The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "42"

จาก Demopædia
(422)
(423)
แถว 23: แถว 23:
 
=== 423 ===
 
=== 423 ===
  
An {{TextTerm|endemic disease|1|423|OtherIndexEntry=disease, endemic}} is one that permanently affects substantial segments of a population, in contrast with an {{TextTerm|epidemic|2|423}}, which spreads and then disappears within a fairly short time; when it appears in a large number of countries, it is called a {{TextTerm|pandemic|3|423}}. Certain {{TextTerm|infectious diseases|4|423|IndexEntry=infectious disease|OtherIndexEntry=disease, infectious}} or {{TextTerm|communicable diseases|4|423|2|IndexEntry=communicable disease|OtherIndexEntry=disease, communicable}} have attracted particular attention, because they are capable of infecting large numbers of persons within relatively short time intervals. In such instances we speak of {{TextTerm|epidemic diseases|5|423|IndexEntry=epidemic disease|OtherIndexEntry=disease, epidemic}}, and special {{TextTerm|epidemiological statistics|6|423|OtherIndexEntry=statistics, epidemiological}} are collected to show their incidence. It is possible to obtain information about these illnesses in various countries because legislation has made their reporting compulsory; they are therefore called {{TextTerm|notifiable diseases|7|423|IndexEntry=notifiable disease|OtherIndexEntry=disease, notifiable}}. A distinction is sometimes made between {{TextTerm|chronic diseases|8|423|IndexEntry=chronic disease|OtherIndexEntry=disease, chronic}} and {{TextTerm|acute diseases|9|423|IndexEntry=acute disease|OtherIndexEntry=disease, acute}}. These terms are not precisely defined, but acute diseases are generally understood to be those of abrupt onset and short duration while chronic diseases are those with slow onset and long duration, and often causing prolonged disability.
+
{{TextTerm|โรคประจำถิ่น|1|423}}เป็นปัจจัยหนึ่งที่กระทบต่อประชากรบางส่วนอยู่ตลอดเวลา แตกต่างจาก{{TextTerm|การระบาด|2|423}}ซึ่งแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วแล้วก็หายไปภายในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อมันเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศก็เรียกว่า {{TextTerm|การแพร่ระบาด|3|423}} {{TextTerm|โรคติดเชื้อ|4|423}}หรือ{{TextTerm|โรคติดต่อ|4|423|2}}บางโรคได้รับความสนใจเป็นพิเศษ เพราะมันสามารถติดต่อไปยังผู้คนจำนวนมากภายในระยะเวลาค่อนข้างสั้น ในกรณีเช่นนั้น เราพูดถึง{{TextTerm|โรคระบาด|5|423|IndexEntry=โรคระบาด}} และ{{TextTerm|สถิติวิทยาการระบาด|6|423}}พิเศษจะถูกเก็บรวบรวมเพื่อแสดงอุบัติการณ์เหล่านั้น เราอาจได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโรคระบาดเหล่านี้ในประเทศต่างๆ เพราะว่าในหลายประเทศมีการออกกฎหมายบังคับให้รายงานโรคเหล่านั้น จึงเรียกโรคเหล่านั้นว่า{{TextTerm|โรคที่ต้องแจ้งความ|7|423|IndexEntry=โรคที่ต้องแจ้งความ}} บางครั้งแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|โรคเรื้อรัง|8|423|IndexEntry=โรคเรื้อรัง}}กับ{{TextTerm|โรคเฉียบพลัน|9|423|IndexEntry=โรคเฉียบพลัน}} ศัพท์ทั้งสองนี้ไม่มีนิยามแน่ชัด แต่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าโรคเฉียบพลันหมายถึงโรคที่เป็นอย่างกระทันหันและเป็นอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่โรคเรื้อรังเป็นโรคที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ และเป็นอยู่ในช่วงเวลานานและมักจะเป็นสาเหตุให้เกิดความพิการเป็นเวลานาน
{{Note|2| {{NoteTerm|Epidemic}}, n., also used as adj.}}
 
 
{{Note|4| {{NoteTerm|Infectious}}, adj. - {{NoteTerm|infect}}, v. - {{NoteTerm|infection}}, n. The terms {{NoteTerm|communicable diseases, contagious diseases}} and {{NoteTerm|infectious diseases}} are not synonymous. A contagious disease can only be transmitted from person to person; thus, malaria, a communicable disease, is not contagious. Moreover, certain infectious diseases are not communicable. }}
 
{{Note|4| {{NoteTerm|Infectious}}, adj. - {{NoteTerm|infect}}, v. - {{NoteTerm|infection}}, n. The terms {{NoteTerm|communicable diseases, contagious diseases}} and {{NoteTerm|infectious diseases}} are not synonymous. A contagious disease can only be transmitted from person to person; thus, malaria, a communicable disease, is not contagious. Moreover, certain infectious diseases are not communicable. }}
 
{{Note|6| {{NoteTerm|Epidemiology}}, n.: the science dealing with epidemics - {{NoteTerm|epidemiologist}}, n.: a specialist in epidemiology - {{NoteTerm|epidemiological}}, adj.: pertaining to epidemiology. The meaning of these terms has expanded greatly, and epidemiology now covers the study of relations between a biological or medical phenomenon and various factors, such as tobacco for example in "the epidemiology of lung cancer," or alternatively the statistical analysis of geographic variations in health phenomena.}}
 
{{Note|6| {{NoteTerm|Epidemiology}}, n.: the science dealing with epidemics - {{NoteTerm|epidemiologist}}, n.: a specialist in epidemiology - {{NoteTerm|epidemiological}}, adj.: pertaining to epidemiology. The meaning of these terms has expanded greatly, and epidemiology now covers the study of relations between a biological or medical phenomenon and various factors, such as tobacco for example in "the epidemiology of lung cancer," or alternatively the statistical analysis of geographic variations in health phenomena.}}

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 12:37, 24 เมษายน 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


420

การสึกษาเรื่อง ภาวะเจ็บป่วย1เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบศึกษา การเจ็บไข้2 การเป็นโรค2 สุขภาพไม่ดี2 หรือ โรค2ในประชากร ทำการศึกษาเรื่องนี้ใน 2 แง่มุม คือ อุบัติการณ์ของโรค3 และ ความชุกของโรค4เป็นไปตามคำถามว่าจะพิจารณา กรณีที่เป็นโรค5รายใหม่ หรือจะพิจารณาจำนวนกรณีที่เป็นโรคที่มีอยู่แล้ว ณ เวลาหนึ่ง การรวบรวม สถิติภาวะเจ็บป่วย6มีอุปสรรคอยู่ที่การขาดเครื่องชี้ความแตกต่างระหว่างสุขภาพดีกับ สภาพความเจ็บป่วย7 Nosology8 และ nosography9 ช่วยได้มากในการจำแนกประเภทและคำอธิบายโรคต่างๆ

421

สถิติสาธารณสุข1ครอบคลุสถิติภาวะเจ็บป่วย และยังรวมทุกแง่ของสุขภาพอนามัยของประชากรด้วย และโดยทั่วไปจะรวมสถิติของ ภาวะการตายรายสาเหตุ2 การจำแนกปรเภทของการตายโดย สาเหตุการตาย3ทำได้ยากเพราะในหลายกรณีอาจไม่มี เอกสาเหตุการตาย4 แต่มี พหุสาเหตุการตาย5 หรือ สาเหตุการตายร่วม5 เมื่อมีกรณีเช่นนี้ เราอาจแยกความแตกต่างระหว่าง สาเหตุนำของการตาย6กับ สาเหตุรองของการตาย7 หรือ ดูที่ปัญหาจากความเห็นที่แตกต่างโดยอาจแยกความแตกต่างระหว่าง สาเหตุปฐมภูมิของการตาย8 หรือ สาเหตุหลักของการตาย8 กับ สาเหตุทุติยภูมิของการตาย9 สาเหตุบางส่วนของการตาย9 หรือ สาเหตุร่วมของการตาย9 The อัตราตายรายสาเหตุ10 โดยทั่วไปแสดงเป็นอัตราต่อประชากร 100,000 คน อัตราส่วนของจำนวนการตายจากสาเหตุเฉพาะหนึ่งต่อจำนวนการตายจากสาเหตุทั้งหมดเรียกว่า อัตราส่วนการตายเฉพาะสาเหตุ11

422

การตายหรือภาวะพิการ (426-2) อาจเป็นผลมาจากโรค (420-2) หรือ การบาดเจ็บ1 หรือ การเป็นพิษ2 การบาดเจ็บอาจเนื่องมาจาก อุบัติเหตุ3 หรือ ความรุนแรง4 ในกรณีของความรุนแรง เป็นเรื่องปรกติที่จะแยกความแตกต่างระหว่าง การฆ่าตัวตาย5และ ความพยายามฆ่าตัวตาย5 ฆาตกรรม6 และ การตายหรือการบาดเจ็บอันเนื่องมาจากปฎิบัติการแห่งสงคราม7

  • 6. อาจในทางกฏหมายเป็น ถูกฆ่าตาย หรือการฆ่าคนโดยไม่ไตร่ตรองไว้ก่อน
  • 7. เรียกอย่างย่อเป็นการตายจากสงคาม and การบาดเจ็บจากสงคราม

423

โรคประจำถิ่น1เป็นปัจจัยหนึ่งที่กระทบต่อประชากรบางส่วนอยู่ตลอดเวลา แตกต่างจาก การระบาด2ซึ่งแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วแล้วก็หายไปภายในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อมันเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศก็เรียกว่า การแพร่ระบาด3 โรคติดเชื้อ4หรือ โรคติดต่อ4บางโรคได้รับความสนใจเป็นพิเศษ เพราะมันสามารถติดต่อไปยังผู้คนจำนวนมากภายในระยะเวลาค่อนข้างสั้น ในกรณีเช่นนั้น เราพูดถึง โรคระบาด5 และ สถิติวิทยาการระบาด6พิเศษจะถูกเก็บรวบรวมเพื่อแสดงอุบัติการณ์เหล่านั้น เราอาจได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโรคระบาดเหล่านี้ในประเทศต่างๆ เพราะว่าในหลายประเทศมีการออกกฎหมายบังคับให้รายงานโรคเหล่านั้น จึงเรียกโรคเหล่านั้นว่า โรคที่ต้องแจ้งความ7 บางครั้งแยกความแตกต่างระหว่าง โรคเรื้อรัง8กับ โรคเฉียบพลัน9 ศัพท์ทั้งสองนี้ไม่มีนิยามแน่ชัด แต่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าโรคเฉียบพลันหมายถึงโรคที่เป็นอย่างกระทันหันและเป็นอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่โรคเรื้อรังเป็นโรคที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ และเป็นอยู่ในช่วงเวลานานและมักจะเป็นสาเหตุให้เกิดความพิการเป็นเวลานาน

  • 4. Infectious, adj. - infect, v. - infection, n. The terms communicable diseases, contagious diseases and infectious diseases are not synonymous. A contagious disease can only be transmitted from person to person; thus, malaria, a communicable disease, is not contagious. Moreover, certain infectious diseases are not communicable.
  • 6. Epidemiology, n.: the science dealing with epidemics - epidemiologist, n.: a specialist in epidemiology - epidemiological, adj.: pertaining to epidemiology. The meaning of these terms has expanded greatly, and epidemiology now covers the study of relations between a biological or medical phenomenon and various factors, such as tobacco for example in "the epidemiology of lung cancer," or alternatively the statistical analysis of geographic variations in health phenomena.

424

Demographers devote particular attention to certain aspects of mortality: endogenous mortality1 which results from the genetic constitution of the individual, congenital malformations2, injuries connected with birth, or degenerative diseases associated with aging; exogenous mortality3, in contrast, results from external causes such as infectious or parasitic diseases and accidental injuries other than those incurred by the child during birth. Also of special interest are diseases connected with pregnancy, labor and the puerperium4. Mortality from these latter diseases is called maternal mortality5, and a maternal death rate6 may be computed as the ratio of maternal deaths in a year to the births of the same year. The proportion of deaths due to senility7 has mostly drawn interest as an index of poor reporting of causes of death.

1 and 3. Infant mortality (410-1) can thus be decomposed into endogenous infant mortality and exogenous infant mortality.

  • 4. The puerperium is the lying-in period following a birth, and the mortality of mothers during the period is called puerperal mortality.
  • 7. Senility n. - senile, adj.

425

Three aspects of morbidity (420-1) are commonly measured by morbidity rates1 or morbidity ratios1: frequency, duration and severity. These indices may be computed for specific diseases, or for all diseases. Two indices of the frequency of ill-health are the incidence rate2, the number of new cases of disease during the period related to the average population, and the prevalence rate3, the number of cases existing at a given moment of time expressed per unit of the average population. Either the average duration per case4, or the disability rate5, which is the mean number of days of illness5 per person in the population, may serve as a measure of the duration of illness. The case fatality rate6, which is the proportion of fatal cases among the reported cases of the specified diseases, may be used as an index of severity.

  • 6. This is said to measure the lethality of the disease.

426

An impairment1 refers to any physical, functional or psychological defect, which results from illness, injury or congenital malformation. When an impairment inhibits an individual’s ability to work or participate in normal activities it is referred to as incapacity2 or disability2. This may be total or partial; in either case, permanent disability3 or infirmity4 refer to an irreversible condition. The probability that a healthy individual aged exactly x years will become disabled in the next year or over the course of some number of years starting with this exact age, is called the risk of disability5 or the probability of disability5. A series of these probabilities can be combined into a disability table6, which is a specialized extension of the life table (cf. §432).

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=42&oldid=250"