The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "33"

จาก Demopædia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' <!--'''33'''--> {{CurrentStatus}} {{Unmodified edition II}} {{Summary}} __NOTOC__ === 330 === Inhabitants of a nation or state may ...')
 
แถว 9: แถว 9:
 
=== 330 ===
 
=== 330 ===
  
Inhabitants of a nation or state may be {{TextTerm|subjects|1|330|IndexEntry=subject}} {{TextTerm|citizens|1|330|2|IndexEntry=citizen}} or {{TextTerm|nationals|1|330|3|IndexEntry=national}} of that state, who enjoy certain political rights, or they may be {{TextTerm|aliens|2|330|IndexEntry=alien}} or {{TextTerm|foreigners|2|330|2|IndexEntry=foreigner}} who are citizens of another state, or citizens of no state at all and called {{TextTerm|stateless|3|330}}. The term "subject" used to have a servile connotation but has tended to lose it and is frequently taken as a synonym of citizen, though occasionally a distinction is made between a subject and a citizen. Citizens of a state generally possess the {{TextTerm|nationality|4|330|OtherIndexEntry=political nationality}} of that state. This term is nowadays used as a synonym for {{TextTerm|citizenship|4|330|2|IndexEntry=nationality, political}}, but in some {{TextTerm|multi-national states|6|330|IndexEntry=multi-national state|OtherIndexEntry=state, multi-national}} a distinction may be drawn between {{TextTerm|political nationality|4|330|2|IndexEntry=nationality, political}} and {{TextTerm|ethnic nationality|5|330|OtherIndexEntry=nationality, ethnic}}.
+
ผู้อยู่อาศัยของชาติหรือรัฐหนึ่งอาจเป็น{{TextTerm|ข้าแผ่นดิน|1|330|IndexEntry=ข้าแผ่นดิน}} {{TextTerm|ราษฎร|1|330|2|IndexEntry=ราษฎร}} หรือ{{TextTerm|พลเมือง|1|330|3|IndexEntry=พลเมือง}}ของรัฐนั้นซึ่งเป็นผู้มีสิทธิทางการเมือง หรืออาจเป็น{{TextTerm|คนต่างด้าว|2|330|IndexEntry=คนต่างด้าว}} หรือ{{TextTerm|ชาวต่างประเทศ|2|330|2|IndexEntry=ชาวต่างประเทศ}} ผู้เป็นราษฎรของรัฐอื่น หรือไม่เป็นราษฎรของรัฐใดเลยที่เรียกว่า{{TextTerm|คนไร้รัฐ|3|330}} ศัพท์คำว่า"ข้าแผ่นดิน" เคยมีความหมายเหมือนผู้อยู่อาศัยเป็นข้าทาสแต่ปัจจุบันความหมายนี้ได้ค่อยสลายลงไปแล้ว และมักจะใช้ในความหมายเดียวกันกับราษฎร แม้ว่าบางครั้งจะมีความพยายามที่จะทำให้เห็นภาพแตกต่างกันระหว่างคำว่าข้าแผ่นดินกับราษฎร ราษฎรของรัฐหนึ่งโดยทั่วไปจะมี{{TextTerm|สัญชาติ|4|330}}ของรัฐนั้น ทุกวันนี้คำว่าสัญชาติจะใช้ในความหมายเดียวกันกับการมี{{TextTerm|ฐานะพลเมือง|4|330|2|IndexEntry=ฐานะพลเมือง}} แต่ใน{{TextTerm|รัฐที่มีคนหลายเชื้อชาติ|6|330|IndexEntry=รัฐที่มีคนหลายเชื้อชาติ}}อาจแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|สัญชาติทางการเมือง|4|330|2|IndexEntry=สัญชาติทางการเมือง}} กับ{{TextTerm|สัญชาติทางเชื้อชาติ|5|330}}
  
 
=== 331 ===
 
=== 331 ===
  
Aliens may acquire the nationality of their country of residence by {{TextTerm|naturalization|1|331}} and become {{TextTerm|naturalized citizens|2|331|IndexEntry=naturalized citizen|OtherIndexEntry=citizen, naturalized}} of {{TextTerm|naturalized persons|2|331|2|IndexEntry=naturalized person|OtherIndexEntry=person, naturalized}}. {{NoteTerm|In}} some countries {{TextTerm|certificates of naturalization|3|331|IndexEntry=certificate of naturalization|OtherIndexEntry=naturalization certificate}} may be {{TextTerm|revoked|4|331|IndexEntry=revoke}} and naturalized persons will then suffer {{TextTerm|loss of nationality|5|331|OtherIndexEntry=nationality loss}}. Persons may occasionally have more than one nationality, and will then be said to possess {{TextTerm|dual nationality|6|331|OtherIndexEntry=nationality, dual}}. A distinction is sometimes drawn between {{TextTerm|resident aliens|7|331|IndexEntry=resident alien|OtherIndexEntry=alien, resident}}, who habitually live in a country other than their own, and {{TextTerm|alien visitors|8|331|OtherIndexEntry=visiting alien}} or {{TextTerm|visiting aliens|8|331|2|IndexEntry=visa, alien}}, who are there only for relatively short periods.
+
คนต่างด้าวอาจขอสัญชาติของประเทศที่เข้าไปอาศัยอยู่โดย{{TextTerm|การโอนสัญชาติ|1|331}} และกลายเป็น{{TextTerm|ราษฎรโอนสัญชาติ|2|331|IndexEntry=ราษฎรโอนสัญชาติ}}ของ{{TextTerm|บุคคลแปลงสัญชาติ|2|331|2|IndexEntry=บุคคลแปลงสัญชาติ}} ในบางประเทศ{{TextTerm|ใบโอนสัญชาติ|3|331|IndexEntry=ใบโอนสัญชาติ}}อาจถูก{{TextTerm|เพิกถอน|4|331|IndexEntry=เพิกถอน}}ได้ และจะทำให้บุคคลที่แปลงสัญชาติแล้วต้อง{{TextTerm|สูญเสียสัญชาติ|5|331}}ของตนไป บางกรณีบุคคลอาจมีมากกว่าหนึ่งสัญชาติซึ่งพูดได้ว่าเขาเป็นคนมี{{TextTerm|สองสัญชาติ|6|331}} บางครั้งมีการแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|คนต่างด้าวที่อยู่ประจำ|7|331|IndexEntry=คนต่างด้าวที่อยู่ประจำ}} ผู้อาศัยอยู่ประจำในประเทศที่ไม่ใช่ประเทศของตน กับ{{TextTerm|ผู้พำนักชั่วคราวต่างด้าว|8|331}}หรือ{{TextTerm|คนต่างด้าวที่อยู่ชั่วคราว|8|331|2|IndexEntry=คนต่างด้าวที่อยู่ชั่วคราว}} ผู้ที่อยู่ที่นั่นสำหรับช่วงเวลาสั้นๆ
  
 
=== 332 ===
 
=== 332 ===
  
Individuals born in the territory in which they live are called {{TextTerm|natives|1|332|IndexEntry=native}} of that territory. If their ancestors were among the original inhabitants of that territory, they are called {{TextTerm|autochthonous|2|332}}, {{TextTerm|indigenous|2|332|2}} or {{TextTerm|aboriginal|2|332|3}} inhabitants; the last term is often reserved for primitive peoples. Statistics frequently distinguish between {{TextTerm|native-|3|332|IndexEntry=native-born}} and {{TextTerm|foreign-born|4|332}} individuals.
+
บุคคลที่เกิดในเขตแดนซึ่งเขายังอาศัยอยู่เรียกว่า{{TextTerm|คนพื้นเมือง|1|332|IndexEntry=คนพื้นเมือง}}ของเขตแดนนั้น ถ้าบรรพบุรุษของเขาเป็นผู้อยู่อาศัยดั้งเดิมของเขตแดนนั้นจะเรียกว่า{{TextTerm|autochthonous|2|332}} {{TextTerm|ชนพื้นเมือง|2|332|2}} หรือผู้อยู่อาศัย{{TextTerm|ชนเผ่าพื้นเมือง|2|332|3}} คำหลังสุดนั้นมักสงวนไว้สำหรับผู้คนที่เป็นชนเผ่า สถิติมักแยกระหว่าง{{TextTerm|คนที่เกิดในประเทศ|3|332|IndexEntry=คนที่เกิดในประเทศ}} กับ{{TextTerm|คนที่เกิดต่างประเทศ|4|332}}
{{Note|2| {{NoteTerm|Aboriginal}}, adj. - {{NoteTerm|aborigines}}, n., pl.}}
 
  
 
=== 333 ===
 
=== 333 ===
  
The term {{TextTerm|race|1|333}} is generally taken to mean a group of persons with certain common physical characteristics which are hereditarily transmitted. In some census practice, the term is sometimes used more loosely, sometimes for a group of people bound together by a common culture or national origin, or even for people inhabiting a given territory. Another term which is sometimes used is {{TextTerm|ethnic group|2|333|OtherIndexEntry=group, ethnic}} and here again there is no uniformity in meaning. Ethnic group generally refers to a group of people with common culture, language, or religious traditions. An ethnic group may be a racial group. A {{TextTerm|people|3|333}} (cf. {{RefNumber|30|5|2}}) is generally a collection of persons who are linked by a common past or a common culture. Persons living is a given territory who exhibit notable difference from the majority of the population are called {{TextTerm|minorities|4|333|IndexEntry=minority|OtherIndexEntry=ethnic minority}}, e.g., {{TextTerm|ethnic minorities|4|333|2|IndexEntry=linguistic minority|OtherIndexEntry=minority, linguistic}}, {{TextTerm|national minorities|4|333|3|IndexEntry=national minority|OtherIndexEntry=minority, national}}, {{TextTerm|linguistic minorities|4|333|4|IndexEntry=religious minority|OtherIndexEntry=minority, religious}}, or {{TextTerm|religious minorities|4|333|5|IndexEntry=minority, ethnic}}.
+
ศัพท์คำว่า{{TextTerm|เผ่าพันธุ์|1|333}}โดยทั่วไปมักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มของบุคคลที่มีลักษณะทางกายภาพเหมือนกันซึ่งเป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ในการทำสำมะโนของบางประเทศ บางครั้งใช้คำนี้ให้มีความหายอย่างหลวมๆ บางครั้งใช้สำหรับกลุ่มคนที่ผูกพันด้วยกันโดยวัฒนธรรมที่เหมือนกัน หรือมีถิ่นเกิดแห่งเดียวกัน หรือกระทั่งหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตแดนแห่งเดียวกัน ศัพท์อีกคำหนึ่งซึ่งบางครั้งมีการนำมาใช้กันคือ{{TextTerm|กลุ่มชาติพันธุ์|2|333}} และก็อีกเช่นกันที่คำนี้มีความหมาไม่เป็นเอกภาพ โดยทั่วไปกลุ่มชาติพันธุ์จะหมายถึงกลุ่มของผู้คนที่มีวัฒนธรรม ภาษา และประเพณีทางศาสนาเหมือนกัน กลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งอาจเป็นกลุ่มเผ่าพันธุ์หนึ่ง {{TextTerm|ผู้คน|3|333}} (cf. {{RefNumber|30|5|2}}) โดยทั่วไปหมายถึงกลุ่มรวมของบุคคลซึ่งเชื่อมโยงกันโดยมีอดีตหรือวัฒนธรรมที่เหมือนกัน บุคคลที่อาศัยอยู่ในเขตแดนหนึ่งซึ่งแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ของประชากรอย่างเห็นได้ชัดเรียก{{TextTerm|ชนกลุ่มน้อย|4|333|IndexEntry=ชนกลุ่มน้อย}} ตัวอย่างเช่น {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์|4|333|2}} {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยแห่งชาติ|4|333|3}} {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางภาษา|4|333|4}} หรือ {{TextTerm|ชนกลุ่มน้อยทางศาสนา|4|333|5}}
{{Note|1| {{NoteTerm|Race}}, n. - {{NoteTerm|racial}}, adj. }}
 
 
{{Note|1| {{NoteTerm|Racism}}, n.: theory that certain races are inherently superior to others; {{NoteTerm|racist}}, adj.}}
 
{{Note|1| {{NoteTerm|Racism}}, n.: theory that certain races are inherently superior to others; {{NoteTerm|racist}}, adj.}}
 
{{Note|2| {{NoteTerm|Tribe}}, and {{NoteTerm|tribal group}}, still used in certain contexts, tend to be replaced by "ethnic group".}}
 
{{Note|2| {{NoteTerm|Tribe}}, and {{NoteTerm|tribal group}}, still used in certain contexts, tend to be replaced by "ethnic group".}}

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 07:22, 22 เมษายน 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


330

ผู้อยู่อาศัยของชาติหรือรัฐหนึ่งอาจเป็น ข้าแผ่นดิน1 ราษฎร1 หรือ พลเมือง1ของรัฐนั้นซึ่งเป็นผู้มีสิทธิทางการเมือง หรืออาจเป็น คนต่างด้าว2 หรือ ชาวต่างประเทศ2 ผู้เป็นราษฎรของรัฐอื่น หรือไม่เป็นราษฎรของรัฐใดเลยที่เรียกว่า คนไร้รัฐ3 ศัพท์คำว่า"ข้าแผ่นดิน" เคยมีความหมายเหมือนผู้อยู่อาศัยเป็นข้าทาสแต่ปัจจุบันความหมายนี้ได้ค่อยสลายลงไปแล้ว และมักจะใช้ในความหมายเดียวกันกับราษฎร แม้ว่าบางครั้งจะมีความพยายามที่จะทำให้เห็นภาพแตกต่างกันระหว่างคำว่าข้าแผ่นดินกับราษฎร ราษฎรของรัฐหนึ่งโดยทั่วไปจะมี สัญชาติ4ของรัฐนั้น ทุกวันนี้คำว่าสัญชาติจะใช้ในความหมายเดียวกันกับการมี ฐานะพลเมือง4 แต่ใน รัฐที่มีคนหลายเชื้อชาติ6อาจแยกความแตกต่างระหว่าง สัญชาติทางการเมือง4 กับ สัญชาติทางเชื้อชาติ5

331

คนต่างด้าวอาจขอสัญชาติของประเทศที่เข้าไปอาศัยอยู่โดย การโอนสัญชาติ1 และกลายเป็น ราษฎรโอนสัญชาติ2ของ บุคคลแปลงสัญชาติ2 ในบางประเทศ ใบโอนสัญชาติ3อาจถูก เพิกถอน4ได้ และจะทำให้บุคคลที่แปลงสัญชาติแล้วต้อง สูญเสียสัญชาติ5ของตนไป บางกรณีบุคคลอาจมีมากกว่าหนึ่งสัญชาติซึ่งพูดได้ว่าเขาเป็นคนมี สองสัญชาติ6 บางครั้งมีการแยกความแตกต่างระหว่าง คนต่างด้าวที่อยู่ประจำ7 ผู้อาศัยอยู่ประจำในประเทศที่ไม่ใช่ประเทศของตน กับ ผู้พำนักชั่วคราวต่างด้าว8หรือ คนต่างด้าวที่อยู่ชั่วคราว8 ผู้ที่อยู่ที่นั่นสำหรับช่วงเวลาสั้นๆ

332

บุคคลที่เกิดในเขตแดนซึ่งเขายังอาศัยอยู่เรียกว่า คนพื้นเมือง1ของเขตแดนนั้น ถ้าบรรพบุรุษของเขาเป็นผู้อยู่อาศัยดั้งเดิมของเขตแดนนั้นจะเรียกว่า autochthonous2 ชนพื้นเมือง2 หรือผู้อยู่อาศัย ชนเผ่าพื้นเมือง2 คำหลังสุดนั้นมักสงวนไว้สำหรับผู้คนที่เป็นชนเผ่า สถิติมักแยกระหว่าง คนที่เกิดในประเทศ3 กับ คนที่เกิดต่างประเทศ4

333

ศัพท์คำว่า เผ่าพันธุ์1โดยทั่วไปมักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มของบุคคลที่มีลักษณะทางกายภาพเหมือนกันซึ่งเป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ในการทำสำมะโนของบางประเทศ บางครั้งใช้คำนี้ให้มีความหายอย่างหลวมๆ บางครั้งใช้สำหรับกลุ่มคนที่ผูกพันด้วยกันโดยวัฒนธรรมที่เหมือนกัน หรือมีถิ่นเกิดแห่งเดียวกัน หรือกระทั่งหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตแดนแห่งเดียวกัน ศัพท์อีกคำหนึ่งซึ่งบางครั้งมีการนำมาใช้กันคือ กลุ่มชาติพันธุ์2 และก็อีกเช่นกันที่คำนี้มีความหมาไม่เป็นเอกภาพ โดยทั่วไปกลุ่มชาติพันธุ์จะหมายถึงกลุ่มของผู้คนที่มีวัฒนธรรม ภาษา และประเพณีทางศาสนาเหมือนกัน กลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งอาจเป็นกลุ่มเผ่าพันธุ์หนึ่ง ผู้คน3 (cf. 305-2) โดยทั่วไปหมายถึงกลุ่มรวมของบุคคลซึ่งเชื่อมโยงกันโดยมีอดีตหรือวัฒนธรรมที่เหมือนกัน บุคคลที่อาศัยอยู่ในเขตแดนหนึ่งซึ่งแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ของประชากรอย่างเห็นได้ชัดเรียก ชนกลุ่มน้อย4 ตัวอย่างเช่น ชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์4 ชนกลุ่มน้อยแห่งชาติ4 ชนกลุ่มน้อยทางภาษา4 หรือ ชนกลุ่มน้อยทางศาสนา4

  • 1. Racism, n.: theory that certain races are inherently superior to others; racist, adj.
  • 2. Tribe, and tribal group, still used in certain contexts, tend to be replaced by "ethnic group".

334

Individuals are sometimes distinguished by their color1, which is used loosely to refer to the apparent pigmentation of the skin. In some countries a distinction is drawn between white persons2 and colored persons3 sometimes called non-whites3. Mating between persons of different colors is sometimes referred to as miscegenation4. A person who is the issue of such a union is said to be of mixed blood5 or mixed parentage5.

  • 4. Crossing is sometimes used in that sense. It also refers to the change in racial self-identification of an individual between one date and another.
  • 5. The issue of a white and a negro is called mulatto. In Spanish America the issue of a person of European extraction and an American Indian is called a mestizo. The issue of a person of European extraction and an Asian is sometimes referred to as an eurasian.

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=33&oldid=209"