The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "34"

จาก Demopædia
(340)
(346)
แถว 43: แถว 43:
 
=== 346 ===
 
=== 346 ===
  
{{TextTerm|Current school statistics|1|346|OtherIndexEntry=statistics, current school}} may distinguish between the number of {{TextTerm|pupils enrolled|2|346|IndexEntry=pupil, enrolled|OtherIndexEntry=enrolled pupil}} and the number of {{TextTerm|pupils in attendance|3|346|IndexEntry=pupil in attendance|OtherIndexEntry=attendance, pupil in}}. A comparison of these two figures gives an {{TextTerm|attendance ratio|4|346|OtherIndexEntry=ratio, attendance}}. {{TextTerm|Compulsory education|5|346|OtherIndexEntry=education, compulsory}} implies the existence of a range of ages where school attendance is obligatory by law. This makes it possible to specify the number of children of {{TextTerm|school age|6|346|OtherIndexEntry=age, school}} or the {{TextTerm|school-age population|7|346|OtherIndexEntry=population, school age}} according to a legal criterion.
+
{{TextTerm|สถิติโรงเรียนปัจจุบัน|1|346}}อาจแยกระหว่างจำนวนของ{{TextTerm|นักเรียนที่ลงทะเบียน|2|346|IndexEntry=นักเรียนที่ลงทะเบียน}} กับจำนวน{{TextTerm|นักเรียนที่เข้าเรียน|3|346|IndexEntry=นักเรียนที่เข้าเรียน}} การเปรียบเทียบตัวเลขสองจำนวนนี้ให้ค่าของ{{TextTerm|อัตราส่วนการเข้าเรียน|4|346}} {{TextTerm|การศึกษาภาคบังคับ|5|346}}แสดงว่ามีพิสัยของอายุที่ต้องเข้าเรียนซึ่งบังคับโดยกฎหมาย การศึกษาภาคบังคับทำให้ระบุจำนวน{{TextTerm|เด็กในวัยเรียน|6|346}}หรือ{{TextTerm|ประชากรวัยเรียน|7|346}}ได้ด้วยเกณฑ์ทางกฎหมาย
{{Note|4| The {{NoteTerm|attendance ratio}} is the ratio of pupils in attendance to pupils enrolled, whereas the {{NoteTerm|enrollment ratio}} is that of pupils enrolled to the school-age population.}}
+
{{Note|4| The {{NoteTerm|อัตราส่วนการเข้าเรียน}}เป็นอัตราส่วนของนักเรียนที่เข้าเรียนต่อนักเรียนที่ลงทะเบียน ในขณะที่ is the ratio of pupils in attendance to pupils enrolled, whereas the {{NoteTerm|enrollment ratio}} is that of pupils enrolled to the school-age population.}}
  
 
=== 347 ===
 
=== 347 ===

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 09:26, 22 เมษายน 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


340

ประชากรอาจจำแนกออกตาม ภาษา1 หรือ ภาษาถิ่น2ที่พูดกันอยู่ประจำ มีการแยกความแตกต่างระหว่าง ภาษาแม่3 หรือ ภาษาพูดที่บ้าน3ของบุคคล ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้พูดที่บ้านในช่วงวัยเด็ก กับ ภาษาปรกติ4 ซึ่งเป็นภาษาที่เขาใช้พูดในชีวิตประจำวัน ความแตกต่างระหว่างภาษาทั้งสองแยกได้ไม่ง่ายนักในหมู่คน สองภาษา5 หรือ พหุภาษา5 สถิติที่เสนอข้อมูลในหัวข้อเหล่านี้เรียกว่า สถิติของภาษา6

  • 1. Linguistics, n.: the study of the nature, structure, origin and meaning of language and human speech.
  • 2. Dialect, n. - dialectal, adj. A dialect is a variety of language that is distinguished by its pattern of pronunciation, grammar or vocabulary.
  • 5. Bilingual, adj. - bilingualism, n.

341

สถิติทางศาสนา1แบ่งประชากรออกตามศาสนาที่คนนับถือ โดยทั่วไปแยกความแตกต่างระหว่าง ศาสนา2หลักกับ นิกาย3 พิธีกรรม4 หรือ สำนัก5ของศาสนานั้นๆ บุคคลที่ไม่มีศาสนาอาจเรียกตนเองว่าเป็น ผู้ไม่มีศาสนา6 ผู้คิดอิสระ6 หรือ ผู้ไม่มีพระเจ้า6

  • 4. Rite, n. may also be used in the sense of a religious ceremony.

342

ประชากรมักจำแนกออกตาม สถานภาพทางการศึกษา1 บุคคลผู้สามารถอ่านและเขียนได้เรียก ผู้รู้หนังสือ2 คนที่มีอายุถึงอายุหนึ่งและไม่สามารถอ่านและเขียนได้เรียก ผู้ไม่รู้หนังสือ3 การจบชั้นเรียนหนึ่งหรือระดับหนึ่งแสดงให้ว่าเป็นผู้รู้หนังสือ สถิติความสำเร็จทางการศึกษา4จำแนกบุคคลตาม ชั้นเรียที่จบ5 จำนวนปีที่จบการศึกษา5 หรือไม่ค่อยใช้กันมากนักคือจำแนกตาม อายุที่ออกจากโรงเรียน6 การจำแนกอีกประเภทหนึ่งคือ จำแนกออกตาม วุฒิบัตร7 ปริญญาบัตร7 หรือ ประกาศนียบัตร7ที่ได้รับ หรือจำแนกตามการจัดหลักสูตร การสอน8ในแต่ละประเทศ

  • 2. Literate, adj. - literacy, n. Literacy statistics are the part of education statistics that refer to the ability to read and write. The literacy ratio is the proportion of the population covered that is literate. Its complement is the illiteracy ratio.
  • 3. Illiterate, adj. - illiteracy, n. A person who is able to read but not write may be called semi-literate, and such persons are sometimes classed with the literate and at other times with the illiterate population.
  • 4. The school-age population (346-7) is often classifed by grade or level of enrollment, and attainment is then presented only for the population beyond normal school age.

343

ระบบการศึกษา1หมายรวมสถาบันทั้งหมดทั้งของรัฐและเอกชนที่ทำการสอนอยู่ในประเทส เมื่อสถาบันการศึกษาทั้งสองประเภทมีอยู่ในประเทศหนึ่ง จะแยกความแตกต่างระหว่าง การศึกษาของรัฐ2 กับ การศึกษาของเอกชน3 หลังจาก การศึกษาก่อนวัยเรียน4แล้ว ปรกติจะแยกระหว่าง ระดับการศึกษา5สามระดับซึ่งเรียงลำดับขึ้นไปดังนี้ ประถมศึกษา6 มัธยมศึกษา7ซึ่งมักแยกออกเป็นหลาย รอบ8 หรือหลาย สาขาวิชา8 กับ การศึกษาสูงขึ้นไป9 ในการศึกษาสูงขึ้นไปรวมถึงหลักสูตรการศึกษาซึ่งนำไปสู่ ปริญญามหาวิทยาลัย11 การศึกษาวิชาชีพ12 หรือ อาชีวศึกษา12อาจให้ได้ในระดับมัธยมศึกษาหรือระดับการศึกษาสูงขึ้นไป

344

ประเภทของ สถาบันทางการศึกษา1 และชื่อของสถาบันเหล่านั้นขึ้นอยู่กับระบบการศึกษาเฉพาะของแต่ละประเทศ การศึกษาก่อนวัยเรียน (343-4) มีอยู่ใน โรงเรียนเด็กเล็ก2 หรือ โรงเรียนอนุบาล2 สถาบันที่ให้ทั้งสามระดับการศึกษา (343-5) ดังที่ได้เอ่ยถึงข้างต้นปรกติจะเรียกตามลำดับดังนี้ โรงเรียนประถมศึกษา3 หรือ โรงเรียนขั้นปฐม3 โรงเรียนมัธยมศึกษา4 และ วิทยาลัย5 หรือ มหาวิทยาลัย5 สถาบันการศึกษาระดับสูงขึ้นไปอาจมี โรงเรียนอาชีวะ6อีกหลายชนิด

  • 5. The term college is used in a variety of senses; a university college is either an institution of higher learning which has not full university status, or it may be a constituent college of a university.

345

ชั้นเรียน1 (cf. 130-8) หมายถึงกลุ่มของ นักเรียน2ที่มี ครู3คนเดียวกันและพบกันใน ห้องเรียน4เดียวกัน และโดยทั่วไปจะได้รับการสอนพร้อมๆ กัน กลุ่มของนักเรียนซึ่งเรียนอยู่ในระดับการศึกษาเดียวกันกล่าวได้ว่าอยู่ใน เกรด5เดียวกันในสหรัฐอเมริการ หรือใน ชั้น5 หรือ ฟอร์ม5 (cf. 206-1)เดียวกันในประเทศอังกฤษ ศัพท์คำว่า นักศึกษา6 โดยทั่วไปใช้สำหรับนักเรียนที่ได้รับการศึกษาขั้นสูงขึ้นไป แต่ก็ใช้แทนกันได้รับคำว่า "นักเรียน" (pupil) ในระดับชั้นมัธยมศึกษา

  • 2. A scholar in Britain is generally a pupil or student who has been given a scholarship from public or private funds; the use of the term as a synonym for pupil is archaic. In the United States of America such a student would be called a scholarship holder or scholarship student.
  • 6. A university student who has not yet taken his first degree is an undergraduate. A graduate (cf. 151-1*) in Great Britain is the holder of a university degree; in the United States of America the term may be used for anyone completing his studies at the university, high school, or even primary school. In the U.S., a graduate student is one who is pursuing a second degree, the equivalent of a post-graduate student in the British system.

346

สถิติโรงเรียนปัจจุบัน1อาจแยกระหว่างจำนวนของ นักเรียนที่ลงทะเบียน2 กับจำนวน นักเรียนที่เข้าเรียน3 การเปรียบเทียบตัวเลขสองจำนวนนี้ให้ค่าของ อัตราส่วนการเข้าเรียน4 การศึกษาภาคบังคับ5แสดงว่ามีพิสัยของอายุที่ต้องเข้าเรียนซึ่งบังคับโดยกฎหมาย การศึกษาภาคบังคับทำให้ระบุจำนวน เด็กในวัยเรียน6หรือ ประชากรวัยเรียน7ได้ด้วยเกณฑ์ทางกฎหมาย

  • 4. The อัตราส่วนการเข้าเรียนเป็นอัตราส่วนของนักเรียนที่เข้าเรียนต่อนักเรียนที่ลงทะเบียน ในขณะที่ is the ratio of pupils in attendance to pupils enrolled, whereas the enrollment ratio is that of pupils enrolled to the school-age population.

347

Other statistics concern educational progression. An individual progresses normally grade by grade, from the lowest class of elementary school, to the end of his studies. Leaving school1, where compulsory education is enforced, is exceptional during school age, barring illness or death. The dropout rate2 is the probability of leaving school before obtaining a degree, either during the year or at the end of a grade, and it is constructed in the same way as a probability of dying in a life table; its complement to one is the retention rate3. Such rates can be used to compute a table of school life4, from which it is possible to infer the mean length of education5. At the end of the school year, pupils or students who do not terminate their studies, may either repeat the grade or move on to the next grade, with or without change of track6.

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=34&oldid=219"