The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "42"

จาก Demopædia
(426)
(No NewTextTerm in Thai)
 
แถว 13: แถว 13:
 
=== 421 ===
 
=== 421 ===
  
{{TextTerm|สถิติสาธารณสุข|1|421}}ครอบคลุมสถิติภาวะเจ็บป่วย และยังรวมทุกแง่ของสุขภาพอนามัยของประชากรด้วย และโดยทั่วไปจะรวมสถิติของ{{TextTerm|ภาวะการตายรายสาเหตุ|2|421}} การจำแนกประเภทของการตายโดย{{TextTerm|สาเหตุการตาย|3|421}}ทำได้ยากเพราะในหลายกรณีอาจไม่มี{{TextTerm|เอกสาเหตุการตาย|4|421|OtherIndexEntry=สาเหตุการตายเดี่ยว}} แต่มี{{TextTerm|พหุสาเหตุการตาย|5|421|OtherIndexEntry=หลายสาเหตุการตาย}} หรือ{{TextTerm|สาเหตุการตายร่วม|5|421|2}} เมื่อมีกรณีเช่นนี้ เราอาจแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|สาเหตุสุดท้ายของการตาย|6|421}}กับ{{TextTerm|สาเหตุแท้จริงของการตาย|7|421}} หรือ ดูที่ปัญหาจากความเห็นที่แตกต่างโดยอาจแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|สาเหตุปฐมภูมิของการตาย|8|421|OtherIndexEntry=สาเหตุประถมภูมิของการตาย}} หรือ{{TextTerm|สาเหตุหลักของการตาย|8|421|2}} กับ{{TextTerm|สาเหตุทุติยภูมิของการตาย|9|421}} {{TextTerm|สาเหตุบางส่วนของการตาย|9|421|2}} หรือ{{TextTerm|สาเหตุร่วมของการตาย|9|421|3}} {{TextTerm|อัตราตายรายสาเหตุ|10|421}} โดยทั่วไปแสดงเป็นอัตราต่อประชากร 100,000 คน อัตราส่วนของจำนวนการตายจากสาเหตุเฉพาะหนึ่งต่อจำนวนการตายจากสาเหตุทั้งหมดเรียกว่า{{TextTerm|อัตราส่วนการตายเฉพาะสาเหตุ|11|421}} อัตราส่วนเช่นนี้ที่คำนวณสำหรับเฉพาะกลุ่มอายุหรือประชากรทั่วไปให้ข้อมูลของ {{NewTextTerm|โครงสร้างของสาเหตุการตาย|12|421}}ที่ซ่อนอยู่
+
{{TextTerm|สถิติสาธารณสุข|1|421}}ครอบคลุมสถิติภาวะเจ็บป่วย และยังรวมทุกแง่ของสุขภาพอนามัยของประชากรด้วย และโดยทั่วไปจะรวมสถิติของ{{TextTerm|ภาวะการตายรายสาเหตุ|2|421}} การจำแนกประเภทของการตายโดย{{TextTerm|สาเหตุการตาย|3|421}}ทำได้ยากเพราะในหลายกรณีอาจไม่มี{{TextTerm|เอกสาเหตุการตาย|4|421|OtherIndexEntry=สาเหตุการตายเดี่ยว}} แต่มี{{TextTerm|พหุสาเหตุการตาย|5|421|OtherIndexEntry=หลายสาเหตุการตาย}} หรือ{{TextTerm|สาเหตุการตายร่วม|5|421|2}} เมื่อมีกรณีเช่นนี้ เราอาจแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|สาเหตุสุดท้ายของการตาย|6|421}}กับ{{TextTerm|สาเหตุแท้จริงของการตาย|7|421}} หรือ ดูที่ปัญหาจากความเห็นที่แตกต่างโดยอาจแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|สาเหตุปฐมภูมิของการตาย|8|421|OtherIndexEntry=สาเหตุประถมภูมิของการตาย}} หรือ{{TextTerm|สาเหตุหลักของการตาย|8|421|2}} กับ{{TextTerm|สาเหตุทุติยภูมิของการตาย|9|421}} {{TextTerm|สาเหตุบางส่วนของการตาย|9|421|2}} หรือ{{TextTerm|สาเหตุร่วมของการตาย|9|421|3}} {{TextTerm|อัตราตายรายสาเหตุ|10|421}} โดยทั่วไปแสดงเป็นอัตราต่อประชากร 100,000 คน อัตราส่วนของจำนวนการตายจากสาเหตุเฉพาะหนึ่งต่อจำนวนการตายจากสาเหตุทั้งหมดเรียกว่า{{TextTerm|อัตราส่วนการตายเฉพาะสาเหตุ|11|421}} อัตราส่วนเช่นนี้ที่คำนวณสำหรับเฉพาะกลุ่มอายุหรือประชากรทั่วไปให้ข้อมูลของ {{TextTerm|โครงสร้างของสาเหตุการตาย|12|421}}ที่ซ่อนอยู่
  
 
=== 422 ===
 
=== 422 ===
แถว 42: แถว 42:
 
=== 426 ===
 
=== 426 ===
  
{{TextTerm|ความพิการ|1|426}}หมายถึงความบกพร่องทางกาย การทำหน้าที่ หรือทางจิตใจ ซึ่งเป็นผลมาจากความเจ็บป่วย การบาดเจ็บ หรือความผิดรูปแต่กำเนิด เมื่อความพิการไปขัดขวางความสามารถของบุคคลที่จะทำงานหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมปรกติจะหมายถึง{{TextTerm|ความไม่มีความสามารถ|2|426}} หรือ{{TextTerm|การไร้ความสามารถ|2|426|2}} การไร้ความสามารถไม่ว่าจะเป็นเพียงบางส่วนหรือทั้งหมด {{TextTerm|การไร้ความสามารถถาวร|3|426}}หรือ{{TextTerm|ความอ่อนแอ|4|426}}ถาวรหมายถึงเงื่อนไขที่แก้ให้คืนสู่สภาพเดิมไม่ได้ซึ่งให้สิทธิ์เป็น{{NewTextTerm|ความไม่มีความสามารถทางวิชาชีพ|7|426}} หรือ{{NewTextTerm|ความไม่มีความสามารถทางการทำงาน|8|426}} ความน่าจะเป็นที่บุคคลสุขภาพดีอายุ x ปีเต็มจะกลายเป็นคนไร้ความสามารถในปีต่อไป หรือในระยะเวลากี่ปีต่อไปนับจากอายุนี้เรียกว่าเป็น{{TextTerm|ความเสี่ยงของการไร้ความสามารถ|5|426}}หรือ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการไร้ความสามารถ|5|426|2}} อนุกรมของความน่าจะเป็นเหล่านี้สามารถนำมารวมเข้าเป็น{{TextTerm|ตารางการไร้ความสามารถ|6|426}}ซึ่งเป็นการขยายพิเศษจาก{{NonRefTerm|ตารางชีพ}} (cf. §432)
+
{{TextTerm|ความพิการ|1|426}}หมายถึงความบกพร่องทางกาย การทำหน้าที่ หรือทางจิตใจ ซึ่งเป็นผลมาจากความเจ็บป่วย การบาดเจ็บ หรือความผิดรูปแต่กำเนิด เมื่อความพิการไปขัดขวางความสามารถของบุคคลที่จะทำงานหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมปรกติจะหมายถึง{{TextTerm|ความไม่มีความสามารถ|2|426}} หรือ{{TextTerm|การไร้ความสามารถ|2|426|2}} การไร้ความสามารถไม่ว่าจะเป็นเพียงบางส่วนหรือทั้งหมด {{TextTerm|การไร้ความสามารถถาวร|3|426}}หรือ{{TextTerm|ความอ่อนแอ|4|426}}ถาวรหมายถึงเงื่อนไขที่แก้ให้คืนสู่สภาพเดิมไม่ได้ซึ่งให้สิทธิ์เป็น{{TextTerm|ความไม่มีความสามารถทางวิชาชีพ|7|426}} หรือ{{TextTerm|ความไม่มีความสามารถทางการทำงาน|8|426}} ความน่าจะเป็นที่บุคคลสุขภาพดีอายุ x ปีเต็มจะกลายเป็นคนไร้ความสามารถในปีต่อไป หรือในระยะเวลากี่ปีต่อไปนับจากอายุนี้เรียกว่าเป็น{{TextTerm|ความเสี่ยงของการไร้ความสามารถ|5|426}}หรือ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการไร้ความสามารถ|5|426|2}} อนุกรมของความน่าจะเป็นเหล่านี้สามารถนำมารวมเข้าเป็น{{TextTerm|ตารางการไร้ความสามารถ|6|426}}ซึ่งเป็นการขยายพิเศษจาก{{NonRefTerm|ตารางชีพ}} (cf. §432)
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 14:40, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


420

การสึกษาเรื่อง ภาวะเจ็บป่วย1เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบศึกษา การเจ็บไข้2 การเป็นโรค2 สุขภาพไม่ดี2 หรือ โรค2ในประชากร ทำการศึกษาเรื่องนี้ใน 2 แง่มุม คือ อุบัติการณ์ของโรค3 และ ความชุกของโรค4เป็นไปตามคำถามว่าจะพิจารณา กรณีที่เป็นโรค5รายใหม่ หรือจะพิจารณาจำนวนกรณีที่เป็นโรคที่มีอยู่แล้ว ณ เวลาหนึ่ง การรวบรวม สถิติภาวะเจ็บป่วย6มีอุปสรรคอยู่ที่การขาดเครื่องชี้ความแตกต่างระหว่างสุขภาพดีกับ สภาพความเจ็บป่วย7 โรควิทยา8 และ โรคศาสตร์9 ช่วยได้มากในการจำแนกประเภทและคำอธิบายโรคต่างๆ

421

สถิติสาธารณสุข1ครอบคลุมสถิติภาวะเจ็บป่วย และยังรวมทุกแง่ของสุขภาพอนามัยของประชากรด้วย และโดยทั่วไปจะรวมสถิติของ ภาวะการตายรายสาเหตุ2 การจำแนกประเภทของการตายโดย สาเหตุการตาย3ทำได้ยากเพราะในหลายกรณีอาจไม่มี เอกสาเหตุการตาย4 แต่มี พหุสาเหตุการตาย5 หรือ สาเหตุการตายร่วม5 เมื่อมีกรณีเช่นนี้ เราอาจแยกความแตกต่างระหว่าง สาเหตุสุดท้ายของการตาย6กับ สาเหตุแท้จริงของการตาย7 หรือ ดูที่ปัญหาจากความเห็นที่แตกต่างโดยอาจแยกความแตกต่างระหว่าง สาเหตุปฐมภูมิของการตาย8 หรือ สาเหตุหลักของการตาย8 กับ สาเหตุทุติยภูมิของการตาย9 สาเหตุบางส่วนของการตาย9 หรือ สาเหตุร่วมของการตาย9 อัตราตายรายสาเหตุ10 โดยทั่วไปแสดงเป็นอัตราต่อประชากร 100,000 คน อัตราส่วนของจำนวนการตายจากสาเหตุเฉพาะหนึ่งต่อจำนวนการตายจากสาเหตุทั้งหมดเรียกว่า อัตราส่วนการตายเฉพาะสาเหตุ11 อัตราส่วนเช่นนี้ที่คำนวณสำหรับเฉพาะกลุ่มอายุหรือประชากรทั่วไปให้ข้อมูลของ โครงสร้างของสาเหตุการตาย12ที่ซ่อนอยู่

422

การตายหรือภาวะพิการ (426-2) อาจเป็นผลมาจากโรค (420-2) หรือ การบาดเจ็บ1 หรือ การเป็นพิษ2 การบาดเจ็บอาจเนื่องมาจาก อุบัติเหตุ3 หรือ ความรุนแรง4 ในกรณีของความรุนแรง เป็นเรื่องปรกติที่จะแยกความแตกต่างระหว่าง การฆ่าตัวตาย5และ ความพยายามฆ่าตัวตาย5 ฆาตกรรม6 และ การตายหรือการบาดเจ็บอันเนื่องมาจากปฎิบัติการแห่งสงคราม7

  • 6. ในทางกฏหมายอาจเป็น ถูกฆ่าตาย หรือการฆ่าคนโดยไม่ไตร่ตรองไว้ก่อน
  • 7. เรียกอย่างย่อเป็นการตายจากสงคาม และการบาดเจ็บจากสงคราม

423

โรคประจำถิ่น1เป็นปัจจัยหนึ่งที่กระทบต่อประชากรบางส่วนอยู่ตลอดเวลา แตกต่างจาก การระบาด2ซึ่งแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วแล้วก็หายไปภายในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อมันเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศก็เรียกว่า การแพร่ระบาด3 โรคติดเชื้อ4หรือ โรคติดต่อ4บางโรคได้รับความสนใจเป็นพิเศษ เพราะมันสามารถติดต่อไปยังผู้คนจำนวนมากภายในระยะเวลาค่อนข้างสั้น ในกรณีเช่นนั้น เราพูดถึง โรคระบาด5 และ สถิติวิทยาการระบาด6พิเศษจะถูกเก็บรวบรวมเพื่อแสดงอุบัติการณ์เหล่านั้น เราอาจได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโรคระบาดเหล่านี้ในประเทศต่างๆ เพราะว่าในหลายประเทศมีการออกกฎหมายบังคับให้รายงานโรคเหล่านั้น จึงเรียกโรคเหล่านั้นว่า โรคที่ต้องแจ้งความ7 บางครั้งแยกความแตกต่างระหว่าง โรคเรื้อรัง8กับ โรคเฉียบพลัน9 ศัพท์ทั้งสองนี้ไม่มีนิยามแน่ชัด แต่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าโรคเฉียบพลันหมายถึงโรคที่เป็นอย่างกระทันหันและเป็นอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่โรคเรื้อรังเป็นโรคที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ และเป็นอยู่ในช่วงเวลานานและมักจะเป็นสาเหตุให้เกิดความพิการเป็นเวลานาน

  • 4. การติดเชื้อ (infection) ศัพท์คำว่าโรคติดต่อ (communicable disease) โรคติดต่อทางสัมผัส (contagious disease) และโรคติดเชื้อ (infectious disease) มีความหมายไม่เหมือนกัน contagious disease เป็นโรคที่ติดต่อจากคนสู่คนเท่านั้น ฉะนั้นโรคมาเลเรียจึงเป็นโรคติดต่อ (communicable disease) แต่ไม่ใช่โรคติดต่อจากคนสู่คน (contagious disease) ยิ่งกว่านั้น โรคติดเชื้อบางโรคก็ไม่เป็นโรคติดต่อ
  • 6. วิทยาการระบาด (epidemiology) ศาสตร์ที่เกี่ยวกับการระบาดของโรค นักระบาดวิทยาคือผู้เชี่ยวชาญในวิทยาการระบาด ความหมายของศัพท์คำนี้ได้ขยายออกไปอย่างมาก ปัจจุบันวิทยาการระบาดครอบคลุมการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางการแพทย์และชีววิทยากับปัจจัยต่างๆ อย่างเช่น ยาสูบในการศึกษา "วิทยาการระบาดของมะเร็งปอด" หรือความหมายอีกด้านหนึ่ง เช่นการวิเคราะห์ทางสถิติของความผันแปรเชิงภูมิศาสตร์ในปรากฏการณ์ทางสุขภาพ

424

นักประชากรศาสตร์ให้ความสนใจเป้นพิเศษต่อบางลักษณะของภาวะการตาย ภาวะการตายภายใน1ซึ่งเป็นผลมาจากพื้นฐานทางพันธุกรรมของบุคคล การผิดรูปแต่กำเนิด2 การบาดเจ็บที่เชื่อมโยงกับการเกิด หรือโรคที่อวัยวะเสื่อมสภาพเนื่องมาจากอายุสูงขึ้น ตรงข้ามกับ ภาวะการตายภายนอก3ที่เป็นผลมาจากสาเหตุภายนอก อย่างเช่น โรคติดเชื้อหรือโรคพยาธิ และการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุนอกเหนือจากการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับเด็กในระหว่างการเกิด ยังมีความสนใจเป็นพิเศษต่อโรคที่เชื่อมโยงกับการตั้งครรภ์ การคลอด และที่ เกี่ยวกับการคลอด4 ภาวะการตายจากสาเหตุเหล่านี้เรียกว่าเป็น ภาวะการตายมารดา5 และ อัตราตายมารดา6อาจคำนวณเป็นอัตราส่วนของการตายมารดาในปีหนึ่งต่อการเกิดในปีนั้น สัดส่วนของการตายเนื่องจาก ชราภาพ7ได้รับความสนใจในฐานะเป็นดัชนีการรายงานสาเหตุการตายที่บกพร่อง

  • 1. ภาวะการตายทารก (410-1) สามารถแยกองค์ประกอบเป็นภาวะการตายทารกภายใน และภาวะการตายทารกภายนอก
  • 3. เหมือน 1.
  • 4. ที่เกี่ยวกับการคลอดเป็นช่วงเวลานอนพักฟื้นหลังจากการคลอด และภาวะการตายของมารดาระหว่างช่วงเวลานี้เรียกว่าภาวะการตายหลังคลอด

425

ลักษณะสามด้านของภาวะเจ็บป่วย (420-1) วัดได้ด้วย อัตราเจ็บป่วย1หรือ อัตราส่วนเจ็บป่วย1 ความถึ่ ระยะเวลาและความรุนแรง ดัชนีเหล่านี้อาจคำนวณสำหรับโรคเฉพาะหรือสำหรับโรคทั้งหมด ดัชนีสองอย่างของความถี่ของสุขภาพไม่ดีได้แก่ อัตราอุบัติการณ์2ซึ่งหมายถึงจำนวนรายใหม่ของโรคในระหว่างระยะเวลาที่โยงเข้ากับประชากรเฉลี่ย และ อัตราความชุก3ซึ่งหมายถึงจำนวนรายที่มีอยู่แล้ว ณ ขณะเวลาหนึ่งที่แสดงต่อหน่วยของประชากรเฉลี่ย ไม่ว่าจะเป็น ระยะเวลาเฉลี่ยต่อราย4 หรือ อัตราความพิการ5ซึ่งเป็น จำนวนเฉลี่ยของวันที่เจ็บป่วย5ต่อคนในประชากร อาจใช้เป็นมาตรวัดของระยะเวลาของการเจ็บป่วย อัตรากรณีเสียชีวิต6ซึ่งเป็นสัดส่วนของรายที่เสียชีวิตต่อจำนวนรายที่ได้รายงานของโรคใดโรคหนึ่งอาจใช้เป็นดัชนีของความรุนแรงของโรคนั้น

  • 6. เป็นการวัดภาวะความตายของโรค

426

ความพิการ1หมายถึงความบกพร่องทางกาย การทำหน้าที่ หรือทางจิตใจ ซึ่งเป็นผลมาจากความเจ็บป่วย การบาดเจ็บ หรือความผิดรูปแต่กำเนิด เมื่อความพิการไปขัดขวางความสามารถของบุคคลที่จะทำงานหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมปรกติจะหมายถึง ความไม่มีความสามารถ2 หรือ การไร้ความสามารถ2 การไร้ความสามารถไม่ว่าจะเป็นเพียงบางส่วนหรือทั้งหมด การไร้ความสามารถถาวร3หรือ ความอ่อนแอ4ถาวรหมายถึงเงื่อนไขที่แก้ให้คืนสู่สภาพเดิมไม่ได้ซึ่งให้สิทธิ์เป็น ความไม่มีความสามารถทางวิชาชีพ7 หรือ ความไม่มีความสามารถทางการทำงาน8 ความน่าจะเป็นที่บุคคลสุขภาพดีอายุ x ปีเต็มจะกลายเป็นคนไร้ความสามารถในปีต่อไป หรือในระยะเวลากี่ปีต่อไปนับจากอายุนี้เรียกว่าเป็น ความเสี่ยงของการไร้ความสามารถ5หรือ ความน่าจะเป็นของการไร้ความสามารถ5 อนุกรมของความน่าจะเป็นเหล่านี้สามารถนำมารวมเข้าเป็น ตารางการไร้ความสามารถ6ซึ่งเป็นการขยายพิเศษจากตารางชีพ (cf. §432)

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=42&oldid=752"