The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "33"

จาก Demopædia
แถว 22: แถว 22:
  
 
ศัพท์คำว่า{{TextTerm|เผ่าพันธุ์|1|333}}โดยทั่วไปมักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มของบุคคลที่มีลักษณะทางกายภาพเหมือนกันซึ่งเป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ในการทำสำมะโนของบางประเทศ บางครั้งใช้คำนี้ให้มีความหายอย่างหลวมๆ บางครั้งใช้สำหรับกลุ่มคนที่ผูกพันด้วยกันโดยวัฒนธรรมที่เหมือนกัน หรือมีถิ่นเกิดแห่งเดียวกัน หรือกระทั่งหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตแดนแห่งเดียวกัน ศัพท์อีกคำหนึ่งซึ่งบางครั้งมีการนำมาใช้กันคือ{{TextTerm|กลุ่มชาติพันธุ์|2|333}} และก็อีกเช่นกันที่คำนี้มีความหมายไม่เป็นเอกภาพ โดยทั่วไปกลุ่มชาติพันธุ์จะหมายถึงกลุ่มของผู้คนที่มีวัฒนธรรม ภาษา และประเพณีทางศาสนาเหมือนกัน กลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งอาจเป็นกลุ่มเผ่าพันธุ์หนึ่ง {{TextTerm|ผู้คน|3|333}} (cf. {{RefNumber|30|5|2}}) โดยทั่วไปหมายถึงกลุ่มรวมของบุคคลซึ่งเชื่อมโยงกันโดยมีอดีตหรือวัฒนธรรมที่เหมือนกัน บุคคลที่อาศัยอยู่ในเขตแดนหนึ่งซึ่งแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ของประชากรอย่างเห็นได้ชัดเรียก{{TextTerm|ชนกลุ่มน้อย|4|333|IndexEntry=ชนกลุ่มน้อย}} ตัวอย่างเช่น {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์|4|333|2}} {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยแห่งชาติ|4|333|3}} {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางภาษา|4|333|4}} หรือ {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางศาสนา|4|333|5}}
 
ศัพท์คำว่า{{TextTerm|เผ่าพันธุ์|1|333}}โดยทั่วไปมักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มของบุคคลที่มีลักษณะทางกายภาพเหมือนกันซึ่งเป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ในการทำสำมะโนของบางประเทศ บางครั้งใช้คำนี้ให้มีความหายอย่างหลวมๆ บางครั้งใช้สำหรับกลุ่มคนที่ผูกพันด้วยกันโดยวัฒนธรรมที่เหมือนกัน หรือมีถิ่นเกิดแห่งเดียวกัน หรือกระทั่งหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตแดนแห่งเดียวกัน ศัพท์อีกคำหนึ่งซึ่งบางครั้งมีการนำมาใช้กันคือ{{TextTerm|กลุ่มชาติพันธุ์|2|333}} และก็อีกเช่นกันที่คำนี้มีความหมายไม่เป็นเอกภาพ โดยทั่วไปกลุ่มชาติพันธุ์จะหมายถึงกลุ่มของผู้คนที่มีวัฒนธรรม ภาษา และประเพณีทางศาสนาเหมือนกัน กลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งอาจเป็นกลุ่มเผ่าพันธุ์หนึ่ง {{TextTerm|ผู้คน|3|333}} (cf. {{RefNumber|30|5|2}}) โดยทั่วไปหมายถึงกลุ่มรวมของบุคคลซึ่งเชื่อมโยงกันโดยมีอดีตหรือวัฒนธรรมที่เหมือนกัน บุคคลที่อาศัยอยู่ในเขตแดนหนึ่งซึ่งแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ของประชากรอย่างเห็นได้ชัดเรียก{{TextTerm|ชนกลุ่มน้อย|4|333|IndexEntry=ชนกลุ่มน้อย}} ตัวอย่างเช่น {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์|4|333|2}} {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยแห่งชาติ|4|333|3}} {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางภาษา|4|333|4}} หรือ {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางศาสนา|4|333|5}}
{{Note|1| {{NoteTerm|Racism}}, n.: theory that certain races are inherently superior to others; {{NoteTerm|racist}}, adj.}}
+
{{Note|1| {{NoteTerm|เผ่าพันธุ์นิยม}} ทฤษฎีที่กล่าวว่าคนบางเผ่าพันธุ์มีความเหนือกว่าเผ่าพันธุ์อื่นโดยการสืบทอดพันธุ์}}
{{Note|2| {{NoteTerm|Tribe}}, and {{NoteTerm|tribal group}}, still used in certain contexts, tend to be replaced by "ethnic group".}}
+
{{Note|2| คำว่า{{NoteTerm|เผ่า}} หรือ{{NoteTerm|กลุ่มชนเผ่า}} ยังมีการใช้กันอยู่บ้าง แต่ค่อยๆ ถูกแทนที่ด้วยคำว่า "กลุ่มชาติพันธุ์"แล้ว}}
  
 
=== 334 ===
 
=== 334 ===
  
 
บางครั้งแยกความแตกต่างของบุคคลด้วย{{TextTerm|สีผิว|1|334}} ซึ่งใช้ในความหมายที่หลวมๆ ว่าหมายถึงสีของผิวหนังที่ปรากฏให้เห็นเด่นชัด ในบางประเทศแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|คนผิวขาว|2|334}}และ{{TextTerm|คนผิวสี|3|334}} ซึ่งบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ไม่ใช่ผิวขาว|3|334|2}} การจับคู่แต่งงานระหว่างคนต่างสีผิวกันบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|miscegenation|4|334}} บุคคลที่เกิดจากการจับคู่เช่นนั้นเรียกว่าเป็น{{TextTerm|เลือดผสม|5|334}} หรือ{{TextTerm|พ่อแม่ผสม|5|334|2}}
 
บางครั้งแยกความแตกต่างของบุคคลด้วย{{TextTerm|สีผิว|1|334}} ซึ่งใช้ในความหมายที่หลวมๆ ว่าหมายถึงสีของผิวหนังที่ปรากฏให้เห็นเด่นชัด ในบางประเทศแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|คนผิวขาว|2|334}}และ{{TextTerm|คนผิวสี|3|334}} ซึ่งบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ไม่ใช่ผิวขาว|3|334|2}} การจับคู่แต่งงานระหว่างคนต่างสีผิวกันบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|miscegenation|4|334}} บุคคลที่เกิดจากการจับคู่เช่นนั้นเรียกว่าเป็น{{TextTerm|เลือดผสม|5|334}} หรือ{{TextTerm|พ่อแม่ผสม|5|334|2}}
{{Note|4| {{NoteTerm|Crossing}} is sometimes used in that sense. It also refers to the change in racial self-identification of an individual between one date and another.}}
+
{{Note|4| บางทีใช้คำว่า{{NoteTerm|ข้ามพันธุ์}} คำว่า miscegenation ยังหมายถึงการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของบุคคลหนึ่งระหว่างเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง}}
{{Note|5| The issue of a white and a {{NoteTerm|negro}} is called {{NoteTerm|mulatto}}. In Spanish America the issue of a person of European extraction and an American Indian is called a {{NoteTerm|mestizo}}. The issue of a person of European extraction and an Asian is sometimes referred to as an {{NoteTerm|eurasian}}.}}
+
{{Note|5| คนเลือดผสมระหว่างคนผิวขาวกับ{{NoteTerm|นิโกร}}เรียกว่า{{NoteTerm|mulatto}} ในอเมริกาที่พูดภาษาสเปน เลือดผสมระหว่างคนเชื้อสายยุโรปกับอินเดียนอเมริกันเรียก {{NoteTerm|mestizo}} คนเชื้อสายยุโรปผสมกับคนเอเชียบางครั้งเรีกว่า {{NoteTerm|eurasian}}}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 03:52, 17 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


330

ผู้อยู่อาศัยของชาติหรือรัฐหนึ่งอาจเป็น ข้าแผ่นดิน1 ราษฎร1 หรือ พลเมือง1ของรัฐนั้นซึ่งเป็นผู้มีสิทธิทางการเมือง หรืออาจเป็น คนต่างด้าว2 หรือ ชาวต่างประเทศ2 ผู้เป็นราษฎรของรัฐอื่น หรือไม่เป็นราษฎรของรัฐใดเลยที่เรียกว่า คนไร้รัฐ3 ศัพท์คำว่า"ข้าแผ่นดิน" เคยมีความหมายเหมือนผู้อยู่อาศัยเป็นข้าทาสแต่ปัจจุบันความหมายนี้ได้ค่อยสลายลงไปแล้ว และมักจะใช้ในความหมายเดียวกันกับราษฎร แม้ว่าบางครั้งจะมีความพยายามที่จะทำให้เห็นภาพแตกต่างกันระหว่างคำว่าข้าแผ่นดินกับราษฎร ราษฎรของรัฐหนึ่งโดยทั่วไปจะมี สัญชาติ4ของรัฐนั้น ทุกวันนี้คำว่าสัญชาติจะใช้ในความหมายเดียวกันกับการมี ฐานะพลเมือง4 แต่ใน รัฐที่มีคนหลายเชื้อชาติ6อาจแยกความแตกต่างระหว่าง สัญชาติทางการเมือง4 กับ สัญชาติทางเชื้อชาติ5

331

คนต่างด้าวอาจขอสัญชาติของประเทศที่เข้าไปอาศัยอยู่โดย การโอนสัญชาติ1 และกลายเป็น ราษฎรโอนสัญชาติ2ของ บุคคลแปลงสัญชาติ2 ในบางประเทศ ใบโอนสัญชาติ3อาจถูก เพิกถอน4ได้ และจะทำให้บุคคลที่แปลงสัญชาติแล้วต้อง สูญเสียสัญชาติ5ของตนไป บางกรณีบุคคลอาจมีมากกว่าหนึ่งสัญชาติซึ่งพูดได้ว่าเขาเป็นคนมี สองสัญชาติ6 บางครั้งมีการแยกความแตกต่างระหว่าง คนต่างด้าวที่อยู่ประจำ7 ผู้อาศัยอยู่ประจำในประเทศที่ไม่ใช่ประเทศของตน กับ ผู้พำนักชั่วคราวต่างด้าว8หรือ คนต่างด้าวที่อยู่ชั่วคราว8 ผู้ที่อยู่ที่นั่นสำหรับช่วงเวลาสั้นๆ

332

บุคคลที่เกิดในเขตแดนซึ่งเขายังอาศัยอยู่เรียกว่า คนพื้นเมือง1ของเขตแดนนั้น ถ้าบรรพบุรุษของเขาเป็นผู้อยู่อาศัยดั้งเดิมของเขตแดนนั้นจะเรียกว่า autochthonous2 ชนพื้นเมือง2 หรือผู้อยู่อาศัย ชนเผ่าพื้นเมือง2 คำหลังสุดนั้นมักสงวนไว้สำหรับผู้คนที่เป็นชนเผ่า สถิติมักแยกระหว่าง คนที่เกิดในประเทศ3 กับ คนที่เกิดต่างประเทศ4

333

ศัพท์คำว่า เผ่าพันธุ์1โดยทั่วไปมักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มของบุคคลที่มีลักษณะทางกายภาพเหมือนกันซึ่งเป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ในการทำสำมะโนของบางประเทศ บางครั้งใช้คำนี้ให้มีความหายอย่างหลวมๆ บางครั้งใช้สำหรับกลุ่มคนที่ผูกพันด้วยกันโดยวัฒนธรรมที่เหมือนกัน หรือมีถิ่นเกิดแห่งเดียวกัน หรือกระทั่งหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตแดนแห่งเดียวกัน ศัพท์อีกคำหนึ่งซึ่งบางครั้งมีการนำมาใช้กันคือ กลุ่มชาติพันธุ์2 และก็อีกเช่นกันที่คำนี้มีความหมายไม่เป็นเอกภาพ โดยทั่วไปกลุ่มชาติพันธุ์จะหมายถึงกลุ่มของผู้คนที่มีวัฒนธรรม ภาษา และประเพณีทางศาสนาเหมือนกัน กลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งอาจเป็นกลุ่มเผ่าพันธุ์หนึ่ง ผู้คน3 (cf. 305-2) โดยทั่วไปหมายถึงกลุ่มรวมของบุคคลซึ่งเชื่อมโยงกันโดยมีอดีตหรือวัฒนธรรมที่เหมือนกัน บุคคลที่อาศัยอยู่ในเขตแดนหนึ่งซึ่งแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ของประชากรอย่างเห็นได้ชัดเรียก ชนกลุ่มน้อย4 ตัวอย่างเช่น ชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์4 ชนกลุ่มน้อยแห่งชาติ4 ชนกลุ่มน้อยทางภาษา4 หรือ ชนกลุ่มน้อยทางศาสนา4

  • 1. เผ่าพันธุ์นิยม ทฤษฎีที่กล่าวว่าคนบางเผ่าพันธุ์มีความเหนือกว่าเผ่าพันธุ์อื่นโดยการสืบทอดพันธุ์
  • 2. คำว่าเผ่า หรือกลุ่มชนเผ่า ยังมีการใช้กันอยู่บ้าง แต่ค่อยๆ ถูกแทนที่ด้วยคำว่า "กลุ่มชาติพันธุ์"แล้ว

334

บางครั้งแยกความแตกต่างของบุคคลด้วย สีผิว1 ซึ่งใช้ในความหมายที่หลวมๆ ว่าหมายถึงสีของผิวหนังที่ปรากฏให้เห็นเด่นชัด ในบางประเทศแยกความแตกต่างระหว่าง คนผิวขาว2และ คนผิวสี3 ซึ่งบางครั้งเรียกว่า ไม่ใช่ผิวขาว3 การจับคู่แต่งงานระหว่างคนต่างสีผิวกันบางครั้งเรียกว่า miscegenation4 บุคคลที่เกิดจากการจับคู่เช่นนั้นเรียกว่าเป็น เลือดผสม5 หรือ พ่อแม่ผสม5

  • 4. บางทีใช้คำว่าข้ามพันธุ์ คำว่า miscegenation ยังหมายถึงการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของบุคคลหนึ่งระหว่างเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง
  • 5. คนเลือดผสมระหว่างคนผิวขาวกับนิโกรเรียกว่าmulatto ในอเมริกาที่พูดภาษาสเปน เลือดผสมระหว่างคนเชื้อสายยุโรปกับอินเดียนอเมริกันเรียก mestizo คนเชื้อสายยุโรปผสมกับคนเอเชียบางครั้งเรีกว่า eurasian

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=33&oldid=472"