The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "42"

จาก Demopædia
แถว 24: แถว 24:
  
 
{{TextTerm|โรคประจำถิ่น|1|423}}เป็นปัจจัยหนึ่งที่กระทบต่อประชากรบางส่วนอยู่ตลอดเวลา แตกต่างจาก{{TextTerm|การระบาด|2|423}}ซึ่งแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วแล้วก็หายไปภายในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อมันเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศก็เรียกว่า {{TextTerm|การแพร่ระบาด|3|423}} {{TextTerm|โรคติดเชื้อ|4|423}}หรือ{{TextTerm|โรคติดต่อ|4|423|2}}บางโรคได้รับความสนใจเป็นพิเศษ เพราะมันสามารถติดต่อไปยังผู้คนจำนวนมากภายในระยะเวลาค่อนข้างสั้น ในกรณีเช่นนั้น เราพูดถึง{{TextTerm|โรคระบาด|5|423|IndexEntry=โรคระบาด}} และ{{TextTerm|สถิติวิทยาการระบาด|6|423}}พิเศษจะถูกเก็บรวบรวมเพื่อแสดงอุบัติการณ์เหล่านั้น เราอาจได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโรคระบาดเหล่านี้ในประเทศต่างๆ เพราะว่าในหลายประเทศมีการออกกฎหมายบังคับให้รายงานโรคเหล่านั้น จึงเรียกโรคเหล่านั้นว่า{{TextTerm|โรคที่ต้องแจ้งความ|7|423|IndexEntry=โรคที่ต้องแจ้งความ}} บางครั้งแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|โรคเรื้อรัง|8|423|IndexEntry=โรคเรื้อรัง}}กับ{{TextTerm|โรคเฉียบพลัน|9|423|IndexEntry=โรคเฉียบพลัน}} ศัพท์ทั้งสองนี้ไม่มีนิยามแน่ชัด แต่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าโรคเฉียบพลันหมายถึงโรคที่เป็นอย่างกระทันหันและเป็นอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่โรคเรื้อรังเป็นโรคที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ และเป็นอยู่ในช่วงเวลานานและมักจะเป็นสาเหตุให้เกิดความพิการเป็นเวลานาน
 
{{TextTerm|โรคประจำถิ่น|1|423}}เป็นปัจจัยหนึ่งที่กระทบต่อประชากรบางส่วนอยู่ตลอดเวลา แตกต่างจาก{{TextTerm|การระบาด|2|423}}ซึ่งแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วแล้วก็หายไปภายในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อมันเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศก็เรียกว่า {{TextTerm|การแพร่ระบาด|3|423}} {{TextTerm|โรคติดเชื้อ|4|423}}หรือ{{TextTerm|โรคติดต่อ|4|423|2}}บางโรคได้รับความสนใจเป็นพิเศษ เพราะมันสามารถติดต่อไปยังผู้คนจำนวนมากภายในระยะเวลาค่อนข้างสั้น ในกรณีเช่นนั้น เราพูดถึง{{TextTerm|โรคระบาด|5|423|IndexEntry=โรคระบาด}} และ{{TextTerm|สถิติวิทยาการระบาด|6|423}}พิเศษจะถูกเก็บรวบรวมเพื่อแสดงอุบัติการณ์เหล่านั้น เราอาจได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโรคระบาดเหล่านี้ในประเทศต่างๆ เพราะว่าในหลายประเทศมีการออกกฎหมายบังคับให้รายงานโรคเหล่านั้น จึงเรียกโรคเหล่านั้นว่า{{TextTerm|โรคที่ต้องแจ้งความ|7|423|IndexEntry=โรคที่ต้องแจ้งความ}} บางครั้งแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|โรคเรื้อรัง|8|423|IndexEntry=โรคเรื้อรัง}}กับ{{TextTerm|โรคเฉียบพลัน|9|423|IndexEntry=โรคเฉียบพลัน}} ศัพท์ทั้งสองนี้ไม่มีนิยามแน่ชัด แต่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าโรคเฉียบพลันหมายถึงโรคที่เป็นอย่างกระทันหันและเป็นอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่โรคเรื้อรังเป็นโรคที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ และเป็นอยู่ในช่วงเวลานานและมักจะเป็นสาเหตุให้เกิดความพิการเป็นเวลานาน
{{Note|4| {{NoteTerm|Infectious}}, adj. - {{NoteTerm|infect}}, v. - {{NoteTerm|infection}}, n. The terms {{NoteTerm|communicable diseases, contagious diseases}} and {{NoteTerm|infectious diseases}} are not synonymous. A contagious disease can only be transmitted from person to person; thus, malaria, a communicable disease, is not contagious. Moreover, certain infectious diseases are not communicable. }}
+
{{Note|4| {{NoteTerm|การติดเชื้อ}} (infection)  ศัพท์คำว่า{{NoteTerm|โรคติดต่อ (communicable disease) contagious disease}} และ{{NoteTerm|โรคติดเชื้อ (infectious disease)}} มีความหมายไม่เหมือนกัน  contagious disease เป็นโรคที่ติดต่อจากคนสู่คนเท่านั้น ฉะนั้นโรคมาเลเรียจึงเป็นโรคติดต่อ (communicable disease) แต่ไม่ใช่โรคติดต่อจากคนสู่คน (contagious disease)  ยิ่งกว่านั้น โรคติดเชื้อบางโรคก็ไม่เป็นโรคติดต่อ}}
{{Note|6| {{NoteTerm|Epidemiology}}, n.: the science dealing with epidemics - {{NoteTerm|epidemiologist}}, n.: a specialist in epidemiology - {{NoteTerm|epidemiological}}, adj.: pertaining to epidemiology. The meaning of these terms has expanded greatly, and epidemiology now covers the study of relations between a biological or medical phenomenon and various factors, such as tobacco for example in "the epidemiology of lung cancer," or alternatively the statistical analysis of geographic variations in health phenomena.}}
+
{{Note|6| {{NoteTerm|วิทยาการระบาด}} (epidemiology) ศาสตร์ที่เกี่ยวกับการระบาดของโรค {{NoteTerm|นักระบาดวิทยา}}คือผู้เชี่ยวชาญในวิทยาการระบาด ความหมายของศัพท์คำนี้ได้ขยายออกไปอย่างมาก ปัจจุบันวิทยาการระบาดครอบคลุมการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางการแพทย์และชีววิทยากับปัจจัยต่างๆ อย่างเช่น ยาสูบในการศึกษา "วิทยาการระบาดของมะเร็งปอด" หรือความหมายอีกด้านหนึ่ง เช่นการวิเคราะห์ทางสถิติของความผันแปรเชิงภูมิศาสตร์ในปรากฏการณ์ทางสุขภาพ}}
  
 
=== 424 ===
 
=== 424 ===
แถว 38: แถว 38:
  
 
ลักษณะสามด้านของ{{NonRefTerm|ภาวะเจ็บป่วย}} ({{RefNumber|42|0|1}}) วัดได้ด้วย{{TextTerm|อัตราเจ็บป่วย|1|425|IndexEntry=อัตราเจ็บป่วย}}หรือ{{TextTerm|อัตราส่วนเจ็บป่วย|1|425|2|IndexEntry=อัตราส่วนเจ็บป่วย}} ความถึ่ ระยะเวลาและความรุนแรง ดัชนีเหล่านี้อาจคำนวณสำหรับโรคเฉพาะหรือสำหรับโรคทั้งหมด ดัชนีสองอย่างของความถี่ของสุขภาพไม่ดีได้แก่ {{TextTerm|อัตราอุบัติการณ์|2|425}}ซึ่งหมายถึงจำนวนรายใหม่ของโรคในระหว่างระยะเวลาที่โยงเข้ากับประชากรเฉลี่ย และ{{TextTerm|อัตราความชุก|3|425}}ซึ่งหมายถึงจำนวนรายที่มีอยู่แล้ว ณ ขณะเวลาหนึ่งที่แสดงต่อหน่วยของประชากรเฉลี่ย ไม่ว่าจะเป็น{{TextTerm|ระยะเวลาเฉลี่ยต่อราย|4|425}} หรือ{{TextTerm|อัตราความพิการ|5|425}}ซึ่งเป็น{{TextTerm|จำนวนเฉลี่ยของวันที่เจ็บป่วย|5|425|2}}ต่อคนในประชากร อาจใช้เป็นมาตรวัดของระยะเวลาของการเจ็บป่วย {{TextTerm|อัตรากรณีเสียชีวิต|6|425}}ซึ่งเป็นสัดส่วนของรายที่เสียชีวิตต่อจำนวนรายที่ได้รายงานของโรคใดโรคหนึ่งอาจใช้เป็นดัชนีของความรุนแรงของโรคนั้น
 
ลักษณะสามด้านของ{{NonRefTerm|ภาวะเจ็บป่วย}} ({{RefNumber|42|0|1}}) วัดได้ด้วย{{TextTerm|อัตราเจ็บป่วย|1|425|IndexEntry=อัตราเจ็บป่วย}}หรือ{{TextTerm|อัตราส่วนเจ็บป่วย|1|425|2|IndexEntry=อัตราส่วนเจ็บป่วย}} ความถึ่ ระยะเวลาและความรุนแรง ดัชนีเหล่านี้อาจคำนวณสำหรับโรคเฉพาะหรือสำหรับโรคทั้งหมด ดัชนีสองอย่างของความถี่ของสุขภาพไม่ดีได้แก่ {{TextTerm|อัตราอุบัติการณ์|2|425}}ซึ่งหมายถึงจำนวนรายใหม่ของโรคในระหว่างระยะเวลาที่โยงเข้ากับประชากรเฉลี่ย และ{{TextTerm|อัตราความชุก|3|425}}ซึ่งหมายถึงจำนวนรายที่มีอยู่แล้ว ณ ขณะเวลาหนึ่งที่แสดงต่อหน่วยของประชากรเฉลี่ย ไม่ว่าจะเป็น{{TextTerm|ระยะเวลาเฉลี่ยต่อราย|4|425}} หรือ{{TextTerm|อัตราความพิการ|5|425}}ซึ่งเป็น{{TextTerm|จำนวนเฉลี่ยของวันที่เจ็บป่วย|5|425|2}}ต่อคนในประชากร อาจใช้เป็นมาตรวัดของระยะเวลาของการเจ็บป่วย {{TextTerm|อัตรากรณีเสียชีวิต|6|425}}ซึ่งเป็นสัดส่วนของรายที่เสียชีวิตต่อจำนวนรายที่ได้รายงานของโรคใดโรคหนึ่งอาจใช้เป็นดัชนีของความรุนแรงของโรคนั้น
{{Note|6| This is said to measure the {{NoteTerm|lethality}} of the disease. }}
+
{{Note|6| เป็นการวัด{{NoteTerm|ภาวะความตาย}}ของโรค}}
  
 
=== 426 ===
 
=== 426 ===

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 02:04, 18 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


420

การสึกษาเรื่อง ภาวะเจ็บป่วย1เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบศึกษา การเจ็บไข้2 การเป็นโรค2 สุขภาพไม่ดี2 หรือ โรค2ในประชากร ทำการศึกษาเรื่องนี้ใน 2 แง่มุม คือ อุบัติการณ์ของโรค3 และ ความชุกของโรค4เป็นไปตามคำถามว่าจะพิจารณา กรณีที่เป็นโรค5รายใหม่ หรือจะพิจารณาจำนวนกรณีที่เป็นโรคที่มีอยู่แล้ว ณ เวลาหนึ่ง การรวบรวม สถิติภาวะเจ็บป่วย6มีอุปสรรคอยู่ที่การขาดเครื่องชี้ความแตกต่างระหว่างสุขภาพดีกับ สภาพความเจ็บป่วย7 โรควิทยา8 และ โรคศาสตร์9 ช่วยได้มากในการจำแนกประเภทและคำอธิบายโรคต่างๆ

421

สถิติสาธารณสุข1ครอบคลุมสถิติภาวะเจ็บป่วย และยังรวมทุกแง่ของสุขภาพอนามัยของประชากรด้วย และโดยทั่วไปจะรวมสถิติของ ภาวะการตายรายสาเหตุ2 การจำแนกประเภทของการตายโดย สาเหตุการตาย3ทำได้ยากเพราะในหลายกรณีอาจไม่มี เอกสาเหตุการตาย4 แต่มี พหุสาเหตุการตาย5 หรือ สาเหตุการตายร่วม5 เมื่อมีกรณีเช่นนี้ เราอาจแยกความแตกต่างระหว่าง สาเหตุนำของการตาย6กับ สาเหตุรองของการตาย7 หรือ ดูที่ปัญหาจากความเห็นที่แตกต่างโดยอาจแยกความแตกต่างระหว่าง สาเหตุปฐมภูมิของการตาย8 หรือ สาเหตุหลักของการตาย8 กับ สาเหตุทุติยภูมิของการตาย9 สาเหตุบางส่วนของการตาย9 หรือ สาเหตุร่วมของการตาย9 อัตราตายรายสาเหตุ10 โดยทั่วไปแสดงเป็นอัตราต่อประชากร 100,000 คน อัตราส่วนของจำนวนการตายจากสาเหตุเฉพาะหนึ่งต่อจำนวนการตายจากสาเหตุทั้งหมดเรียกว่า อัตราส่วนการตายเฉพาะสาเหตุ11

422

การตายหรือภาวะพิการ (426-2) อาจเป็นผลมาจากโรค (420-2) หรือ การบาดเจ็บ1 หรือ การเป็นพิษ2 การบาดเจ็บอาจเนื่องมาจาก อุบัติเหตุ3 หรือ ความรุนแรง4 ในกรณีของความรุนแรง เป็นเรื่องปรกติที่จะแยกความแตกต่างระหว่าง การฆ่าตัวตาย5และ ความพยายามฆ่าตัวตาย5 ฆาตกรรม6 และ การตายหรือการบาดเจ็บอันเนื่องมาจากปฎิบัติการแห่งสงคราม7

  • 6. ในทางกฏหมายอาจเป็น ถูกฆ่าตาย หรือการฆ่าคนโดยไม่ไตร่ตรองไว้ก่อน
  • 7. เรียกอย่างย่อเป็นการตายจากสงคาม และการบาดเจ็บจากสงคราม

423

โรคประจำถิ่น1เป็นปัจจัยหนึ่งที่กระทบต่อประชากรบางส่วนอยู่ตลอดเวลา แตกต่างจาก การระบาด2ซึ่งแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วแล้วก็หายไปภายในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อมันเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศก็เรียกว่า การแพร่ระบาด3 โรคติดเชื้อ4หรือ โรคติดต่อ4บางโรคได้รับความสนใจเป็นพิเศษ เพราะมันสามารถติดต่อไปยังผู้คนจำนวนมากภายในระยะเวลาค่อนข้างสั้น ในกรณีเช่นนั้น เราพูดถึง โรคระบาด5 และ สถิติวิทยาการระบาด6พิเศษจะถูกเก็บรวบรวมเพื่อแสดงอุบัติการณ์เหล่านั้น เราอาจได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโรคระบาดเหล่านี้ในประเทศต่างๆ เพราะว่าในหลายประเทศมีการออกกฎหมายบังคับให้รายงานโรคเหล่านั้น จึงเรียกโรคเหล่านั้นว่า โรคที่ต้องแจ้งความ7 บางครั้งแยกความแตกต่างระหว่าง โรคเรื้อรัง8กับ โรคเฉียบพลัน9 ศัพท์ทั้งสองนี้ไม่มีนิยามแน่ชัด แต่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าโรคเฉียบพลันหมายถึงโรคที่เป็นอย่างกระทันหันและเป็นอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่โรคเรื้อรังเป็นโรคที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ และเป็นอยู่ในช่วงเวลานานและมักจะเป็นสาเหตุให้เกิดความพิการเป็นเวลานาน

  • 4. การติดเชื้อ (infection) ศัพท์คำว่าโรคติดต่อ (communicable disease) contagious disease และโรคติดเชื้อ (infectious disease) มีความหมายไม่เหมือนกัน contagious disease เป็นโรคที่ติดต่อจากคนสู่คนเท่านั้น ฉะนั้นโรคมาเลเรียจึงเป็นโรคติดต่อ (communicable disease) แต่ไม่ใช่โรคติดต่อจากคนสู่คน (contagious disease) ยิ่งกว่านั้น โรคติดเชื้อบางโรคก็ไม่เป็นโรคติดต่อ
  • 6. วิทยาการระบาด (epidemiology) ศาสตร์ที่เกี่ยวกับการระบาดของโรค นักระบาดวิทยาคือผู้เชี่ยวชาญในวิทยาการระบาด ความหมายของศัพท์คำนี้ได้ขยายออกไปอย่างมาก ปัจจุบันวิทยาการระบาดครอบคลุมการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางการแพทย์และชีววิทยากับปัจจัยต่างๆ อย่างเช่น ยาสูบในการศึกษา "วิทยาการระบาดของมะเร็งปอด" หรือความหมายอีกด้านหนึ่ง เช่นการวิเคราะห์ทางสถิติของความผันแปรเชิงภูมิศาสตร์ในปรากฏการณ์ทางสุขภาพ

424

นักประชากรศาสตร์ให้ความสนใจเป้นพิเศษต่อบางลักษณะของภาวะการตาย ภาวะการตายภายใน1ซึ่งเป็นผลมาจากพื้นฐานทางพันธุกรรมของบุคคล การผิดรูปแต่กำเนิด2 การบาดเจ็บที่เชื่อมโยงกับการเกิด หรือโรคที่อวัยวะเสื่อมสภาพเนื่องมาจากอายุสูงขึ้น ตรงข้ามกับ ภาวะการตายภายนอก3ที่เป็นผลมาจากสาเหตุภายนอก อย่างเช่น โรคติดเชื้อหรือโรคพยาธิ และการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุนอกเหนือจากการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับเด็กในระหว่างการเกิด ยังมีความสนใจเป็นพิเศษต่อโรคที่เชื่อมโยงกับการตั้งครรภ์ การคลอด และที่ เกี่ยวกับการคลอด4 ภาวะการตายจากสาเหตุเหล่านี้เรียกว่าเป็น ภาวะการตายมารดา5 และ อัตราตายมารดา6อาจคำนวณเป็นอัตราส่วนของการตายมารดาในปีหนึ่งต่อการเกิดในปีนั้น สัดส่วนของการตายเนื่องจาก ชราภาพ7ได้รับความสนใจในฐานะเป็นดัชนีการรายงานสาเหตุการตายที่บกพร่อง

  • 1. ภาวะการตายทารก (410-1) สามารถแยกองค์ประกอบเป็นภาวะการตายทารกภายใน และภาวะการตายทารกภายนอก
  • 3. เหมือน 1.
  • 4. ที่เกี่ยวกับการคลอดเป็นช่วงเวลานอนพักฟื้นหลังจากการคลอด และภาวะการตายของมารดาระหว่างช่วงเวลานี้เรียกว่าภาวะการตายหลังคลอด

425

ลักษณะสามด้านของภาวะเจ็บป่วย (420-1) วัดได้ด้วย อัตราเจ็บป่วย1หรือ อัตราส่วนเจ็บป่วย1 ความถึ่ ระยะเวลาและความรุนแรง ดัชนีเหล่านี้อาจคำนวณสำหรับโรคเฉพาะหรือสำหรับโรคทั้งหมด ดัชนีสองอย่างของความถี่ของสุขภาพไม่ดีได้แก่ อัตราอุบัติการณ์2ซึ่งหมายถึงจำนวนรายใหม่ของโรคในระหว่างระยะเวลาที่โยงเข้ากับประชากรเฉลี่ย และ อัตราความชุก3ซึ่งหมายถึงจำนวนรายที่มีอยู่แล้ว ณ ขณะเวลาหนึ่งที่แสดงต่อหน่วยของประชากรเฉลี่ย ไม่ว่าจะเป็น ระยะเวลาเฉลี่ยต่อราย4 หรือ อัตราความพิการ5ซึ่งเป็น จำนวนเฉลี่ยของวันที่เจ็บป่วย5ต่อคนในประชากร อาจใช้เป็นมาตรวัดของระยะเวลาของการเจ็บป่วย อัตรากรณีเสียชีวิต6ซึ่งเป็นสัดส่วนของรายที่เสียชีวิตต่อจำนวนรายที่ได้รายงานของโรคใดโรคหนึ่งอาจใช้เป็นดัชนีของความรุนแรงของโรคนั้น

  • 6. เป็นการวัดภาวะความตายของโรค

426

ความพิการ1หมายถึงความบกพร่องทางกาย การทำหน้าที่ หรือทางจิตใจ ซึ่งเป็นผลมาจากความเจ็บป่วย การบาดเจ็บ หรือความผิดรูปแต่กำเนิด เมื่อความพิการไปขัดขวางความสามารถของบุคคลที่จะทำงานหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมปรกติจะหมายถึง ความไม่มีความสามารถ2 หรือ การไร้ความสามารถ2 การไร้ความสามารถไม่ว่าจะเป็นเพียงบางส่วนหรือทั้งหมด การไร้ความสามารถถาวร3หรือ ความอ่อนแอ4ถาวรหมายถึงเงื่อนไขที่แก้ให้คืนสู่สภาพเดิมไม่ได้ ความน่าจะเป็นที่บุคคลสุขภาพดีอายุ x ปีเต็มจะกลายเป็นคนไร้ความสามารถในปีต่อไป หรือในระยะเวลากี่ปีต่อไปนับจากอายุนี้เรียกว่าเป็น ความเสี่ยงของการไร้ความสามารถ5หรือ ความน่าจะเป็นของการไร้ความสามารถ5 อนุกรมของความน่าจะเป็นเหล่านี้สามารถนำมารวมเข้าเป็น ตารางการไร้ความสามารถ6ซึ่งเป็นการขยายพิเศษจากตารางชีพ (cf. §432)

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=42&oldid=481"