที่จะมีอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x + n}} และจะแทนด้วยสัญลักษณ์ <sub>n</sub>q<sub>x</sub> ถ้า {{NonRefTerm|n}} = 1 เท่ากับเราพูดถึง{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตายรายปี|2|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตายรายปี}} ถ้า {{NonRefTerm|n}} = 5 เท่ากับ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตายช่วงห้าปี|3|431|IndexEntry=ความน่าจะเป็นของการตายช่วงห้าปี}} {{TextTerm|อัตราตายฉับพลัน|4|431|OtherIndexEntry=อัตราตายโดยทันที}} หรือบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|แรงของภาวะการตาย|4|431|2}}เป็นขีดจำกัดของค่า <sub>n</sub>q<sub>x</sub> เมื่อ {{NonRefTerm|n}} เข้าใกล้ศูนย์ {{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการตายที่ฉายภาพ|5|431}}เป็นความน่าจะเป็นที่บุคคลรุ่นเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่น ตายระหว่างวันที่ 1 มกราคมของปีหนึ่งและ 1 มกราคมของอีกปีหนึ่ง ความน่าจะเป็นคำนี้มาจากการที่มันถูกนำไปใช้ในการคำนวณของการฉายภาพประชากร  ส่วนที่เติมเต็มให้เป็น 1 ของความน่าจะเป็นของการตายจากอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x}} ไปถึงอายุแน่นอน {{NonRefTerm|x + n}} คือ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการรอดชีพ|6|431}}ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ในการฉายภาพประชากร เราใช้{{TextTerm|อัตราส่วนรอดชีพ|7|431|IndexEntry=อัตราส่วนรอดชีพ}} ซึ่งเป็นความน่าจะเป็นที่คนในรุ่นเกิดเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่นต่างๆ จะมีชีวิตอยู่ n ปีต่อมา
{{Note|1| The probability of death between age {{NonRefTerm|x}} and {{NonRefTerm|x + n}} is defined as the ratio of deaths between ages {{NonRefTerm|x}} and {{NonRefTerm|x + n}} to the number of survivors at exact age {{NonRefTerm|x}}. It is not to be confused with the {{NoteTerm|central death rate}}, the ratio of deaths between ages {{NonRefTerm|x}} and {{NonRefTerm|x + n}} to the mean population alive at that age. The central death rate is written <sub>n</sub>m<sub>x</sub> .}}
+
{{Note|1| ความน่าจะเป็นของการตายระหว่างอายุ {{NonRefTerm|x}} และ {{NonRefTerm|x + n}} นิยามได้ว่าเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ {{NonRefTerm|x}} และ {{NonRefTerm|x + n}} ต่อจำนวนของผู้รอดชีพที่อายุแน่นอน {{NonRefTerm|x}} ปี ต้องไม่ไปสับสนกับ{{NoteTerm|อัตราตายกึ่งกลาง}}ซึ่งเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ {{NonRefTerm|x}} และ {{NonRefTerm|x + n}} ต่อจำนวนประชากรเฉลี่ยที่มีชีวิตอยู่ ณ อายุนั้น อัตราตายกึ่งกลางเขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า <sub>n</sub>m<sub>x</sub> }}
{{Note|6| The probability of survival from age {{NonRefTerm|x}} to age {{NonRefTerm|x + n}} is written <sub>n</sub>p<sub>x</sub> .}}
+
{{Note|6| ความน่าจะเป็นของการรอดชีพจากอายุ {{NonRefTerm|x}} ถึงอายุ {{NonRefTerm|x + n}} เขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า <sub>n</sub>p<sub>x</sub> }}
  
 
=== 432 ===
 
=== 432 ===
  
The course of mortality throughout the life cycle may be described by a {{TextTerm|life table|1|432|OtherIndexEntry=table, life}}. A life table consists of several {{TextTerm|life table functions|2|432|IndexEntry=life table function|OtherIndexEntry=function, life table}}, all of which are mathematically related and may be generally derived when the value of one of them is known. The {{TextTerm|survivorship function|3|432|OtherIndexEntry=function, survivorship}} shows the number of {{TextTerm|survivors|4|432|IndexEntry=survivor}} of a {{NonRefTerm|cohort}} ({{RefNumber|11|6|2}}) of births to various {{NonRefTerm|exact ages}} ({{RefNumber|32|2|7}}) on the assumption that the cohort is subjected to the rates of mortality shown. The number of births in the original cohort is known as the {{TextTerm|radix|5|432}} of the life table and the process by which the original cohort is reduced is known as {{TextTerm|attrition|6|432}}.
+
การเกิดขึ้นของภาวะการตายตลอดช่วงวงจรชีวิตอาจอธิบายด้วย{{TextTerm|ตารางชีพ|1|432}} ตารางชีพประกอบด้วย{{TextTerm|ฟังก์ชันตารางชีพ|2|432|IndexEntry=ฟังก์ชันตารางชีพ}}หลายฟังก์ชัน ซึ่งทั้งหมดจะเกี่ยวโยงกันทางคณิตศาสตร์ และสามารถคำนวณได้เมื่อทราบค่าของฟังก์ชันหนึ่ง {{TextTerm|ฟังก์ชันการรอดชีพ|3|432}}แสดงจำนวนของ{{TextTerm|ผู้รอดชีพ|4|432|IndexEntry=ผู้รอดชีพ}}ของ{{NonRefTerm|รุ่น}} ({{RefNumber|11|6|2}}) หนึ่งที่เกิดมาพร้อมกันที่{{NonRefTerm|อายุแน่นอน}} ({{RefNumber|32|2|7}}) ต่างๆ โดยมีข้อสมมุติว่าคนรุ่นเกิดนั้นมีอัตราของภาวะการตายดังแสดงไว้ จำนวนการเกิดในรุ่นตั้งต้นเรียกว่า{{TextTerm|ราก|5|432|OtherIndexEntry=ราดิกซ์}}ของตารางชีพ และกระบวนการที่จำนวนคนของรุ่นตั้งต้นค่อยๆ ลดลงเรียกว่า{{TextTerm|การลดลง|6|432}}
{{Note|4| The number of survivors to exact age x is denoted by l<sub>x</sub> .}}
+
{{Note|4| จำนวนผู้รอดชีพที่อายุแน่นอน x แสดงโดย l<sub>x</sub> }}
{{Note|5| The radix is usually a power of 10: 10,000 or 100,000 for example.}}
+
{{Note|5| รากปรกติเท่ากับค่ายกกำลังของ 10 เช่น 10,000 หรือ 100,000 }}
  
 
=== 433 ===
 
=== 433 ===
  
The differences between the number of {{NonRefTerm|survivors}} ({{RefNumber|43|2|4}}) at different ages gives the number of deaths within the given age interval of the {{TextTerm|death function|1|433|OtherIndexEntry=function, death}}. Life tables typically include the {{TextTerm|expectation of life|3|433|OtherIndexEntry=life, expectation of}} or {{TextTerm|life expectancy|3|433|2|OtherIndexEntry=expectancy, life}} at age x ; this is the mean number of years to be lived by those surviving to exact age x, given the mortality conditions of the table. The {{TextTerm|expectation of life at birth|4|433|OtherIndexEntry=birth, expectation of life at}} is a particular case of expectation of life, and represents the {{TextTerm|mean length of life|4|433|2|OtherIndexEntry=life, mean length}} of individuals who have been subjected since birth to the mortality of the table. The reciprocal of the expectation of life at birth is the {{TextTerm|life table death rate|5|433|OtherIndexEntry=death rate, life table}} or {{TextTerm|death rate of the stationary population|5|433|2|OtherIndexEntry=stationary population, death rate}}.
+
ความแตกต่างของจำนวน{{NonRefTerm|ผู้รอดชีพ}} ({{RefNumber|43|2|4}}) ที่อายุต่างๆ ให้จำนวนของการตายในช่วงอายุของ{{TextTerm|ฟังก์ชันการตาย|1|433}} และมีชื่อว่า{{TextTerm|การกระจายของการตายตารางชีพ|2|433}} เพื่อที่จะแยกความแตกต่างจากการกระจายอย่างหยาบของการตาย ปรกติตารางชีพจะให้ค่าของ{{TextTerm|ความคาดหมายของชีวิต|3|433}} หรือ{{TextTerm|อายุคาดเฉลี่ย|3|433|2}}ที่อายุ x ซึ่งหมายถึงจำนวนเฉลี่ยของปีที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไปโดยคนที่มีชีวิตอยู่จนถึงอายุแน่นอน x โดยมีเงื่อนไขภาวะการตายของตารางที่ให้ไว้ {{TextTerm|อายุคาดเฉลี่ยเมื่อเกิด|4|433|OtherIndexEntry=อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด}}เป็นกรณีพิเศษหนึ่งของความคาดหมายของชีวิตที่แสดง{{TextTerm|ความยืนยาวของชีวิตเฉลี่ย|4|433|2}}ของคนตั้งแต่เกิดเมื่อมีภาวะการตายของตารางชีพนั้น ในทางกลับกันของความคาดหมายของชีวิตเมื่อเกิดเป็น{{TextTerm|อัตราตายตารางชีพ|5|433}}หรือ{{TextTerm|อัตราตายของประชากรคงที่|5|433|2}}
{{Note|3| By integrating the {{NonRefTerm|survivorship function}} ({{RefNumber|43|2|3}}) between two exact given ages we obtain the {{NoteTerm|total number of years lived}} by the cohort between these ages; the notation for the total number of years lived between age {{NonRefTerm|x}} and {{NonRefTerm|x + n}} is {{NonRefTerm|<sub>n</sub>L<sub>x</sub>}} . This function is often called the {{NoteTerm|stationary population}} in life table column headings. By summing it from a given age x to the end of life, we obtain the total number of years to be lived after attaining age x by those reaching that age; the conventional notation is T <sub>x</sub> .}}
+
{{Note|3| ด้วยการอินทีเกรต{{NonRefTerm|ฟังก์ชันการรอดชีพ}} ({{RefNumber|43|2|3}}) ระหว่างอายุแน่นอนสองอายุ เราจะได้{{NoteTerm|จำนวนรวมของปีที่มีชีวิตอยู่}}โดนคนรุ่นวัยระหว่างสองอายุนี้  สัญญลักษณ์สำหรับจำนวนรวมของปีที่มีชีวิตอยู่ระหว่างอายุ{{NonRefTerm|x}} และ{{NonRefTerm|x + n}} คือ {{NonRefTerm|<sub>n</sub>L<sub>x</sub>}} ฟังก์ชันนี้มักเรียกว่า{{NoteTerm|ประชากรคงที่}}ในหัวสดมภ์ตารางชีพ  ด้วยการรวมค่าจากอายุ x ไปจนสิ้นสุดชีวิต เราจะได้จำนวนรวมของปีที่จะมีชีวิตอยู่หลังจากอายุ x โดยคนที่มีอายุถึงอายุนั้น สัญญลักษณ์ที่ใช้ของสดมภ์นี้คือ T <sub>x</sub> }}
{{Note|4| The notation for the expectation of life at age x is e<sub>x</sub>}}
+
{{Note|4| สัญญลักษณ์สำหรับอายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ x คือ e<sub>x</sub>}}
  
 
=== 434 ===
 
=== 434 ===
  
The {{TextTerm|median length of life|1|434|OtherIndexEntry=length of life, median}} sometimes called the {{TextTerm|probable length of life|1|434|2|OtherIndexEntry=length of life, probable}} is the age at which half the original cohort of births have died. After infancy the distribution of deaths by age in the life table will usually have a mode and the corresponding age is called the {{TextTerm|modal age at death|2|434|OtherIndexEntry=age at death, modal}}, or sometimes the {{TextTerm|normal age at death|2|434|2|OtherIndexEntry=age at death, normal}}. It may be of interest as an indicator of {{TextTerm|human longevity|3|434|OtherIndexEntry=longevity, human}} or the {{TextTerm|length of life|3|434|2|OtherIndexEntry=life, length of}} corresponding more closely to the sense in which the term is used in everyday language than either the average ({{RefNumber|43|3|4}}) or the median length of life. The term {{TextTerm|life span|4|434|OtherIndexEntry=span, life}} is used to refer to the maximum possible length of human life.
+
{{TextTerm|ความยืนยาวของชีวิตมัธยฐาน|1|434}}บางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ความยืนยาวของชีวิตที่น่าจะเป็นไปได้|1|434|2}} คืออายุที่ครึ่งหนึ่งของรุ่นเริ่มต้นที่เกิดพร้อมกันจะตายไป หลังจากพ้นสภาพความเป็นทารก การกระจายการตายตามอายุในตารางชีพปรกติจะมีฐานนิยมและอายุที่เกิดฐานนิยมนั้นจะเรียกว่า{{TextTerm|อายุฐานนิยมเมื่อตาย|2|434}} หรือบางครั้งเรียก{{TextTerm|อายุปรกติเมื่อตาย|2|434|2}} ตัวชี้วัดที่น่าสนใจของ{{TextTerm|ความยืนยาวชีวิตมนุษย์|3|434}} หรือ{{TextTerm|ความยืนยาวของชีวิต|3|434|2}}ที่มีความหมายใกล้เคียงกับศัพท์ที่ใช้กันทั่วไปในภาษาประจำวันมากกว่าคำว่าความยืนยาวชีวิตฐานนิยมหรือความยืนยาวชีวิตเฉลี่ย ศัพท์คำว่า{{TextTerm|อายุขัย|4|434}}ใช้เพื่อหมายถึงความยืนยาวสูงสุดที่จะเป็นไปได้ของชีวิตมนุษย์
  
 
=== 435 ===
 
=== 435 ===
  
A {{TextTerm|complete life table|1|435|OtherIndexEntry=life table, complete}} is usually one in which the values of the {{NonRefTerm|life table functions}} ({{RefNumber|43|2|2}}) are given in single years of age. An {{TextTerm|abridged life table|2|435|OtherIndexEntry=life table, abridged}} is one in which most functions are given only for certain pivotal ages, frequently spaced at five or ten year intervals after infancy; intermediate values for the functions are usually obtained by some form of interpolation ({{RefNumber|15|1|7}}). The term {{TextTerm|life table for selected heads|3|435|OtherIndexEntry=selected heads, life table for}} is used to refer to a life table relating to the experience of a number of specially selected individuals, such as the clients of a life insurance company, in opposition to {{TextTerm|general life tables|4|435|IndexEntry=general life table|OtherIndexEntry=life table, general}} which relate the experience of a whole {{NonRefTerm|population}} ({{RefNumber|10|1|4}}). Life tables are generally presented on a sex-specific basis although on occasion they are presented for both sexes. A life table which is based only upon the generalization of empirical relationships is called a {{TextTerm|model life table|5|435|OtherIndexEntry=life table, model}}.
+
{{TextTerm|ตารางชีพสมบูรณ์|1|435}}ปรกติเป็นตารางที่ให้ค่า{{NonRefTerm|ฟังก์ชันตารางชีพ}} ({{RefNumber|43|2|2}}) เป็นอายุรายปี {{TextTerm|ตารางชีพย่อ|2|435}}เป็นตารางที่ฟังก์ชันส่วนมากจะแสดงค่าเป็นกลุ่มอายุเท่านั้น โดยมากมักจะแบ่งเป็นช่วงห้าปีหรือสิบปีหลังจากพ้นวัยทารกแล้ว ค่าที่อยู่ระหว่างกลางของฟังก์ชันเหล่านี้จะได้มาจากวิธี{{NonRefTerm|การประมาณค่าระหว่างช่วง}} ({{RefNumber|15|1|7}}) ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ตารางชีพสำหรับกลุ่มที่เลือก|3|435}}ใช้เพื่อหมายถึงตารางชีพที่เชื่อมโยงไปถึงประสบการณ์ของกลุ่มบุคคลที่เลือกมาศึกษาจำนวนหนึ่ง อย่างเช่น ลูกค้าของบริษัทประกันชีวิต ตรงข้ามกับ{{TextTerm|ตารางชีพทั่วไป|4|435|IndexEntry=ตารางชีพทั่วไป}}ซึ่งเชื่อมโยงประสบการณ์ของ{{NonRefTerm|ประชากร}} ({{RefNumber|10|1|4}}) ทั้งหมด โดยทั่วไปตารางชีพจะนำเสนอแยกเพศชายหญิง แม้ว่าบางครั้งจะนำเสนอตารางชีพของทั้งสองเพศก็ตาม ตารางชีพซึ่งสร้างขึ้นโดยอาศัยข้อสรุปของความสัมพันธ์เชิงประจักษ์เรียกว่า{{TextTerm|ตารางชีพตัวแบบ|5|435}}
  
 
=== 436 ===
 
=== 436 ===
  
A {{TextTerm|calendar year life table|1|436|IndexEntry=calendar-year life table|OtherIndexEntry=life table, calendar year}} or {{TextTerm|period life table|1|436|2}} (cf. {{RefNumber|15|3|2}}; {{RefNumber|43|2|1}}) is one in which the mortality rates used relate to a specified time interval and the {{NonRefTerm|cohort}} ({{RefNumber|11|6|2}}) is therefore hypothetical. A {{TextTerm|generation life table|2|436|OtherIndexEntry=life table, period}}, or {{TextTerm|cohort life table|2|436|2|OtherIndexEntry=table, life cohort}} on the other hand, traces the experience of an actual birth cohort and the mortality rates contained in the table are then spread over a prolonged period, usually about 100 years. A {{TextTerm|mortality surface|3|436|OtherIndexEntry=surface, mortality}} is drawn when {{NonRefTerm|probabilities of dying}} ({{RefNumber|43|1|1}}) are plotted against age and time period simultaneously in a three-dimensional diagram.
+
{{TextTerm|ตารางชีพปีปฏิทิน|1|436|IndexEntry=ตารางชีพปีปฏิทิน}} หรือ{{TextTerm|ตารางชีพช่วงเวลา|1|436|2}} (cf. {{RefNumber|15|3|2}} ; {{RefNumber|43|2|1}}) เป็นตารางชีพซึ่งอัตราภาวะการตายที่ใช้เชื่อมโยงช่วงเวลาที่ระบุไว้กับ{{NonRefTerm|รุ่น}} ({{RefNumber|11|6|2}}) จึงเป็นตารางสมมุติ ในอีกด้านหนึ่ง{{TextTerm|ตารางชีพชั่วคน|2|436}} หรือ{{TextTerm|ตารางชีพรุ่นอายุ|2|436|2}}เป็นการติดตามประสบการณ์ของรุ่นเกิดจริงๆ รุ่นหนึ่งและอัตราภาวะการตายที่อยู่ในตารางชีพนั้นจึงกระจายไปตามระยะเวลาที่ยาวนาน ปรกติเป็นเวลาราวๆ 100 ปี {{TextTerm|พื้นผิวภาวะการตาย|3|436}}วาดขึ้นโดยเมื่อลงจุด{{NonRefTerm|ความน่าจะเป็นของการตาย}} ({{RefNumber|43|1|1}}) กับอายุและช่วงเวลาไปพร้อมๆ กันในไดอะแกรมสามมิติ
  
 
=== 437 ===
 
=== 437 ===
  
The {{TextTerm|Lexis diagram|1|437|OtherIndexEntry=diagram, Lexis}} is commonly used to illustrate the usual method for computing death probabilities and other demographic measures. In this diagram, every individual is represented by a {{TextTerm|life line|2|437|OtherIndexEntry=line, life}} which begins at birth and ends in the {{TextTerm|point of death|3|437|OtherIndexEntry=death, point of}}. A method for the study of mortality at very advanced ages has been called the {{TextTerm|method of extinct generations|4|437|OtherIndexEntry=extinct generations, method of}}, because it uses observed deaths for cohorts which have been completely eliminated by mortality.
+
{{TextTerm|เล็กซิสไดอะแกรม|1|437|OtherIndexEntry=ไดอะแกรมเล็กซิส}}ใช้กันมากในการแสดงภาพวิธีการสำหรับคำนวณความน่าจะเป็นของการตายและมาตรวัดทางประชากรศาสตร์อื่นๆ ในไดอะแกรมนี้บุคคลทุกคนจะแสดงโดย{{TextTerm|เส้นชีวิต|2|437}}ซึ่งเริ่มเมื่อเกิดและสิ้นสุดที่{{TextTerm|จุดของการตาย|3|437}} วิธีการสำหรับการศึกษาเรื่องภาวะการตายเมื่ออายุมากๆ เรียกว่า{{TextTerm|วิธีการของรุ่นที่หมดไปแล้ว|4|437}} เพราะวิธีนี้ใช้ข้อมูลการตายสำหรับรุ่นซึ่งถูกขจัดให้หมดไปแล้วด้วยภาวะการตาย
 
 
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 16:22, 18 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


430

โดยทั่วไปสถิติภาวะการตายรวบรวมมาจากการจดทะเบียนการตาย (cf. 211) เมื่อการตายเกิดขึ้นจะมีการออก มรณบัตร1 สถิติจะรวบรวมจากข้อมูลที่ให้ไว้ในมรณบัตร ในบางประเทศแยกความแตกต่างระหว่าง ใบรับรองทางการแพทย์ของการตาย2ที่ออกโดยบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้เสียชีวิตในระหว่างการเจ็บป่วยครั้งสุดท้าย และมรณบัตรปรกติที่ออกโดยนายทะเบียนเพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมาย

  • 1. สถิติการตายแรกๆ ในอังกฤษและเวลส์รวบรวมจากกฎหมายของการตาย ซึ่งโดยทั่วไปดึงข้อมูลมาจากทะเบียนการฝังศพ ในประเทศที่ไม่มีการจดทะเบียนชีพ จะสามารถรวบรมสถิติได้โดยใช้วิธีการสำรวจ คำถามอาจถามเกี่ยวกับการตายในช่วงระยะเวลาที่ระบุไว้ โดยทั่วไปใช้เวลาในช่วงปีก่อน การประมาณทางอ้อมของภาวะการตายต้องใช้คำถามต่อคำถาม อย่างเช่นจำนวนบุตรที่ยังมีชีวิตอยู่ในจำนวนบุตรเกิดรอด (637-2) สถานภาพความเป็นกำพร้า หรือสถานภาพความเป็นหม้าย

431

ความน่าจะเป็นของการตาย1ใช้เพื่อศึกษาในรายละเอียดเรื่องภาวะการตายของช่วงเวลาหนึ่งหรือของรุ่นหนึ่ง หมายถึงความน่าจะเป็นที่บุคคลหนึ่งเมื่อมีอายุแน่นอน x ปีพอดีจะตายก่อนที่จะมีอายุแน่นอน x + n และจะแทนด้วยสัญลักษณ์ nqx ถ้า n = 1 เท่ากับเราพูดถึง ความน่าจะเป็นของการตายรายปี2 ถ้า n = 5 เท่ากับ ความน่าจะเป็นของการตายช่วงห้าปี3 อัตราตายฉับพลัน4 หรือบางครั้งเรียกว่า แรงของภาวะการตาย4เป็นขีดจำกัดของค่า nqx เมื่อ n เข้าใกล้ศูนย์ ความน่าจะเป็นของการตายที่ฉายภาพ5เป็นความน่าจะเป็นที่บุคคลรุ่นเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่น ตายระหว่างวันที่ 1 มกราคมของปีหนึ่งและ 1 มกราคมของอีกปีหนึ่ง ความน่าจะเป็นคำนี้มาจากการที่มันถูกนำไปใช้ในการคำนวณของการฉายภาพประชากร ส่วนที่เติมเต็มให้เป็น 1 ของความน่าจะเป็นของการตายจากอายุแน่นอน x ไปถึงอายุแน่นอน x + n คือ ความน่าจะเป็นของการรอดชีพ6ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ในการฉายภาพประชากร เราใช้ อัตราส่วนรอดชีพ7 ซึ่งเป็นความน่าจะเป็นที่คนในรุ่นเกิดเดียวกันหรือกลุ่มของรุ่นต่างๆ จะมีชีวิตอยู่ n ปีต่อมา

  • 1. ความน่าจะเป็นของการตายระหว่างอายุ x และ x + n นิยามได้ว่าเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ x และ x + n ต่อจำนวนของผู้รอดชีพที่อายุแน่นอน x ปี ต้องไม่ไปสับสนกับอัตราตายกึ่งกลางซึ่งเป็นอัตราส่วนของการตายระหว่างอายุ x และ x + n ต่อจำนวนประชากรเฉลี่ยที่มีชีวิตอยู่ ณ อายุนั้น อัตราตายกึ่งกลางเขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า nmx
  • 6. ความน่าจะเป็นของการรอดชีพจากอายุ x ถึงอายุ x + n เขียนเป็นสัญญลักษณ์ว่า npx

432

การเกิดขึ้นของภาวะการตายตลอดช่วงวงจรชีวิตอาจอธิบายด้วย ตารางชีพ1 ตารางชีพประกอบด้วย ฟังก์ชันตารางชีพ2หลายฟังก์ชัน ซึ่งทั้งหมดจะเกี่ยวโยงกันทางคณิตศาสตร์ และสามารถคำนวณได้เมื่อทราบค่าของฟังก์ชันหนึ่ง ฟังก์ชันการรอดชีพ3แสดงจำนวนของ ผู้รอดชีพ4ของรุ่น (116-2) หนึ่งที่เกิดมาพร้อมกันที่อายุแน่นอน (322-7) ต่างๆ โดยมีข้อสมมุติว่าคนรุ่นเกิดนั้นมีอัตราของภาวะการตายดังแสดงไว้ จำนวนการเกิดในรุ่นตั้งต้นเรียกว่า ราก5ของตารางชีพ และกระบวนการที่จำนวนคนของรุ่นตั้งต้นค่อยๆ ลดลงเรียกว่า การลดลง6

  • 4. จำนวนผู้รอดชีพที่อายุแน่นอน x แสดงโดย lx
  • 5. รากปรกติเท่ากับค่ายกกำลังของ 10 เช่น 10,000 หรือ 100,000

433

ความแตกต่างของจำนวนผู้รอดชีพ (432-4) ที่อายุต่างๆ ให้จำนวนของการตายในช่วงอายุของ ฟังก์ชันการตาย1 และมีชื่อว่า การกระจายของการตายตารางชีพ2 เพื่อที่จะแยกความแตกต่างจากการกระจายอย่างหยาบของการตาย ปรกติตารางชีพจะให้ค่าของ ความคาดหมายของชีวิต3 หรือ อายุคาดเฉลี่ย3ที่อายุ x ซึ่งหมายถึงจำนวนเฉลี่ยของปีที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไปโดยคนที่มีชีวิตอยู่จนถึงอายุแน่นอน x โดยมีเงื่อนไขภาวะการตายของตารางที่ให้ไว้ อายุคาดเฉลี่ยเมื่อเกิด4เป็นกรณีพิเศษหนึ่งของความคาดหมายของชีวิตที่แสดง ความยืนยาวของชีวิตเฉลี่ย4ของคนตั้งแต่เกิดเมื่อมีภาวะการตายของตารางชีพนั้น ในทางกลับกันของความคาดหมายของชีวิตเมื่อเกิดเป็น อัตราตายตารางชีพ5หรือ อัตราตายของประชากรคงที่5

  • 3. ด้วยการอินทีเกรตฟังก์ชันการรอดชีพ (432-3) ระหว่างอายุแน่นอนสองอายุ เราจะได้จำนวนรวมของปีที่มีชีวิตอยู่โดนคนรุ่นวัยระหว่างสองอายุนี้ สัญญลักษณ์สำหรับจำนวนรวมของปีที่มีชีวิตอยู่ระหว่างอายุx และx + n คือ nLx ฟังก์ชันนี้มักเรียกว่าประชากรคงที่ในหัวสดมภ์ตารางชีพ ด้วยการรวมค่าจากอายุ x ไปจนสิ้นสุดชีวิต เราจะได้จำนวนรวมของปีที่จะมีชีวิตอยู่หลังจากอายุ x โดยคนที่มีอายุถึงอายุนั้น สัญญลักษณ์ที่ใช้ของสดมภ์นี้คือ T x
  • 4. สัญญลักษณ์สำหรับอายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ x คือ ex

434

ความยืนยาวของชีวิตมัธยฐาน1บางครั้งเรียกว่า ความยืนยาวของชีวิตที่น่าจะเป็นไปได้1 คืออายุที่ครึ่งหนึ่งของรุ่นเริ่มต้นที่เกิดพร้อมกันจะตายไป หลังจากพ้นสภาพความเป็นทารก การกระจายการตายตามอายุในตารางชีพปรกติจะมีฐานนิยมและอายุที่เกิดฐานนิยมนั้นจะเรียกว่า อายุฐานนิยมเมื่อตาย2 หรือบางครั้งเรียก อายุปรกติเมื่อตาย2 ตัวชี้วัดที่น่าสนใจของ ความยืนยาวชีวิตมนุษย์3 หรือ ความยืนยาวของชีวิต3ที่มีความหมายใกล้เคียงกับศัพท์ที่ใช้กันทั่วไปในภาษาประจำวันมากกว่าคำว่าความยืนยาวชีวิตฐานนิยมหรือความยืนยาวชีวิตเฉลี่ย ศัพท์คำว่า อายุขัย4ใช้เพื่อหมายถึงความยืนยาวสูงสุดที่จะเป็นไปได้ของชีวิตมนุษย์

435

ตารางชีพสมบูรณ์1ปรกติเป็นตารางที่ให้ค่าฟังก์ชันตารางชีพ (432-2) เป็นอายุรายปี ตารางชีพย่อ2เป็นตารางที่ฟังก์ชันส่วนมากจะแสดงค่าเป็นกลุ่มอายุเท่านั้น โดยมากมักจะแบ่งเป็นช่วงห้าปีหรือสิบปีหลังจากพ้นวัยทารกแล้ว ค่าที่อยู่ระหว่างกลางของฟังก์ชันเหล่านี้จะได้มาจากวิธีการประมาณค่าระหว่างช่วง (151-7) ศัพท์คำว่า ตารางชีพสำหรับกลุ่มที่เลือก3ใช้เพื่อหมายถึงตารางชีพที่เชื่อมโยงไปถึงประสบการณ์ของกลุ่มบุคคลที่เลือกมาศึกษาจำนวนหนึ่ง อย่างเช่น ลูกค้าของบริษัทประกันชีวิต ตรงข้ามกับ ตารางชีพทั่วไป4ซึ่งเชื่อมโยงประสบการณ์ของประชากร (101-4) ทั้งหมด โดยทั่วไปตารางชีพจะนำเสนอแยกเพศชายหญิง แม้ว่าบางครั้งจะนำเสนอตารางชีพของทั้งสองเพศก็ตาม ตารางชีพซึ่งสร้างขึ้นโดยอาศัยข้อสรุปของความสัมพันธ์เชิงประจักษ์เรียกว่า ตารางชีพตัวแบบ5

436

ตารางชีพปีปฏิทิน1 หรือ ตารางชีพช่วงเวลา1 (cf. 153-2 ; 432-1) เป็นตารางชีพซึ่งอัตราภาวะการตายที่ใช้เชื่อมโยงช่วงเวลาที่ระบุไว้กับรุ่น (116-2) จึงเป็นตารางสมมุติ ในอีกด้านหนึ่ง ตารางชีพชั่วคน2 หรือ ตารางชีพรุ่นอายุ2เป็นการติดตามประสบการณ์ของรุ่นเกิดจริงๆ รุ่นหนึ่งและอัตราภาวะการตายที่อยู่ในตารางชีพนั้นจึงกระจายไปตามระยะเวลาที่ยาวนาน ปรกติเป็นเวลาราวๆ 100 ปี พื้นผิวภาวะการตาย3วาดขึ้นโดยเมื่อลงจุดความน่าจะเป็นของการตาย (431-1) กับอายุและช่วงเวลาไปพร้อมๆ กันในไดอะแกรมสามมิติ

437

เล็กซิสไดอะแกรม1ใช้กันมากในการแสดงภาพวิธีการสำหรับคำนวณความน่าจะเป็นของการตายและมาตรวัดทางประชากรศาสตร์อื่นๆ ในไดอะแกรมนี้บุคคลทุกคนจะแสดงโดย เส้นชีวิต2ซึ่งเริ่มเมื่อเกิดและสิ้นสุดที่ จุดของการตาย3 วิธีการสำหรับการศึกษาเรื่องภาวะการตายเมื่ออายุมากๆ เรียกว่า วิธีการของรุ่นที่หมดไปแล้ว4 เพราะวิธีนี้ใช้ข้อมูลการตายสำหรับรุ่นซึ่งถูกขจัดให้หมดไปแล้วด้วยภาวะการตาย

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=43&oldid=781"