The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "41"

จาก Demopædia
แถว 10: แถว 10:
  
 
ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดครั้งแรกเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายทารก|1|410}} ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตที่ตายก่อนที่จะถึงอายุหนึ่งปี เช่น 4 สัปดาห์ หรือ 28 วันที่เรียกว่า{{TextTerm|ช่วงเวลาแรกเกิด|3|410}} เรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิด|2|410}} ภาวะการตายในช่วงสัปดาห์แรกของชีวิตเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก|4|410}} ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายหลังแรกเกิด|5|410}}หมายถึงการตายหลังจากช่วงเวลาแรกเกิด แต่ก่อนจะครบอายุหนึ่งปี
 
ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดครั้งแรกเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายทารก|1|410}} ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตที่ตายก่อนที่จะถึงอายุหนึ่งปี เช่น 4 สัปดาห์ หรือ 28 วันที่เรียกว่า{{TextTerm|ช่วงเวลาแรกเกิด|3|410}} เรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิด|2|410}} ภาวะการตายในช่วงสัปดาห์แรกของชีวิตเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก|4|410}} ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายหลังแรกเกิด|5|410}}หมายถึงการตายหลังจากช่วงเวลาแรกเกิด แต่ก่อนจะครบอายุหนึ่งปี
{{Note|3| ในสถิติบางอย่าง ช่วงเวลาแรกเกิดนิยามว่าเป็นช่วง 1 เดือนแรกของชีวิต คำว่า{{NoteTerm|วัยทารกช่วงแรก}}บางครั้งนำมาใช้อย่างประมาณเทียบเท่ากับช่วงเวลาแรกเกิด อย่างเช่น ใน "โรคของวัยทารกแรก" }}
+
{{Note|3| ในสถิติบางอย่าง ช่วงเวลาแรกเกิดนิยามว่าเป็นช่วง 1 เดือนแรกของชีวิต คำว่า{{NoteTerm|วัยทารกช่วงแรก}}บางครั้งนำมาใช้อย่างประมาณเทียบเท่ากับช่วงเวลาแรกเกิด อย่างเช่น ใน "โรคของวัยทารกช่วงแรก" }}
  
 
=== 411 ===
 
=== 411 ===
  
 
คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อน|1|411|OtherIndexEntry=ตัวอ่อน, ภาวะการตาย}}ใช้สำหรับการตายก่อนที่{{NonRefTerm|ผลของการปฏิสนธิ}} ({{RefNumber|60|2|6}}) จะถูกขับออกหรือแยกออกจากมารดาโดยไม่คำนึงถึง{{NonRefTerm|ระยะเวลาของการตั้งครรภ์}} ({{RefNumber|60|3|3}}) อาจใช้คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายภายในมดลูก|1|411|2}} หรือ{{TextTerm|ภาวะการตายในมดลูก|1|411|3}} การตายเช่นนั้นเรียก{{TextTerm|การตายตัวอ่อน|2|411}} หรือ{{TextTerm|การตายภายในมดลูก|2|411|2}} {{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะแรก|3|411}}เกิดขึ้นก่อนสัปดาห์ที่ 20 ของชีวิตที่อยู่ในครรภ์ ในขณะที่{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะกลาง|4|411}}เกิดขึ้นระหว่างสัปดาห์ที่ 20 และสัปดาห์ที่ 28 ของการตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 28 แล้วจะเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลัง|5|411}} ซึ่งมีผลเรียกวา{{TextTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง|5|411|2}}หรือที่นิยมเรียกว่า{{TextTerm|การตายคลอด|5|411|3}} {{TextTerm|ภาวะการตายปริชาตะ|6|411}}รวมภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลังและส่วนของภาวะการตายทารกที่อาจรวมการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก หรือการตายแรกเกิดทั้งหมดเอาไว้ด้วย
 
คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อน|1|411|OtherIndexEntry=ตัวอ่อน, ภาวะการตาย}}ใช้สำหรับการตายก่อนที่{{NonRefTerm|ผลของการปฏิสนธิ}} ({{RefNumber|60|2|6}}) จะถูกขับออกหรือแยกออกจากมารดาโดยไม่คำนึงถึง{{NonRefTerm|ระยะเวลาของการตั้งครรภ์}} ({{RefNumber|60|3|3}}) อาจใช้คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายภายในมดลูก|1|411|2}} หรือ{{TextTerm|ภาวะการตายในมดลูก|1|411|3}} การตายเช่นนั้นเรียก{{TextTerm|การตายตัวอ่อน|2|411}} หรือ{{TextTerm|การตายภายในมดลูก|2|411|2}} {{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะแรก|3|411}}เกิดขึ้นก่อนสัปดาห์ที่ 20 ของชีวิตที่อยู่ในครรภ์ ในขณะที่{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะกลาง|4|411}}เกิดขึ้นระหว่างสัปดาห์ที่ 20 และสัปดาห์ที่ 28 ของการตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 28 แล้วจะเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลัง|5|411}} ซึ่งมีผลเรียกวา{{TextTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง|5|411|2}}หรือที่นิยมเรียกว่า{{TextTerm|การตายคลอด|5|411|3}} {{TextTerm|ภาวะการตายปริชาตะ|6|411}}รวมภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลังและส่วนของภาวะการตายทารกที่อาจรวมการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก หรือการตายแรกเกิดทั้งหมดเอาไว้ด้วย
{{Note|2| Also designated as {{NoteTerm|pregnancy wastage}}. These terms include {{NonRefTerm|abortions}} ({{RefNumber|60|3|5}}), {{NonRefTerm|miscarriages}} ({{RefNumber|60|4|1}}) and stillbirths.}}
+
{{Note|2| มีชื่อเรียกว่า{{NoteTerm|การสูญเสียครรภ์}}ด้วย ศัพท์เหล่านี้รวม{{NonRefTerm|การแท้ง}} ({{RefNumber|60|3|5}}) {{NonRefTerm|miscarriages}} ({{RefNumber|60|4|1}}) และการตายคลอด}}
{{Note|3| Early foetal deaths are also popularly known as {{NoteTerm|miscarriages}}.}}
+
{{Note|3| การตายตัวอ่อนระยะแรกนิยมเรียกกันว่าเป็น{{NoteTerm|การแท้งตามธรรมชาติ}}}}
{{Note|5| {{NoteTerm|Stillbirth}}, n. - {{NoteTerm|stillborn}}, adj. In certain countries, including France, children born alive who died before registration may be legally included among the stillborn, and are called {{NoteTerm|false stillbirths}}.}}
+
{{Note|5| {{NoteTerm|การตายคลอด}} (stillbirth) ในบางประเทศเช่น ฝรั่งเศส เด็กที่เกิดมามีชีพแต่ตายเสียก่อนที่จะไปจดทะเบียน ในทางกฎหมายรวมไว้ในการตายคลอด และเรียกว่า{{NoteTerm|การตายคลอดปลอม}}}}
{{Note|6| The corresponding deaths are called {{NoteTerm|perinatal deaths}}.}}
+
{{Note|6| การตายในช่วงเวลานี้เรียกว่า{{NoteTerm|การตายปริชาตะ}}}}
  
 
=== 412 ===
 
=== 412 ===
แถว 26: แถว 26:
 
=== 413 ===
 
=== 413 ===
  
สัดส่วนของ{{NonRefTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง}} ({{RefNumber|41|1|5}})ในจำนวนการเกิดทั้งหมดเรียกว่า{{TextTerm|อัตราตายตัวอ่อนระยะหลัง|1|413}} อัตราส่วนของการตายตัวอ่อนระยะหลังต่อ{{NonRefTerm|การเกิดมีชีพ}} ({{RefNumber|60|1|4}}) เรียกว่า{{TextTerm|อัตราส่วนการตายตัวอ่อนระยะหลัง|2|413}} {{TextTerm|อัตราการตายตัวอ่อน|3|413}}แสดงจำนวนการตายภายในมดลูกที่ทราบต่อการเกิดพันรายในปีเดียวกันนั้น ในขณะที่{{TextTerm|อัตราส่วนการตายตัวอ่อน|4|413}}เป็นอัตราส่วนของการตายในมดลูกต่อการเกิดมีชีพในปีหนึ่ง ดัชนีเหล่านี้จะประมาณภาวะการตายในมดลูกต่ำไปอย่างมาก เนื่องจากการตายในมดลูกระยะแรกมักจะสังเกตไม่ได้หรือไม่ทราบ มาตรวัดที่ดีกว่าของภาวะการตายภายในมดลูกคือค่าที่ได้จาก{{TextTerm|ตารางการตายภายในมดลูก|5|413}}ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้{{NonRefTerm|ตารางชีพ}} (cf. {{NonRefTerm|432}})เป็นพิเศษ โดยนำเอาระยะเวลาการตั้งครรภ์มาพิจารณาด้วย {{TextTerm|อัตราตายปริชาตะ|6|413}}โยง{{NonRefTerm|การตายปริชาตะ}} ({{RefNumber|41|1|6}}*)มาสัมพันธ์กับผลรวมของการตายตัวอ่อนระยะหลังและการเกิดมีชีพ
+
สัดส่วนของ{{NonRefTerm|การตายตัวอ่อนระยะหลัง}} ({{RefNumber|41|1|5}})ในจำนวนการเกิดทั้งหมดเรียกว่า{{TextTerm|อัตราตายตัวอ่อนระยะหลัง|1|413}} อัตราส่วนของการตายตัวอ่อนระยะหลังต่อ{{NonRefTerm|การเกิดมีชีพ}} ({{RefNumber|60|1|4}}) เรียกว่า{{TextTerm|อัตราส่วนการตายตัวอ่อนระยะหลัง|2|413}} {{TextTerm|อัตราการตายตัวอ่อน|3|413}}แสดงจำนวนการตายภายในมดลูกที่ทราบต่อการเกิดพันรายในปีเดียวกันนั้น ในขณะที่{{TextTerm|อัตราส่วนการตายตัวอ่อน|4|413}}เป็นอัตราส่วนของการตายในมดลูกต่อการเกิดมีชีพในปีหนึ่ง ดัชนีเหล่านี้จะประมาณภาวะการตายในมดลูกต่ำไปอย่างมาก เนื่องจากการตายในมดลูกระยะแรกมักจะสังเกตไม่ได้หรือไม่ทราบ มาตรวัดที่ดีกว่าของภาวะการตายภายในมดลูกคือค่าที่ได้จาก{{TextTerm|ตารางการตายภายในมดลูก|5|413}}ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้{{NonRefTerm|ตารางชีพ}} (cf. {{NonRefTerm|432}})เป็นพิเศษ โดยนำเอาระยะเวลาการตั้งครรภ์มาพิจารณาด้วย {{TextTerm|อัตราการตายปริชาตะ|6|413}}โยง{{NonRefTerm|การตายปริชาตะ}} ({{RefNumber|41|1|6}}*)มาสัมพันธ์กับผลรวมของการตายตัวอ่อนระยะหลังและการเกิดมีชีพ
{{Note|1| Also called {{NoteTerm|stillbirth rate}}. This usage is not recommended.}}
+
{{Note|1| เรียกว่า{{NoteTerm|อัตราตายคลอด}}ได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้}}
{{Note|2| Also called {{NoteTerm|stillbirth ratio}}. This usage is not recommended.}}
+
{{Note|2| เรียกว่า{{NoteTerm|อัตราส่วนตายคลอด}}ได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้}}
{{Note|6| The {{NoteTerm|perinatal mortality ratio}} relates perinatal deaths to live births only.}}
+
{{Note|6| {{NoteTerm|อัตราส่วนการตายปริชาตะ}}เป็นการตายปริชาตะต่อการเกิดมีชีพเท่านั้น}}
  
 
=== 414 ===
 
=== 414 ===

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 01:44, 18 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


410

ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดครั้งแรกเรียกว่า ภาวะการตายทารก1 ภาวะการตายของเด็กเกิดมามีชีวิตที่ตายก่อนที่จะถึงอายุหนึ่งปี เช่น 4 สัปดาห์ หรือ 28 วันที่เรียกว่า ช่วงเวลาแรกเกิด3 เรียกว่า ภาวะการตายแรกเกิด2 ภาวะการตายในช่วงสัปดาห์แรกของชีวิตเรียกว่า ภาวะการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก4 ศัพท์คำว่า ภาวะการตายหลังแรกเกิด5หมายถึงการตายหลังจากช่วงเวลาแรกเกิด แต่ก่อนจะครบอายุหนึ่งปี

  • 3. ในสถิติบางอย่าง ช่วงเวลาแรกเกิดนิยามว่าเป็นช่วง 1 เดือนแรกของชีวิต คำว่าวัยทารกช่วงแรกบางครั้งนำมาใช้อย่างประมาณเทียบเท่ากับช่วงเวลาแรกเกิด อย่างเช่น ใน "โรคของวัยทารกช่วงแรก"

411

คำว่า ภาวะการตายตัวอ่อน1ใช้สำหรับการตายก่อนที่ผลของการปฏิสนธิ (602-6) จะถูกขับออกหรือแยกออกจากมารดาโดยไม่คำนึงถึงระยะเวลาของการตั้งครรภ์ (603-3) อาจใช้คำว่า ภาวะการตายภายในมดลูก1 หรือ ภาวะการตายในมดลูก1 การตายเช่นนั้นเรียก การตายตัวอ่อน2 หรือ การตายภายในมดลูก2 ภาวะการตายตัวอ่อนระยะแรก3เกิดขึ้นก่อนสัปดาห์ที่ 20 ของชีวิตที่อยู่ในครรภ์ ในขณะที่ ภาวะการตายตัวอ่อนระยะกลาง4เกิดขึ้นระหว่างสัปดาห์ที่ 20 และสัปดาห์ที่ 28 ของการตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 28 แล้วจะเรียกว่า ภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลัง5 ซึ่งมีผลเรียกวา การตายตัวอ่อนระยะหลัง5หรือที่นิยมเรียกว่า การตายคลอด5 ภาวะการตายปริชาตะ6รวมภาวะการตายตัวอ่อนระยะหลังและส่วนของภาวะการตายทารกที่อาจรวมการตายแรกเกิดสัปดาห์แรก หรือการตายแรกเกิดทั้งหมดเอาไว้ด้วย

  • 2. มีชื่อเรียกว่าการสูญเสียครรภ์ด้วย ศัพท์เหล่านี้รวมการแท้ง (603-5) miscarriages (604-1) และการตายคลอด
  • 3. การตายตัวอ่อนระยะแรกนิยมเรียกกันว่าเป็นการแท้งตามธรรมชาติ
  • 5. การตายคลอด (stillbirth) ในบางประเทศเช่น ฝรั่งเศส เด็กที่เกิดมามีชีพแต่ตายเสียก่อนที่จะไปจดทะเบียน ในทางกฎหมายรวมไว้ในการตายคลอด และเรียกว่าการตายคลอดปลอม
  • 6. การตายในช่วงเวลานี้เรียกว่าการตายปริชาตะ

412

อัตราส่วนของ การตายก่อนอายุหนึ่งขวบ1 ของการตายอายุน้อยกว่า 28 วัน และของการตายอายุน้อยกว่าหนึ่งสัปดาห์ที่เกิดขึ้นในปีหนึ่งต่อจำนวนของการเกิดมีชีพจะให้ค่าตามลำดับดังนี้ อัตราตายทารก2 อัตราตายแรกเกิด3 และ อัตราตายแรกเกิดสัปดาห์แรก4 โดยทั่วไปอัตราเหล่านี้จะใช้เป็นอัตราต่อพันการเกิดมีชีพ เมื่อการตายจำแนกออกตามอายุและปีที่เกิด สามารถที่จะแบ่งการตสยก่อนอายุครบหนึ่งขวบตามการเกิดออกเป็นสองรุ่นตามปีที่เกิด ดัชนีที่ได้ อัตราตายทารกปรับฐาน5ซึ่งเท่ากับ ความน่าจะเป็นของการตายก่อนอายุหนึ่งขวบ5 ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลปีเกิดเช่นนั้นอาจประมาณ ปัจจัยแยก6ได้ ซึ่งจะแบ่งการตายทารกออกเป็นการตายของทารกที่เกิดในปีปฏิทินปัจจุบัน และการตายของทารกที่เกิดในปีปฏิทินก่อน

413

สัดส่วนของการตายตัวอ่อนระยะหลัง (411-5)ในจำนวนการเกิดทั้งหมดเรียกว่า อัตราตายตัวอ่อนระยะหลัง1 อัตราส่วนของการตายตัวอ่อนระยะหลังต่อการเกิดมีชีพ (601-4) เรียกว่า อัตราส่วนการตายตัวอ่อนระยะหลัง2 อัตราการตายตัวอ่อน3แสดงจำนวนการตายภายในมดลูกที่ทราบต่อการเกิดพันรายในปีเดียวกันนั้น ในขณะที่ อัตราส่วนการตายตัวอ่อน4เป็นอัตราส่วนของการตายในมดลูกต่อการเกิดมีชีพในปีหนึ่ง ดัชนีเหล่านี้จะประมาณภาวะการตายในมดลูกต่ำไปอย่างมาก เนื่องจากการตายในมดลูกระยะแรกมักจะสังเกตไม่ได้หรือไม่ทราบ มาตรวัดที่ดีกว่าของภาวะการตายภายในมดลูกคือค่าที่ได้จาก ตารางการตายภายในมดลูก5ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ตารางชีพ (cf. 432)เป็นพิเศษ โดยนำเอาระยะเวลาการตั้งครรภ์มาพิจารณาด้วย อัตราการตายปริชาตะ6โยงการตายปริชาตะ (411-6*)มาสัมพันธ์กับผลรวมของการตายตัวอ่อนระยะหลังและการเกิดมีชีพ

  • 1. เรียกว่าอัตราตายคลอดได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้
  • 2. เรียกว่าอัตราส่วนตายคลอดได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำนี้
  • 6. อัตราส่วนการตายปริชาตะเป็นการตายปริชาตะต่อการเกิดมีชีพเท่านั้น

414

ในการศึกษา ภาวะการตายตามรายอายุ1 ศัพท์คำว่าภาวะการตายทารก (410-2) และภาวะการตายแรกเกิด (410-3)จะอ้างถึงระยะเวลาที่ยอมรับกันทั่วไป การใช้ศัพท์ต่างๆ เช่น ภาวะการตายเด็ก2 ภาวะการตายผู้ใหญ่4 หรือ ภาวะการตายของคนชรา5ก็ยังไม่อยู่ในรูปแบบเดียวกัน อัตราตายเด็กหลังวัยทารก6บางครั้งหมายถึงอัตราตายระหว่างอายุหนึ่งถึงสี่ปี

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=41&oldid=479"