The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "41"

จาก Demopædia
(411)
(No NewTextTerm in Thai)
 
แถว 9: แถว 9:
 
=== 410 ===
 
=== 410 ===
  
ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดครั้งแรกเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายทารก|1|410}} ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตที่ตายก่อนที่จะถึงอายุหนึ่งปี เช่น 4 สัปดาห์ หรือ 28 วันที่เรียกว่า{{TextTerm|ช่วงเวลาแรกเกิด|3|410}} เรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิด|2|410}} ภาวะการตายในช่วงสัปดาห์แรกของชีวิตและระหว่างสัปดาห์แรกจนถึงก่อน 28 วันเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิดระยะแรก|4|410}}และ{{NewTextTerm|ภาวะการตายแรกเกิดระยะหลัง|6|410}}ตามลำดับ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายหลังแรกเกิด|5|410}}หมายถึงการตายหลังจากช่วงเวลาแรกเกิด แต่ก่อนจะครบอายุหนึ่งปี
+
ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดครั้งแรกเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายทารก|1|410}} ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตที่ตายก่อนที่จะถึงอายุหนึ่งปี เช่น 4 สัปดาห์ หรือ 28 วันที่เรียกว่า{{TextTerm|ช่วงเวลาแรกเกิด|3|410}} เรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิด|2|410}} ภาวะการตายในช่วงสัปดาห์แรกของชีวิตและระหว่างสัปดาห์แรกจนถึงก่อน 28 วันเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิดระยะแรก|4|410}}และ{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิดระยะหลัง|6|410}}ตามลำดับ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายหลังแรกเกิด|5|410}}หมายถึงการตายหลังจากช่วงเวลาแรกเกิด แต่ก่อนจะครบอายุหนึ่งปี
 
{{Note|3| ในสถิติบางอย่าง ช่วงเวลาแรกเกิดนิยามว่าเป็นช่วง 1 เดือนแรกของชีวิต คำว่า{{NoteTerm|วัยทารกช่วงแรก}}บางครั้งนำมาใช้อย่างประมาณเทียบเท่ากับช่วงเวลาแรกเกิด อย่างเช่น ใน "โรคของวัยทารกช่วงแรก" }}
 
{{Note|3| ในสถิติบางอย่าง ช่วงเวลาแรกเกิดนิยามว่าเป็นช่วง 1 เดือนแรกของชีวิต คำว่า{{NoteTerm|วัยทารกช่วงแรก}}บางครั้งนำมาใช้อย่างประมาณเทียบเท่ากับช่วงเวลาแรกเกิด อย่างเช่น ใน "โรคของวัยทารกช่วงแรก" }}
  
 
=== 411 ===
 
=== 411 ===
  
คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อน|1|411}}ใช้สำหรับการตายก่อนที่{{NonRefTerm|ผลของการปฏิสนธิ}} ({{RefNumber|60|2|6}}) จะถูกขับออกหรือแยกออกจากมารดาโดยไม่คำนึงถึง{{NonRefTerm|ระยะเวลาของการตั้งครรภ์}} ({{RefNumber|60|3|3}}) อาจใช้คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายภายในมดลูก|1|411|2}} หรือ{{TextTerm|ภาวะการตายในมดลูก|1|411|3}} การตายเช่นนั้นเรียก{{TextTerm|การตายตัวอ่อน|2|411}} หรือ{{TextTerm|การตายภายในมดลูก|2|411|2}} {{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะแรก|3|411}}เกิดขึ้นก่อนสัปดาห์ที่ 20 ของชีวิตที่อยู่ในครรภ์ ในขณะที่{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะกลาง|4|411}}เกิดขึ้นระหว่างสัปดาห์ที่ 20 และสัปดาห์ที่ 28 ของการตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 28 แล้วจะเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลัง|5|411}} ซึ่งมีผลเรียกวา{{TextTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง|5|411|2}}หรือที่นิยมเรียกว่า{{TextTerm|การตายคลอด|5|411|3}} {{TextTerm|ภาวะการตายปริชาตะ|6|411}}รวมภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลังและส่วนของภาวะการตายทารกที่อาจรวมการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก หรือการตายแรกเกิดทั้งหมดเอาไว้ด้วย {{NewTextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อน-ทารก|7|411}}รวมการตายคลอดและการตายของเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี
+
คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อน|1|411}}ใช้สำหรับการตายก่อนที่{{NonRefTerm|ผลของการปฏิสนธิ}} ({{RefNumber|60|2|6}}) จะถูกขับออกหรือแยกออกจากมารดาโดยไม่คำนึงถึง{{NonRefTerm|ระยะเวลาของการตั้งครรภ์}} ({{RefNumber|60|3|3}}) อาจใช้คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายภายในมดลูก|1|411|2}} หรือ{{TextTerm|ภาวะการตายในมดลูก|1|411|3}} การตายเช่นนั้นเรียก{{TextTerm|การตายตัวอ่อน|2|411}} หรือ{{TextTerm|การตายภายในมดลูก|2|411|2}} {{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะแรก|3|411}}เกิดขึ้นก่อนสัปดาห์ที่ 20 ของชีวิตที่อยู่ในครรภ์ ในขณะที่{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะกลาง|4|411}}เกิดขึ้นระหว่างสัปดาห์ที่ 20 และสัปดาห์ที่ 28 ของการตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 28 แล้วจะเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลัง|5|411}} ซึ่งมีผลเรียกวา{{TextTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง|5|411|2}}หรือที่นิยมเรียกว่า{{TextTerm|การตายคลอด|5|411|3}} {{TextTerm|ภาวะการตายปริชาตะ|6|411}}รวมภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลังและส่วนของภาวะการตายทารกที่อาจรวมการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก หรือการตายแรกเกิดทั้งหมดเอาไว้ด้วย {{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อน-ทารก|7|411}}รวมการตายคลอดและการตายของเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี
 
{{Note|2| มีชื่อเรียกว่า{{NoteTerm|การสูญเสียครรภ์}}ด้วย ศัพท์เหล่านี้รวม{{NonRefTerm|การแท้ง}} ({{RefNumber|60|3|5}}) {{NonRefTerm|การแท้งโดยธรรมชาติ}} ({{RefNumber|60|4|1}}) และการตายคลอด}}
 
{{Note|2| มีชื่อเรียกว่า{{NoteTerm|การสูญเสียครรภ์}}ด้วย ศัพท์เหล่านี้รวม{{NonRefTerm|การแท้ง}} ({{RefNumber|60|3|5}}) {{NonRefTerm|การแท้งโดยธรรมชาติ}} ({{RefNumber|60|4|1}}) และการตายคลอด}}
 
{{Note|3| การตายตัวอ่อนระยะแรกนิยมเรียกกันว่าเป็น{{NoteTerm|การแท้งตามธรรมชาติ}}}}
 
{{Note|3| การตายตัวอ่อนระยะแรกนิยมเรียกกันว่าเป็น{{NoteTerm|การแท้งตามธรรมชาติ}}}}
แถว 26: แถว 26:
 
=== 413 ===
 
=== 413 ===
  
สัดส่วนของ{{NonRefTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง}} ({{RefNumber|41|1|5}})ในจำนวนการเกิดทั้งหมดเรียกว่า{{TextTerm|อัตราตายตัวอ่อนระยะหลัง|1|413}} อัตราส่วนของการตายตัวอ่อนระยะหลังต่อ{{NonRefTerm|การเกิดมีชีพ}} ({{RefNumber|60|1|4}}) เรียกว่า{{TextTerm|อัตราส่วนการตายตัวอ่อนระยะหลัง|2|413}} {{TextTerm|อัตราการตายตัวอ่อน|3|413}}แสดงจำนวนการตายภายในมดลูกที่ทราบต่อการเกิดพันรายในปีเดียวกันนั้น ในขณะที่{{TextTerm|อัตราส่วนการตายตัวอ่อน|4|413}}เป็นอัตราส่วนของการตายในมดลูกต่อการเกิดมีชีพในปีหนึ่ง ดัชนีเหล่านี้จะประมาณภาวะการตายในมดลูกต่ำไปอย่างมาก เนื่องจากการตายในมดลูกระยะแรกมักจะสังเกตไม่ได้หรือไม่ทราบ มาตรวัดที่ดีกว่าของภาวะการตายภายในมดลูกคือค่าที่ได้จาก{{TextTerm|ตารางการตายภายในมดลูก|5|413}}ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้{{NonRefTerm|ตารางชีพ}} (cf. {{NonRefTerm|432}})เป็นพิเศษ โดยนำเอาระยะเวลาการตั้งครรภ์มาพิจารณาด้วย {{TextTerm|อัตราการตายปริชาตะ|6|413}}โยง{{NonRefTerm|การตายปริชาตะ}} ({{RefNumber|41|1|6}}*) มาสัมพันธ์กับผลรวมของการตายตัวอ่อนระยะหลังและการเกิดมีชีพ {{NewTextTerm|อัตราตายตัวอ่อน-ทารก|7|413}}แสดงจำนวนการตายคลอดและการตายในช่วง 1 ปีแรกของชีวิตต่อการเกิดมีชีพ 1000 รายและการตายคลอดของช่วงเวลาเดียวกันที่รายงาน
+
สัดส่วนของ{{NonRefTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง}} ({{RefNumber|41|1|5}})ในจำนวนการเกิดทั้งหมดเรียกว่า{{TextTerm|อัตราตายตัวอ่อนระยะหลัง|1|413}} อัตราส่วนของการตายตัวอ่อนระยะหลังต่อ{{NonRefTerm|การเกิดมีชีพ}} ({{RefNumber|60|1|4}}) เรียกว่า{{TextTerm|อัตราส่วนการตายตัวอ่อนระยะหลัง|2|413}} {{TextTerm|อัตราการตายตัวอ่อน|3|413}}แสดงจำนวนการตายภายในมดลูกที่ทราบต่อการเกิดพันรายในปีเดียวกันนั้น ในขณะที่{{TextTerm|อัตราส่วนการตายตัวอ่อน|4|413}}เป็นอัตราส่วนของการตายในมดลูกต่อการเกิดมีชีพในปีหนึ่ง ดัชนีเหล่านี้จะประมาณภาวะการตายในมดลูกต่ำไปอย่างมาก เนื่องจากการตายในมดลูกระยะแรกมักจะสังเกตไม่ได้หรือไม่ทราบ มาตรวัดที่ดีกว่าของภาวะการตายภายในมดลูกคือค่าที่ได้จาก{{TextTerm|ตารางการตายภายในมดลูก|5|413}}ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้{{NonRefTerm|ตารางชีพ}} (cf. {{NonRefTerm|432}})เป็นพิเศษ โดยนำเอาระยะเวลาการตั้งครรภ์มาพิจารณาด้วย {{TextTerm|อัตราการตายปริชาตะ|6|413}}โยง{{NonRefTerm|การตายปริชาตะ}} ({{RefNumber|41|1|6}}*) มาสัมพันธ์กับผลรวมของการตายตัวอ่อนระยะหลังและการเกิดมีชีพ {{TextTerm|อัตราตายตัวอ่อน-ทารก|7|413}}แสดงจำนวนการตายคลอดและการตายในช่วง 1 ปีแรกของชีวิตต่อการเกิดมีชีพ 1000 รายและการตายคลอดของช่วงเวลาเดียวกันที่รายงาน
 
{{Note|1| เรียกว่า{{NoteTerm|อัตราตายคลอด}}ได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้}}
 
{{Note|1| เรียกว่า{{NoteTerm|อัตราตายคลอด}}ได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้}}
 
{{Note|2| เรียกว่า{{NoteTerm|อัตราส่วนตายคลอด}}ได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้}}
 
{{Note|2| เรียกว่า{{NoteTerm|อัตราส่วนตายคลอด}}ได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้}}
แถว 33: แถว 33:
 
=== 414 ===
 
=== 414 ===
  
ในการศึกษา{{TextTerm|ภาวะการตายตามรายอายุ|1|414}} ศัพท์คำว่า{{NonRefTerm|ภาวะการตายทารก}} ({{RefNumber|41|0|2}}) และ{{NonRefTerm|ภาวะการตายแรกเกิด}} ({{RefNumber|41|0|3}})จะอ้างถึงระยะเวลาที่ยอมรับกันทั่วไป การใช้ศัพท์ต่างๆ เช่น {{TextTerm|ภาวะการตายเด็ก|2|414}} {{NewTextTerm|ภาวะการตายเยาวชน|3|414}} {{TextTerm|ภาวะการตายผู้ใหญ่|4|414}} หรือ{{TextTerm|ภาวะการตายของคนชรา|5|414}}ก็ยังไม่อยู่ในรูปแบบเดียวกัน {{TextTerm|อัตราตายเด็กหลังวัยทารก|6|414}}บางครั้งหมายถึงอัตราตายระหว่างอายุหนึ่งถึงสี่ปี
+
ในการศึกษา{{TextTerm|ภาวะการตายตามรายอายุ|1|414}} ศัพท์คำว่า{{NonRefTerm|ภาวะการตายทารก}} ({{RefNumber|41|0|2}}) และ{{NonRefTerm|ภาวะการตายแรกเกิด}} ({{RefNumber|41|0|3}})จะอ้างถึงระยะเวลาที่ยอมรับกันทั่วไป การใช้ศัพท์ต่างๆ เช่น {{TextTerm|ภาวะการตายเด็ก|2|414}} {{TextTerm|ภาวะการตายเยาวชน|3|414}} {{TextTerm|ภาวะการตายผู้ใหญ่|4|414}} หรือ{{TextTerm|ภาวะการตายของคนชรา|5|414}}ก็ยังไม่อยู่ในรูปแบบเดียวกัน {{TextTerm|อัตราตายเด็กหลังวัยทารก|6|414}}บางครั้งหมายถึงอัตราตายระหว่างอายุหนึ่งถึงสี่ปี
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 14:39, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


410

ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดครั้งแรกเรียกว่า ภาวะการตายทารก1 ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตที่ตายก่อนที่จะถึงอายุหนึ่งปี เช่น 4 สัปดาห์ หรือ 28 วันที่เรียกว่า ช่วงเวลาแรกเกิด3 เรียกว่า ภาวะการตายแรกเกิด2 ภาวะการตายในช่วงสัปดาห์แรกของชีวิตและระหว่างสัปดาห์แรกจนถึงก่อน 28 วันเรียกว่า ภาวะการตายแรกเกิดระยะแรก4และ ภาวะการตายแรกเกิดระยะหลัง6ตามลำดับ ศัพท์คำว่า ภาวะการตายหลังแรกเกิด5หมายถึงการตายหลังจากช่วงเวลาแรกเกิด แต่ก่อนจะครบอายุหนึ่งปี

  • 3. ในสถิติบางอย่าง ช่วงเวลาแรกเกิดนิยามว่าเป็นช่วง 1 เดือนแรกของชีวิต คำว่าวัยทารกช่วงแรกบางครั้งนำมาใช้อย่างประมาณเทียบเท่ากับช่วงเวลาแรกเกิด อย่างเช่น ใน "โรคของวัยทารกช่วงแรก"

411

คำว่า ภาวะการตายตัวอ่อน1ใช้สำหรับการตายก่อนที่ผลของการปฏิสนธิ (602-6) จะถูกขับออกหรือแยกออกจากมารดาโดยไม่คำนึงถึงระยะเวลาของการตั้งครรภ์ (603-3) อาจใช้คำว่า ภาวะการตายภายในมดลูก1 หรือ ภาวะการตายในมดลูก1 การตายเช่นนั้นเรียก การตายตัวอ่อน2 หรือ การตายภายในมดลูก2 ภาวะการตายตัวอ่อนระยะแรก3เกิดขึ้นก่อนสัปดาห์ที่ 20 ของชีวิตที่อยู่ในครรภ์ ในขณะที่ ภาวะการตายตัวอ่อนระยะกลาง4เกิดขึ้นระหว่างสัปดาห์ที่ 20 และสัปดาห์ที่ 28 ของการตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 28 แล้วจะเรียกว่า ภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลัง5 ซึ่งมีผลเรียกวา การตายตัวอ่อนระยะหลัง5หรือที่นิยมเรียกว่า การตายคลอด5 ภาวะการตายปริชาตะ6รวมภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลังและส่วนของภาวะการตายทารกที่อาจรวมการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก หรือการตายแรกเกิดทั้งหมดเอาไว้ด้วย ภาวะการตายตัวอ่อน-ทารก7รวมการตายคลอดและการตายของเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี

  • 2. มีชื่อเรียกว่าการสูญเสียครรภ์ด้วย ศัพท์เหล่านี้รวมการแท้ง (603-5) การแท้งโดยธรรมชาติ (604-1) และการตายคลอด
  • 3. การตายตัวอ่อนระยะแรกนิยมเรียกกันว่าเป็นการแท้งตามธรรมชาติ
  • 5. การตายคลอด (stillbirth) ในบางประเทศเช่น ฝรั่งเศส เด็กที่เกิดมามีชีพแต่ตายเสียก่อนที่จะไปจดทะเบียน ในทางกฎหมายรวมไว้ในการตายคลอด และเรียกว่าการตายคลอดปลอม
  • 6. การตายในช่วงเวลานี้เรียกว่าการตายปริชาตะ

412

อัตราส่วนของ การตายก่อนอายุหนึ่งขวบ1 ของการตายอายุน้อยกว่า 28 วัน และของการตายอายุน้อยกว่าหนึ่งสัปดาห์ที่เกิดขึ้นในปีหนึ่งต่อจำนวนของการเกิดมีชีพจะให้ค่าตามลำดับดังนี้ อัตราตายทารก2 อัตราตายแรกเกิด3 และ อัตราตายแรกเกิดสัปดาห์แรก4 โดยทั่วไปอัตราเหล่านี้จะใช้เป็นอัตราต่อพันการเกิดมีชีพ เมื่อการตายจำแนกออกตามอายุและปีที่เกิด สามารถที่จะแบ่งการตสยก่อนอายุครบหนึ่งขวบตามการเกิดออกเป็นสองรุ่นตามปีที่เกิด ดัชนีที่ได้ อัตราตายทารกปรับฐาน5ซึ่งเท่ากับ ความน่าจะเป็นของการตายก่อนอายุหนึ่งขวบ5 ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลปีเกิดเช่นนั้นอาจประมาณ ปัจจัยแยก6ได้ ซึ่งจะแบ่งการตายทารกออกเป็นการตายของทารกที่เกิดในปีปฏิทินปัจจุบัน และการตายของทารกที่เกิดในปีปฏิทินก่อน

413

สัดส่วนของการตายตัวอ่อนระยะหลัง (411-5)ในจำนวนการเกิดทั้งหมดเรียกว่า อัตราตายตัวอ่อนระยะหลัง1 อัตราส่วนของการตายตัวอ่อนระยะหลังต่อการเกิดมีชีพ (601-4) เรียกว่า อัตราส่วนการตายตัวอ่อนระยะหลัง2 อัตราการตายตัวอ่อน3แสดงจำนวนการตายภายในมดลูกที่ทราบต่อการเกิดพันรายในปีเดียวกันนั้น ในขณะที่ อัตราส่วนการตายตัวอ่อน4เป็นอัตราส่วนของการตายในมดลูกต่อการเกิดมีชีพในปีหนึ่ง ดัชนีเหล่านี้จะประมาณภาวะการตายในมดลูกต่ำไปอย่างมาก เนื่องจากการตายในมดลูกระยะแรกมักจะสังเกตไม่ได้หรือไม่ทราบ มาตรวัดที่ดีกว่าของภาวะการตายภายในมดลูกคือค่าที่ได้จาก ตารางการตายภายในมดลูก5ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ตารางชีพ (cf. 432)เป็นพิเศษ โดยนำเอาระยะเวลาการตั้งครรภ์มาพิจารณาด้วย อัตราการตายปริชาตะ6โยงการตายปริชาตะ (411-6*) มาสัมพันธ์กับผลรวมของการตายตัวอ่อนระยะหลังและการเกิดมีชีพ อัตราตายตัวอ่อน-ทารก7แสดงจำนวนการตายคลอดและการตายในช่วง 1 ปีแรกของชีวิตต่อการเกิดมีชีพ 1000 รายและการตายคลอดของช่วงเวลาเดียวกันที่รายงาน

  • 1. เรียกว่าอัตราตายคลอดได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้
  • 2. เรียกว่าอัตราส่วนตายคลอดได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้
  • 6. อัตราส่วนการตายปริชาตะเป็นการตายปริชาตะต่อการเกิดมีชีพเท่านั้น

414

ในการศึกษา ภาวะการตายตามรายอายุ1 ศัพท์คำว่าภาวะการตายทารก (410-2) และภาวะการตายแรกเกิด (410-3)จะอ้างถึงระยะเวลาที่ยอมรับกันทั่วไป การใช้ศัพท์ต่างๆ เช่น ภาวะการตายเด็ก2 ภาวะการตายเยาวชน3 ภาวะการตายผู้ใหญ่4 หรือ ภาวะการตายของคนชรา5ก็ยังไม่อยู่ในรูปแบบเดียวกัน อัตราตายเด็กหลังวัยทารก6บางครั้งหมายถึงอัตราตายระหว่างอายุหนึ่งถึงสี่ปี

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=41&oldid=751"