The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "40"

จาก Demopædia
(402)
(no NewTextTerm)
 
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
แถว 10: แถว 10:
  
 
การศึกษา{{TextTerm|ภาวะการตาย|1|401}}เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบของการตายที่มีต่อประชากร ศัพท์ทั่วไป{{TextTerm|อัตราการตาย|2|401}} หรือ{{TextTerm|อัตราตาย|2|401|2}}ตีวงรอบ{{NonRefTerm|อัตรา}} ({{RefNumber|13|3|4}}) ทั้งหมดซึ่งวัดความถี่ของ{{TextTerm|การตาย|3|401}} เมื่อใช้คำว่าอัตราตายโดยไม่มีคุณศัพท์ใดขยายความต่อไป โดยทั่วไปจะหมายถึง{{TextTerm|อัตราตายอย่างหยาบ|4|401}} (cf. {{RefNumber|13|6|8}} สำหรับคำอธิบายทั่วไปของ{{NonRefTerm|อัตราอย่างหยาบ)}} อัตรานี้เป็นอัตราต่อปีและประกอบด้วยอัตราส่วนของจำนวนการตายรายปีที่เกิดขึ้นในช่วงปีปฏิทินหนึ่งต่อจำนวนคนที่เสี่ยงต่อการตายในช่วงเวลาเดียวกัน จำนวนนี้เท่ากับ{{TextTerm|ประชากรเฉลี่ย|5|401}}หรือ{{TextTerm|ประชากรโดยเฉลี่ย|5|401|2}}ของช่วงเวลานั้น และปรกติประชากร ณ จุดกึ่งกลางของช่วงเวลาสามารถใช้แทนประชากรได้โดยไม่มีข้อผิดพลาดมากนักถ้าขนาดของประชากรนั้นเปลี่ยนแปลงไปอย่างสม่ำเสมอพอสมควร ถ้าศึกษาภาวะการตายของ{{NonRefTerm|ประชากรกลุ่มย่อย}} ({{RefNumber|10|1|6}}) เพียงกลุ่มเดียว เราพูดถึง{{NonRefTerm|อัตราตายเฉพาะ}} ({{RefNumber|13|4|6}}) ซึ่ง{{TextTerm|อัตราตายรายอายุและเพศ|6|401}}เป็นอัตราที่ใช้กันมากที่สุด {{TextTerm|อัตราตายรายอายุ|7|401}}ที่ไม่แยกเพศก็คำนวณใช้กันในบางโอกาส
 
การศึกษา{{TextTerm|ภาวะการตาย|1|401}}เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบของการตายที่มีต่อประชากร ศัพท์ทั่วไป{{TextTerm|อัตราการตาย|2|401}} หรือ{{TextTerm|อัตราตาย|2|401|2}}ตีวงรอบ{{NonRefTerm|อัตรา}} ({{RefNumber|13|3|4}}) ทั้งหมดซึ่งวัดความถี่ของ{{TextTerm|การตาย|3|401}} เมื่อใช้คำว่าอัตราตายโดยไม่มีคุณศัพท์ใดขยายความต่อไป โดยทั่วไปจะหมายถึง{{TextTerm|อัตราตายอย่างหยาบ|4|401}} (cf. {{RefNumber|13|6|8}} สำหรับคำอธิบายทั่วไปของ{{NonRefTerm|อัตราอย่างหยาบ)}} อัตรานี้เป็นอัตราต่อปีและประกอบด้วยอัตราส่วนของจำนวนการตายรายปีที่เกิดขึ้นในช่วงปีปฏิทินหนึ่งต่อจำนวนคนที่เสี่ยงต่อการตายในช่วงเวลาเดียวกัน จำนวนนี้เท่ากับ{{TextTerm|ประชากรเฉลี่ย|5|401}}หรือ{{TextTerm|ประชากรโดยเฉลี่ย|5|401|2}}ของช่วงเวลานั้น และปรกติประชากร ณ จุดกึ่งกลางของช่วงเวลาสามารถใช้แทนประชากรได้โดยไม่มีข้อผิดพลาดมากนักถ้าขนาดของประชากรนั้นเปลี่ยนแปลงไปอย่างสม่ำเสมอพอสมควร ถ้าศึกษาภาวะการตายของ{{NonRefTerm|ประชากรกลุ่มย่อย}} ({{RefNumber|10|1|6}}) เพียงกลุ่มเดียว เราพูดถึง{{NonRefTerm|อัตราตายเฉพาะ}} ({{RefNumber|13|4|6}}) ซึ่ง{{TextTerm|อัตราตายรายอายุและเพศ|6|401}}เป็นอัตราที่ใช้กันมากที่สุด {{TextTerm|อัตราตายรายอายุ|7|401}}ที่ไม่แยกเพศก็คำนวณใช้กันในบางโอกาส
{{Note|2| บางครั้งบางคราว คำว่า{{NoteTerm|ภาวะการตาย}}ใช้พ้องกับอัตราการตายหรืออัตราตาย}}
+
{{Note|2| บางครั้งคำว่า{{NoteTerm|ภาวะการตาย}}ใช้พ้องกับอัตราการตายหรืออัตราตาย}}
{{Note|5| When the observation period exceeds one year, the mean population is generally obtained as the average of several estimates of the size of the population for each year. The {{NonRefTerm|average number of persons years}} ({{RefNumber|13|5|6}}) is also used as denominator.}}
+
{{Note|5| เมื่อระยะเวลาของข้อมูลเกินหนึ่งปี จะหาประชากรเฉลี่ยได้โดยการเฉลี่ยค่าประมาณของประชากรของแต่ละปีหลายๆ ค่า  {{NonRefTerm|จำนวนเฉลี่ยของปีคน}} ({{RefNumber|13|5|6}}) ก็ใช้เป็นตัวหารได้}}
  
 
=== 402 ===
 
=== 402 ===
  
อัตราตายเฉพาะอาจใช้เพื่อศึกษา{{TextTerm|ภาวะการตายที่ต่างกัน|1|402}}หรือ{{TextTerm|ความแตกต่างของภาวะการตาย|1|402|2}}ระหว่างกลุ่ม และการอ้างอิงถึง{{TextTerm|ภาวะการตายที่มากกว่า|2|402}}ของกลุ่มหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับอีกกลุ่มหนึ่ง หรือเปรียบเทียบกับประชากรที่เหลือ  วัดโดย{{NewTextTerm|ดัชนีภาวะการตายที่มากกว่า|3|402 การศึกษาความแตกต่างในอัตราตายของอาชีพเฉพาะเรียกการศึกษา{{TextTerm|ภาวะการตายตามอาชีพ|4|402}} ในความหมายที่ค่อนข้างจะต่างออกไป ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตามอาชีพ|5|402}}อาจหมายถึงภาวะการตายจากอันตรายที่เนื่องมาจากอาชีพหนึ่ง ในการศึกษาเรื่องเหล่านี้ เราอาจเอ่ยถึงคำว่า{{TextTerm|โรคจากอาชีพ|6|402|IndexEntry=โรคจากอาชีพ|OtherIndexEntry=โรคจากการประกอบอาชีพ}}
+
อัตราตายเฉพาะอาจใช้เพื่อศึกษา{{TextTerm|ภาวะการตายที่ต่างกัน|1|402}}หรือ{{TextTerm|ความแตกต่างของภาวะการตาย|1|402|2}}ระหว่างกลุ่ม และการอ้างอิงถึง{{TextTerm|ภาวะการตายที่มากกว่า|2|402}}ของกลุ่มหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับอีกกลุ่มหนึ่ง หรือเปรียบเทียบกับประชากรที่เหลือ  วัดโดย{{TextTerm|ดัชนีภาวะการตายที่มากกว่า|3|402}}  การศึกษาความแตกต่างในอัตราตายของอาชีพเฉพาะเรียกการศึกษา{{TextTerm|ภาวะการตายตามอาชีพ|4|402}} ในความหมายที่ค่อนข้างจะต่างออกไป ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะการตายตามอาชีพ|5|402}}อาจหมายถึงภาวะการตายจากอันตรายที่เนื่องมาจากอาชีพหนึ่ง ในการศึกษาเรื่องเหล่านี้ เราอาจเอ่ยถึงคำว่า{{TextTerm|โรคจากอาชีพ|6|402|IndexEntry=โรคจากอาชีพ|OtherIndexEntry=โรคจากการประกอบอาชีพ}}
{{Note|1| Differentials in mortality is also encountered.}}
+
{{Note|1| ใช้คำว่า ความแตกต่างในภาวะการตายก็ได้}}
{{Note|2| The expression {{NoteTerm|excess male mortality}} implies a comparison with the corresponding female mortality, e.g. at the same age. }}
+
{{Note|2| คำว่า{{NoteTerm|ภาวะการตายผู้ชายที่มากกว่า}} มีความหมายเปรียบเทียบกับภาวะการตายของผู้หญิงในกลุ่มที่เหมือนกัน เช่น ในกลุ่มอายุเดียวกัน}}
  
 
=== 403 ===
 
=== 403 ===
  
{{NonRefTerm|Crude death rates}} ({{RefNumber|40|1|4}}) will depend upon the structure [particularly the {{NonRefTerm|age structure}} ({{RefNumber|32|5|6}})] of the population as well as on the level of mortality. If the mortality of different populations is to be compared {{TextTerm|standardized mortality rates|1|403|IndexEntry=standardized rate mortality}} or {{TextTerm|adjusted mortality rates|1|403|2|IndexEntry=adjusted mortality rate}} are sometimes computed to eliminate the effect of differences in {{NonRefTerm|population structure}} ({{RefNumber|14|4|4}}). Age is the characteristic for which mortality rates are adjusted most frequently by reference to a {{TextTerm|standard population|2|403|OtherIndexEntry=population, standard}} with a given structure. If {{NonRefTerm|specific rates}} ({{RefNumber|13|4|6}}) for the population studied are available, it is possible to use the {{TextTerm|direct method of standardization|3|403|OtherIndexEntry=method of standardization, direct}} which consists of applying these rates to the corresponding groups of the standard population. If specific rates are not available, it is still possible to obtain standardized mortality rates by the {{TextTerm|indirect method of standardization|4|403|OtherIndexEntry=standardization, indirect method of}}. More frequently, {{TextTerm|comparative mortality indices|5|403|IndexEntry=comparative mortality index|OtherIndexEntry=index, comparative mortality}} are computed by applying {{TextTerm|standard mortality rates|6|403|IndexEntry=standard mortality rate|OtherIndexEntry=mortality, rate standard}} to the different groups of the population studied and summing these to obtain an expected number of deaths; the indices are then obtained by comparing the {{TextTerm|observed deaths|7|403|OtherIndexEntry=deaths, observed}} in the population with the {{TextTerm|expected deaths|8|403|OtherIndexEntry=deaths, expected}} which would have occurred had the standard rates applied.
+
{{NonRefTerm|อัตราตายอย่างหยาบ}} ({{RefNumber|40|1|4}}) จะขึ้นอยู่กับโครงสร้าง [โดยเฉพาะ{{NonRefTerm|โครงสร้างอายุ}} ({{RefNumber|32|5|6}})] ของประชากรและระดับของภาวะการตาย ถ้าภาวะการตายของประชากรที่แตกต่างกันจะนำมาเปรียบเทียบ {{TextTerm|อัตราตายปรับฐาน|1|403}} หรือ{{TextTerm|อัตราตายปรับ|1|403|2}}จะคำนวณออกมาเพื่อขจัดผลกระทบของความแตกต่างใน{{NonRefTerm|โครงสร้างประชากร}} ({{RefNumber|14|4|4}}) ส่วนใหญ่อายุเป็นลักษณะที่อัตราตายจะต้องปรับโดยการอิงกับ{{TextTerm|ประชากรมาตรฐาน|2|403}}ที่มีโครงสร้างอย่างหนึ่ง ถ้ามี{{NonRefTerm|อัตราเฉพาะ}} ({{RefNumber|13|4|6}}) ของประชากรที่ศึกษาอยู่แล้ว ก็จะใช้{{TextTerm|วิธีการปรับฐานทางตรง|3|403}}ซึ่งประกอบด้วยการคูณอัตราเฉพาะเหล่านี้กับกลุ่มที่สอดคล้องกันของประชากรมาตรฐาน ถ้าไม่มีอัตราเฉพาะของประชากรที่ศึกษา ก็ยังคำนวณอัตราตายปรับฐานได้โดยใช้{{TextTerm|วิธีการปรับฐานทางอ้อม|4|403}} ส่วนมากจะคำนวณ{{TextTerm|ดัชนีการตายเชิงเปรียบเทียบ|5|403}}ด้วยการคูณ{{TextTerm|อัตราตายมาตรฐาน|6|403}}กับกลุ่มต่างๆ ของประชากรที่ศึกษา แล้วรวมผลคูณเพื่อได้จำนวนตายที่คาด จากนั้นจะได้ดัชนีโดยการเปรียบเทียบ{{TextTerm|จำนวนตายที่สังเกตได้|7|403}}ในประชากรที่ศึกษากับ{{TextTerm|จำนวนตายที่คาด|8|403}}ว่าจะเกิดขึ้นถ้าประชากรนั้นมีการตายตามอัตรามาตรฐานที่ใช้
 
+
{{Note|5| ถ้า{{NonRefTerm|อัตราตายอย่างหยาบ}} ({{RefNumber|40|1|4}}) คูณด้วยดัชนีภาวะการตายเปรียบเทียบ เราจะได้ค่า{{NoteTerm|อัตราตายปรับฐานทางอ้อม}} ในคำศัพท์ทางการของอังกฤษ เมื่อศึกษาภาวะการตายตามอาชีพ ตัวเลขที่ได้รับจากการปรับฐานทางตรงเรียกว่าเป็น{{NoteTerm|ตัวเลขภาวะการตายเชิงเปรียบเทียบ}} และตัวเลขที่ได้จากการปรับฐานทางอ้อมเรียก{{NoteTerm|อัตราส่วนภาวะการตายปรับฐาน}} (standardized mortality ratio)}}
<br />{{NoteTerm|1, Standardize}}, v. - {{NoteTerm|standardized}}, adj. - {{NoteTerm|standardization}}, n.: the process of standardizing.
 
{{Note|5| If a crude death rate ({{RefNumber|40|1|4}}) is multiplied by a comparative mortality index, we obtain an {{NoteTerm|indirectly standardized death rate}}. In British official terminology, when occupational mortality is studied, the figure obtained by direct standardization is called a {{NoteTerm|comparative mortality figure}} and that obtained by indirect standardization a {{NoteTerm|standardized mortality ratio}}.}}
 
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 21:28, 11 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


401

การศึกษา ภาวะการตาย1เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบของการตายที่มีต่อประชากร ศัพท์ทั่วไป อัตราการตาย2 หรือ อัตราตาย2ตีวงรอบอัตรา (133-4) ทั้งหมดซึ่งวัดความถี่ของ การตาย3 เมื่อใช้คำว่าอัตราตายโดยไม่มีคุณศัพท์ใดขยายความต่อไป โดยทั่วไปจะหมายถึง อัตราตายอย่างหยาบ4 (cf. 136-8 สำหรับคำอธิบายทั่วไปของอัตราอย่างหยาบ) อัตรานี้เป็นอัตราต่อปีและประกอบด้วยอัตราส่วนของจำนวนการตายรายปีที่เกิดขึ้นในช่วงปีปฏิทินหนึ่งต่อจำนวนคนที่เสี่ยงต่อการตายในช่วงเวลาเดียวกัน จำนวนนี้เท่ากับ ประชากรเฉลี่ย5หรือ ประชากรโดยเฉลี่ย5ของช่วงเวลานั้น และปรกติประชากร ณ จุดกึ่งกลางของช่วงเวลาสามารถใช้แทนประชากรได้โดยไม่มีข้อผิดพลาดมากนักถ้าขนาดของประชากรนั้นเปลี่ยนแปลงไปอย่างสม่ำเสมอพอสมควร ถ้าศึกษาภาวะการตายของประชากรกลุ่มย่อย (101-6) เพียงกลุ่มเดียว เราพูดถึงอัตราตายเฉพาะ (134-6) ซึ่ง อัตราตายรายอายุและเพศ6เป็นอัตราที่ใช้กันมากที่สุด อัตราตายรายอายุ7ที่ไม่แยกเพศก็คำนวณใช้กันในบางโอกาส

  • 2. บางครั้งคำว่าภาวะการตายใช้พ้องกับอัตราการตายหรืออัตราตาย
  • 5. เมื่อระยะเวลาของข้อมูลเกินหนึ่งปี จะหาประชากรเฉลี่ยได้โดยการเฉลี่ยค่าประมาณของประชากรของแต่ละปีหลายๆ ค่า จำนวนเฉลี่ยของปีคน (135-6) ก็ใช้เป็นตัวหารได้

402

อัตราตายเฉพาะอาจใช้เพื่อศึกษา ภาวะการตายที่ต่างกัน1หรือ ความแตกต่างของภาวะการตาย1ระหว่างกลุ่ม และการอ้างอิงถึง ภาวะการตายที่มากกว่า2ของกลุ่มหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับอีกกลุ่มหนึ่ง หรือเปรียบเทียบกับประชากรที่เหลือ วัดโดย ดัชนีภาวะการตายที่มากกว่า3 การศึกษาความแตกต่างในอัตราตายของอาชีพเฉพาะเรียกการศึกษา ภาวะการตายตามอาชีพ4 ในความหมายที่ค่อนข้างจะต่างออกไป ศัพท์คำว่า ภาวะการตายตามอาชีพ5อาจหมายถึงภาวะการตายจากอันตรายที่เนื่องมาจากอาชีพหนึ่ง ในการศึกษาเรื่องเหล่านี้ เราอาจเอ่ยถึงคำว่า โรคจากอาชีพ6

  • 1. ใช้คำว่า ความแตกต่างในภาวะการตายก็ได้
  • 2. คำว่าภาวะการตายผู้ชายที่มากกว่า มีความหมายเปรียบเทียบกับภาวะการตายของผู้หญิงในกลุ่มที่เหมือนกัน เช่น ในกลุ่มอายุเดียวกัน

403

อัตราตายอย่างหยาบ (401-4) จะขึ้นอยู่กับโครงสร้าง [โดยเฉพาะโครงสร้างอายุ (325-6)] ของประชากรและระดับของภาวะการตาย ถ้าภาวะการตายของประชากรที่แตกต่างกันจะนำมาเปรียบเทียบ อัตราตายปรับฐาน1 หรือ อัตราตายปรับ1จะคำนวณออกมาเพื่อขจัดผลกระทบของความแตกต่างในโครงสร้างประชากร (144-4) ส่วนใหญ่อายุเป็นลักษณะที่อัตราตายจะต้องปรับโดยการอิงกับ ประชากรมาตรฐาน2ที่มีโครงสร้างอย่างหนึ่ง ถ้ามีอัตราเฉพาะ (134-6) ของประชากรที่ศึกษาอยู่แล้ว ก็จะใช้ วิธีการปรับฐานทางตรง3ซึ่งประกอบด้วยการคูณอัตราเฉพาะเหล่านี้กับกลุ่มที่สอดคล้องกันของประชากรมาตรฐาน ถ้าไม่มีอัตราเฉพาะของประชากรที่ศึกษา ก็ยังคำนวณอัตราตายปรับฐานได้โดยใช้ วิธีการปรับฐานทางอ้อม4 ส่วนมากจะคำนวณ ดัชนีการตายเชิงเปรียบเทียบ5ด้วยการคูณ อัตราตายมาตรฐาน6กับกลุ่มต่างๆ ของประชากรที่ศึกษา แล้วรวมผลคูณเพื่อได้จำนวนตายที่คาด จากนั้นจะได้ดัชนีโดยการเปรียบเทียบ จำนวนตายที่สังเกตได้7ในประชากรที่ศึกษากับ จำนวนตายที่คาด8ว่าจะเกิดขึ้นถ้าประชากรนั้นมีการตายตามอัตรามาตรฐานที่ใช้

  • 5. ถ้าอัตราตายอย่างหยาบ (401-4) คูณด้วยดัชนีภาวะการตายเปรียบเทียบ เราจะได้ค่าอัตราตายปรับฐานทางอ้อม ในคำศัพท์ทางการของอังกฤษ เมื่อศึกษาภาวะการตายตามอาชีพ ตัวเลขที่ได้รับจากการปรับฐานทางตรงเรียกว่าเป็นตัวเลขภาวะการตายเชิงเปรียบเทียบ และตัวเลขที่ได้จากการปรับฐานทางอ้อมเรียกอัตราส่วนภาวะการตายปรับฐาน (standardized mortality ratio)

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=40&oldid=641"