The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "32"

จาก Demopædia
(325)
(324)
 
(ไม่แสดง 16 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 320 ===
 
=== 320 ===
  
{{TextTerm|โครงสร้างเพศ|1|320}}หรือ{{TextTerm|การกระจายตามเพศ|1|320|2}}ของ{{NonRefTerm|ประชากร}}วัดได้ด้วยอัตราส่วนของจำนวนประชากร{{TextTerm|เพศ|2|320}}หนึ่งต่อจำนวนรวมของประชากร หรือที่นิยมกันมากกว่าคือต่อจำนวนประชากรอีกเพศหนึ่ง มาตรวัดที่ใช้กันอยูปรกติเพศชายใช้เป็นตัวตั้งและเราพูดถึง{{TextTerm|ภาวะเพศชาย|3|320}}ของประชากร {{TextTerm|สัดส่วนภาวะเพศชาย|4|320}}คือสัดส่วนของประชากรชายในประชากรทั้งหมด {{TextTerm|อัตราส่วนเพศ|5|320}}เป็นอัตราสวนของจำนวนประชากรชายต่อจำนวนประชากรหยิง ปรกติจะแสดงเป็น{{NonRefTerm|ค่าดัชนี}} ({{RefNumber|13|2|7}}) ได้แก่จำนวนประชากรชายต่อประชากรหญิง{{NoteTerm|100}}คน
+
{{TextTerm|โครงสร้างเพศ|1|320}}หรือ{{TextTerm|การกระจายตามเพศ|1|320|2}}ของ{{NonRefTerm|ประชากร}}วัดได้ด้วยอัตราส่วนของจำนวนประชากร{{TextTerm|เพศ|2|320}}หนึ่งต่อจำนวนรวมของประชากร หรือที่นิยมกันมากกว่าคือต่อจำนวนประชากรอีกเพศหนึ่ง มาตรวัดที่ใช้กันอยู่ปรกติเพศชายใช้เป็นตัวตั้งและเราพูดถึง{{TextTerm|ภาวะเพศชาย|3|320}}ของประชากร {{TextTerm|สัดส่วนภาวะเพศชาย|4|320}}คือสัดส่วนของประชากรชายในประชากรทั้งหมด {{TextTerm|อัตราส่วนเพศ|5|320}}เป็นอัตราส่วนของจำนวนประชากรชายต่อจำนวนประชากรหญิง ปรกติจะแสดงเป็น{{NonRefTerm|ค่าดัชนี}} ({{RefNumber|13|2|7}}) ได้แก่จำนวนประชากรชายต่อประชากรหญิง100 คน
{{Note|3| ในบางโอกาส ตัวตั้งของอัตราส่วนนี้เกี่ยวพันถึงประชากรหญิง และวัดเป็นภาวะเพศหญิงของประชากร}}
+
{{Note|3| บางครั้งตัวตั้งของอัตราส่วนนี้ใช้เป็นประชากรหญิง เท่ากับเป็นการวัดภาวะเพศหญิงของประชากร}}
  
 
=== 321 ===
 
=== 321 ===
  
คำว่า{{TextTerm|ประชากรชาย|1|321|IndexEntry=ประชากรชาย}} และ{{TextTerm|ประชากรหญิง|2|321|IndexEntry=ประชากรหญิง}}จะนิยมใช้กันในวิชาประชากรศาสตร์แทนคำว่า{{TextTerm|ผู้ชาย|1|321|2|IndexEntry=ผู้ชาย}} และ{{TextTerm|ผู้หญิง|2|321|2|IndexEntry=ผู้หญิง}} เพื่ออ้างถึงบุคคลในแต่ละเพศในทุกๆ อายุ รวมทั้ง{{NonRefTerm|เด็ก}} ({{RefNumber|32|3|3}}) ในทำนองเดียวกัน ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ประชากรเด็กชาย|3|321}}และ{{TextTerm|ประชากรเด็กหญิง|4|321}}ใช้แทนคำว่า{{TextTerm|เด็กชาย|3|321|2}}และ{{TextTerm|เด็กหญิง|4|321|2}}
+
คำว่า{{TextTerm|ประชากรชาย|1|321|IndexEntry=ประชากรชาย}} และ{{TextTerm|ประชากรหญิง|2|321|IndexEntry=ประชากรหญิง}}จะนิยมใช้กันในวิชาประชากรศาสตร์แทนคำว่า{{TextTerm|ผู้ชาย|1|321|2|IndexEntry=ผู้ชาย}} และ{{TextTerm|ผู้หญิง|2|321|2|IndexEntry=ผู้หญิง}} เพื่ออ้างถึงบุคคลในแต่ละเพศในทุกๆ อายุ รวมทั้ง{{NonRefTerm|เด็ก}} ({{RefNumber|32|3|3}}) ในทำนองเดียวกัน ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ประชากรเด็กชาย|3|321}}และ{{TextTerm|ประชากรเด็กหญิง|4|321}}ใช้แทนคำว่า{{TextTerm|เด็กชาย|3|321|2}}และ{{TextTerm|เด็กหญิง|4|321|2}}  ศัพท์ภาษาอังกฤษ man ยังใช้ในความหมายโดยทั่วๆ ไปของ {{TextTerm|ความเป็นมนุษย์|5|321}}
  
 
=== 322 ===
 
=== 322 ===
  
{{TextTerm|อายุ|1|322}}เป็นลักษณะพื้นฐานของโครงสร้างประชากร โดยทั่วไปจะแสดงเป็นปี หรือปีและเดือน ในกรณีของเด็กเล็กๆ อายุอาจทำให้เป็นเดือนและวัน หรือให้เป็นปีและส่วนทศนิยมของปี ปรกติดนักประชากรศาสตร์จะปัดเศษให้เป็นจำนวน{{TextTerm|ปีเต็ม|2|322}}ที่มีชีวิตอยู่ ซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|อายุเมื่อวันเกิดครั้งสุดท้าย|3|322}} บางครั้ง สถิติทางประชากรอ้างถึง{{TextTerm|อายุครบในช่วงปีนั้น|4|322}} เมื่อเศษของจำนวนปีเต็มที่มีชีวิตอยู่ที่ผ่านมาถูกนับเป็นทั้งปีอย่างที่ประยุกต์ในทางการบัญชี เท่่ากับเราพูดถึง{{TextTerm|อายุเมื่อวันเกิดครั้งหน้า|5|322}} {{TextTerm|อายุที่บอก|6|322}} หรือ{{TextTerm|อายุที่รายงาน|6|322|2}}ในสำมะโนหรือการจดทะเบียนมักจะขึ้นเป็นเป็นเลขกลมตัวต่อไปโดยเฉพาะใกล้วันเกิดครั้งหน้า ศัพท์คำว่า{{TextTerm|อายุแน่นอน|7|322}}ใช้โดยเฉพาะในการคำนวณตารางชีพ เพื่อแสดงเวลาที่บุคคลหนึ่งมีอายุครบวันเกิดของเขา คำถามอายุในสำมะโนจะเป็นวันเดือนปีเกิด หรืออายุเมื่อวันเกิดครั้งสุดท้าย หรือถามเพียงแต่อายุเท่าไรโดยไม่ต้องการความแม่นยำมากนัก เมื่อครั้งที่คนรู้เกี่ยวกับอายุยังไม่แพร่หลาย{{TextTerm|ปฏิทินทางประวัติศาสตร์|8|322}}อาจใช้เพื่อประมาณอายุ นั่นคือการใช้รายการเหตุการณ์ที่รู้วันเวลาที่เหตุการเกิดขึ้นในช่วงชีวิตของผู้ตอบ
+
{{TextTerm|อายุ|1|322}}เป็นลักษณะพื้นฐานของโครงสร้างประชากร โดยทั่วไปจะแสดงเป็นปี หรือปีและเดือน ในกรณีของเด็กเล็กๆ อายุอาจทำให้เป็นเดือนและวัน หรือให้เป็นปีและส่วนทศนิยมของปี ปรกตินักประชากรศาสตร์จะปัดเศษให้เป็นจำนวน{{TextTerm|ปีเต็ม|2|322}}ที่มีชีวิตอยู่ ซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|อายุเมื่อวันเกิดครั้งสุดท้าย|3|322}} บางครั้ง สถิติทางประชากรอ้างถึง{{TextTerm|อายุครบในช่วงปีนั้น|4|322}} เมื่อเศษของจำนวนปีเต็มที่มีชีวิตอยู่ที่ผ่านมาถูกนับเป็นทั้งปีอย่างที่ประยุกต์ในทางการบัญชี เท่่ากับเราพูดถึง{{TextTerm|อายุเมื่อวันเกิดครั้งหน้า|5|322}} {{TextTerm|อายุที่บอก|6|322}} หรือ{{TextTerm|อายุที่รายงาน|6|322|2}}ในสำมะโนหรือการจดทะเบียนมักจะขึ้นเป็นเป็นเลขกลมตัวต่อไปโดยเฉพาะใกล้วันเกิดครั้งหน้า ศัพท์คำว่า{{TextTerm|อายุแน่นอน|7|322}}ใช้โดยเฉพาะในการคำนวณตารางชีพ เพื่อแสดงเวลาที่บุคคลหนึ่งมีอายุครบวันเกิดของเขา คำถามอายุในสำมะโนจะเป็นวันเดือนปีเกิด หรืออายุเมื่อวันเกิดครั้งสุดท้าย หรือถามเพียงแต่อายุเท่าไรโดยไม่ต้องการความแม่นยำมากนัก เมื่อครั้งที่ความรู้เกี่ยวกับอายุยังไม่แพร่หลาย{{TextTerm|ปฏิทินทางประวัติศาสตร์|8|322}}อาจใช้เพื่อประมาณอายุ นั่นคือการใช้รายการเหตุการณ์ที่รู้วันเวลาที่เหตุการณ์เกิดขึ้นในช่วงชีวิตของผู้ตอบ
{{Note|2| ดังนั้น {{NonRefTerm|กลุ่มอายุ}} ({{RefNumber|32|5|2}})โดยปรกติแสดงเป็นปีเต็ม และกลุ่มอายุ 6-13 ปีรวมบุคคลซึ่งอายุของเขาประกอบขึ้นระหว่าง 6 และ 14 ปี}}
+
{{Note|2| ดังนั้น {{NonRefTerm|กลุ่มอายุ}} ({{RefNumber|32|5|2}}) จะเป็นปีเต็ม และกลุ่มอายุ 6-13 ปีจึงรวมบุคคลที่มี{{NonRefTerm|อายุแน่นอน}} ({{RefNumber|32|2|7}}) ระหว่าง 6 และ 14 ปี}}
  
 
=== 323 ===
 
=== 323 ===
  
ในวิชาประชากรศาสตร์ ศัพท์บางคำนำมาจากภาษาพูดในชีวิตประจำวันเพื่อแสดง{{TextTerm|ขั้นตอนของชีวิต|1|323|IndexEntry=ขั้นตอนของชีวิต}} หรือระยะเวลาเป็นปีโดยประมาณ ในช่วงเริ่มต้นของชีวิตอยู่ในขั้นตอนของ{{TextTerm|วัยเด็ก|2|323}} โดยทั่วไป{{TextTerm|เด็ก|3|323}}คือบุคคลทั่วไปที่ยังไม่ถึงวัยที่{{NonRefTerm|สืบพันธุ์ได้}} ({{RefNumber|62|0|2}}) ในช่วงวันแรกๆ ของชีวิต เด็กจะเรียกว่า{{TextTerm|เด็กเกิดใหม่|4|323}} {{NewTextTerm|เด็กวัยกินนม|5}}คือเด็กที่ยังไม่หย่านมจากแม่ของเขา ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ทารก|6|323}}ใช้เพื่อหมายถึงเด็กที่มีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดแรก แม้ว่าในภาษาพูดอาจใช้คำว่าทารกในความหมายที่เด็กมีอายุเกินกว่าขวบปีเล็กน้อย เด็กๆ ที่อายุยังไม่ถึงวัยเรียนภาคบังคับเรียกว่า{{TextTerm|เด็กก่อนวัยเรียน|7|323|IndexEntry=เด็กก่อนวัยเรียน}} {{TextTerm|เด็กวัยเรียน|8|323}}คือเด็กที่อยู่ในวัยต้องไปโรงเรียน
+
ในวิชาประชากรศาสตร์ ศัพท์บางคำนำมาจากภาษาพูดในชีวิตประจำวันเพื่อแสดง{{TextTerm|ขั้นตอนของชีวิต|1|323|IndexEntry=ขั้นตอนของชีวิต}} หรือระยะเวลาเป็นปีโดยประมาณ ในช่วงเริ่มต้นของชีวิตอยู่ในขั้นตอนของ{{TextTerm|วัยเด็ก|2|323}} โดยทั่วไป{{TextTerm|เด็ก|3|323}}คือบุคคลทั่วไปที่ยังไม่ถึงวัยที่{{NonRefTerm|สืบพันธุ์ได้}} ({{RefNumber|62|0|2}}) ในช่วงวันแรกๆ ของชีวิต เด็กจะเรียกว่า{{TextTerm|เด็กเกิดใหม่|4|323}} {{TextTerm|เด็กวัยกินนม|5}}คือเด็กที่ยังไม่หย่านมจากแม่ของเขา ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ทารก|6|323}}ใช้เพื่อหมายถึงเด็กที่มีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดแรก แม้ว่าในภาษาพูดอาจใช้คำว่าทารกในความหมายที่เด็กมีอายุเกินกว่าขวบปีเล็กน้อย เด็กๆ ที่อายุยังไม่ถึงวัยเรียนภาคบังคับเรียกว่า{{TextTerm|เด็กก่อนวัยเรียน|7|323|IndexEntry=เด็กก่อนวัยเรียน}} {{TextTerm|เด็กวัยเรียน|8|323}}คือเด็กที่อยู่ในวัยต้องไปโรงเรียน
 +
{{Note|6| {{NoteTerm|วัยทารก}} (infancy) ช่วงเวลาที่เป็นทารก}}
  
 
=== 324 ===
 
=== 324 ===
  
เด็กตามมาด้วย{{TextTerm|วัยรุ่น|1|324}}หรือ{{TextTerm|เยาวชน|1|324|2}} ซึ่งเริ่มต้นวัยที่{{NonRefTerm|สืบพันธุ์ได้}} ({{RefNumber|62|0|2}}) ศัพท์คำว่า{{TextTerm|วัยรุ่น|2|324|IndexEntry=วัยรุ่น}}หรือ{{TextTerm|คนหนุ่มสาว|3|324|IndexEntry=คนหนุ่มสาว}}ใช้สำหรับผู้ชายและผู้หญิงอายุระหว่างวัยเด็กกับ{{TextTerm|วัยผู้ใหญ่|4|324}} คนที่อายุ่ถึง{{TextTerm|ความเป็นผู้ใหญ่|4|324|2}}เรียกว่า{{TextTerm|ผู้ใหญ่|5|324|IndexEntry=ผู้ใหญ่}} {{TextTerm|วัยชรา|6|324}}มักใช้เพื่อนิยามช่วงเวลาของชีวิตซึ่งบุคคลส่วนมากเกษียณจากการทำงานแล้ว บุคคลที่มีอายุมากกว่าเกณฑ์อายุนั้นเรียกว่า{{TextTerm|คนแก่|8|324}} {{TextTerm|ผู้มีอายุมาก|8|324|2|IndexEntry=ผู้มีอายุมาก}}หรือ{{TextTerm|ผู้สูงอายุ|8|324|3|IndexEntry=ผู้สูงอายุ}}
+
เด็กตามมาด้วย{{TextTerm|วัยรุ่น|1|324}}หรือ{{TextTerm|เยาวชน|1|324|2}} ซึ่งเริ่มต้นวัยที่{{NonRefTerm|สืบพันธุ์ได้}} ({{RefNumber|62|0|2}}) ศัพท์คำว่า{{TextTerm|วัยรุ่น|2|324|IndexEntry=วัยรุ่น}}หรือ{{TextTerm|คนหนุ่มสาว|3|324|IndexEntry=คนหนุ่มสาว}}ใช้สำหรับผู้ชายและผู้หญิงอายุระหว่างวัยเด็กกับ{{TextTerm|วัยผู้ใหญ่|4|324}} คนที่อายุ่ถึง{{TextTerm|ความเป็นผู้ใหญ่|4|324|2}}เรียกว่า{{TextTerm|ผู้ใหญ่|5|324|IndexEntry=ผู้ใหญ่}} {{TextTerm|วัยชรา|6|324}}มักใช้เพื่อนิยามช่วงเวลาของชีวิตซึ่งบุคคลส่วนมากเกษียณจากการทำงานแล้ว บุคคลที่มีอายุมากกว่า{{TextTerm|อายุเกษียณ|7|324}}นั้นเรียกว่า{{TextTerm|คนแก่|8|324}} {{TextTerm|ผู้มีอายุมาก|8|324|2|IndexEntry=ผู้มีอายุมาก}}หรือ{{TextTerm|ผู้สูงอายุ|8|324|3|IndexEntry=ผู้สูงอายุ}}
{{Note|3| The term {{NoteTerm|youth}} is also employed collectively. When used in the singular, it more frequently refers to a male. In the United States of America, {{NoteTerm|teenager}} refers to persons in their teens, i.e., between 13 and 19 years.}}
+
{{Note|3| ศัพท์คำว่า{{NoteTerm|เยาวชน}} (youth) ใช้แสดงกลุ่มรวมด้วย ในสหรัฐอเมริกาใช้คำว่า {{NoteTerm|ทีนเอจ}} เพื่อหมายถึงบุคคลที่มีอายุระหว่าง 13 ถึง 19 ปี}}
  
 
=== 325 ===
 
=== 325 ===
  
การกระจายอายุของประชากรทำได้โดยใช้{{TextTerm|อายุรายปี|1|325}} หรือโดย{{TextTerm|กลุ่มอายุ|2|325|IndexEntry=กลุ่มอายุ}}ซึ่งอาจเป็น{{TextTerm|กลุ่มอายุ 5 ปี|3|325|IndexEntry=กลุ่มอายุ 5 ปี}} ซึ่งเรียกว่าเป็ฯ{{TextTerm|กลุ่มอายุช่วง 5 ปี|3|325|2|IndexEntry=กลุ่มอายุช่วง 5 ปี}} หรือกระจายเป็น{{TextTerm|กลุ่มอายุกว้างๆ|4|325|IndexEntry=กลุ่มอายุกว้างๆ}} อย่างเช่น 0-19 ปี 20-59 ปี 60 ปีขึ้นไป บางครั้ง{{TextTerm|การกระจายอายุ|6|325}}ของประชากร หรือ{{TextTerm|โครงสร้างอายุ|6|325|2|OtherIndexEntry=structure, age}}แสดงไว้โดยการจำแนกประชากรออกตาม{{TextTerm|ปีเกิด|5|325}} การกระจายอายุของประชากรแสดงเป็นรูปกราฟโดย{{TextTerm|พีระมิดประชากร|7|325|OtherIndexEntry=ประชากร, พีระมิด}}ซึ่ง{{NonRefTerm|histogram}} ({{RefNumber|15|5|8}}) showing the population by age and sex and so named because of its pyramidal shape.
+
การกระจายอายุของประชากรทำได้โดยใช้{{TextTerm|อายุรายปี|1|325}} หรือโดย{{TextTerm|กลุ่มอายุ|2|325|IndexEntry=กลุ่มอายุ}}ซึ่งอาจเป็น{{TextTerm|กลุ่มอายุ 5 ปี|3|325|IndexEntry=กลุ่มอายุ 5 ปี}} ซึ่งเรียกว่าเป็น{{TextTerm|กลุ่มอายุช่วง 5 ปี|3|325|2|IndexEntry=กลุ่มอายุช่วง 5 ปี}} หรือกระจายเป็น{{TextTerm|กลุ่มอายุกว้างๆ|4|325|IndexEntry=กลุ่มอายุกว้างๆ}} อย่างเช่น 0-19 ปี 20-59 ปี 60 ปีขึ้นไป บางครั้ง{{TextTerm|การกระจายอายุ|6|325}}ของประชากร หรือ{{TextTerm|โครงสร้างอายุ|6|325|2}}แสดงไว้โดยการจำแนกประชากรออกตาม{{TextTerm|ปีเกิด|5|325}} การกระจายอายุของประชากรแสดงเป็นรูปกราฟโดย{{TextTerm|พีระมิดประชากร|7|325}}ซึ่งเป็น{{NonRefTerm|ฮิสโตแกรม}} ({{RefNumber|15|5|8}}) แสดงประชากรตามกลุ่มอายุและเพศ และที่เรียกชื่อดังนั้นเพราะทรงของกราฟนี้เป็นเหมือนพีระมิด
  
 
=== 326 ===
 
=== 326 ===
  
The {{TextTerm|mean age|1|326|OtherIndexEntry=age, mean}} of a population is the average age of all its members, the {{TextTerm|median age|2|326|IndexEntry=age, median}} is the age which divides the population into two numerically equal groups. When the proportion of old people in a population increases, we speak of the {{TextTerm|aging|3|326}} of the population. An increase in the proportion of young people involves a {{TextTerm|rejuvenation|4|326}} of the population. An {{TextTerm|old population|5|326|OtherIndexEntry=population, old}} has a high proportion of old people, a {{TextTerm|young population|6|326|OtherIndexEntry=population, young}} has a high proportion of young people or children. The term aging used above should not be confused with the technique used in population projection, which consists of {{TextTerm|aging|7|326}} a population by applying {{NonRefTerm|survival probabilities}} ({{RefNumber|43|1|6}}) by age to determine the number of survivors at a later date.
+
{{TextTerm|อายุเฉลี่ย|1|326}}ของประชากรหนึ่งคืออายุเฉลี่ยของสมาชิกทุกคนในประชากรนั้น {{TextTerm|อายุมัธยฐาน|2|326|IndexEntry=อายุมัธยฐาน}}คืออายุซึ่งแบ่งประชากรออกเป็นสองกลุ่มมีจำนวนเท่าๆ กัน  เมื่อสัดส่วนของคนชราเพิ่มขึ้นเราพูดถึง{{TextTerm|กระบวนการสูงวัย|3|326}}ของประชากร เมื่อสัดส่วนของคนวัยเยาว์เพิ่มขึ้นก็เป็น{{TextTerm|กระบวนการเยาว์วัย|4|326}}ของประชากร {{TextTerm|ประชากรวัยชรา|5|326}}มีสัดส่วนของประชากรสูงวัยสูง {{TextTerm|ประชากรวัยเยาว์|6|326}}มีสัดส่วนของประชากรเยาว์วัยหรือเด็กๆ สูง ศัพท์คำว่ากระบวนการสูงวัยที่ใช้ข้างต้นไม่ควรนำไปปะปนกับเทคนิคที่ใช้ในการฉายภาพประชากร ซึ่งประกอบด้วย{{TextTerm|การมีอายุสูงขึ้น|7|326}}ของประชากรด้วยการใช้{{NonRefTerm|ความน่าจะเป็นของการรอดชีพ}} ({{RefNumber|43|1|6}}) ตามรายอายุเพื่อหาจำนวนผู้รอดชีพในเวลาต่อมา
{{Note|3| Also written {{NoteTerm|ageing}}.}}
+
{{Note|3| คำนี้ในภาษาอังกฤษ เขียนได้ทั้ง {{NoteTerm|aging}} และ {{NoteTerm|ageing}}}}
{{Note|4| The word {{NoteTerm|younging}} is used by American demographers.}}
+
{{Note|4| คำว่า{{NoteTerm|เยาว์วัยลง}} ใช้ในหมู่นักประชากรศาสตร์ชาวอเมริกัน}}
  
 
=== 327 ===
 
=== 327 ===
  
Aging ({{RefNumber|32|6|3}}) of a population must also be distinguished from {{TextTerm|individual aging|1|327|OtherIndexEntry=aging, individual}} or {{TextTerm|senescence|1|327|2}}, and from an increase in the duration of human life or {{TextTerm|increased longevity|2|327|OtherIndexEntry=longevity, increased}} which is the result of improved standards of living and of medical progress. An individual’s {{TextTerm|physiological age|3|327|OtherIndexEntry=age, physiological}} will depend on the state of his tissues and organs. In the case of children we speak of {{TextTerm|mental age|4|327|OtherIndexEntry=age, mental}}, which is defined as the age at which the attainments of the individual child as measured by certain tests can be performed by the average child. In studies of mental and physiological age, a distinction is made between these ages and chronological age measured by the time elapsed since the individual’s {{TextTerm|date of birth|5|327|OtherIndexEntry=birth, date of}}. The ratio of mental to chronological age is called the {{TextTerm|intelligence quotient|6|327|OtherIndexEntry=quotient, intelligence}} (often abbreviated to I.Q.).
+
{{NonRefTerm|กระบวนการสูงวัย}} ({{RefNumber|32|6|3}}) ของประชากรต้องแยกออกจาก{{TextTerm|การมีอายุสูงขึ้นของบุคคล|1|327}} หรือ{{TextTerm|ชราภาพ|1|327|2}} และแยกจากการที่ระยะเวลาของชีวิตมนุษย์ที่ยาวนานขึ้น หรือ{{TextTerm|ความยืนยาวชีวิตที่เพิ่มขึ้น|2|327}}ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนามาตรฐานการดำรงชีวิตและความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุข {{TextTerm|อายุทางสรีรวิทยา|3|327}}ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับภาวะของเนื้อเยื่อและอวัยวะในร่างกายของเขา ในกรณีของเด็กๆ เราพูดถึง{{TextTerm|อายุทางจิตใจ|4|327}}ซึ่งนิยามว่าเป็นอายุที่จากการทดสอบให้เด็กแต่ละคนสามารถประกอบกิจกรรมบางอย่างที่เด็กโดยเฉลี่ยทำได้ ในากรศึกษาเกี่ยวกับอายุทางสรีรวิทยาและอายุทางจิตใจ มีการแยกความแตกต่างระหว่างอายุทั้งสองนี้กับอายุตามเวลาที่ผ่านไปที่วัดได้โดยเวลาที่ผ่านไปตั้งแต่{{TextTerm|วันเดือนปีเกิด|5|327}}ของเด็กแต่ละคน อัตราส่วนของอายุทางจิตใจต่ออายุตามเวลาที่ผ่านไปเรียกว่า{{TextTerm|อัตราส่วนเชาวน์ปัญญา|6|327}} (มักเรียย่อๆ ว่าไอคิว)
{{Note|1| {{NoteTerm|Senescence}}, n. - {{NoteTerm|senescent}}, adj.}}
 
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 04:14, 19 กุมภาพันธ์ 2557


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


320

โครงสร้างเพศ1หรือ การกระจายตามเพศ1ของประชากรวัดได้ด้วยอัตราส่วนของจำนวนประชากร เพศ2หนึ่งต่อจำนวนรวมของประชากร หรือที่นิยมกันมากกว่าคือต่อจำนวนประชากรอีกเพศหนึ่ง มาตรวัดที่ใช้กันอยู่ปรกติเพศชายใช้เป็นตัวตั้งและเราพูดถึง ภาวะเพศชาย3ของประชากร สัดส่วนภาวะเพศชาย4คือสัดส่วนของประชากรชายในประชากรทั้งหมด อัตราส่วนเพศ5เป็นอัตราส่วนของจำนวนประชากรชายต่อจำนวนประชากรหญิง ปรกติจะแสดงเป็นค่าดัชนี (132-7) ได้แก่จำนวนประชากรชายต่อประชากรหญิง100 คน

  • 3. บางครั้งตัวตั้งของอัตราส่วนนี้ใช้เป็นประชากรหญิง เท่ากับเป็นการวัดภาวะเพศหญิงของประชากร

321

คำว่า ประชากรชาย1 และ ประชากรหญิง2จะนิยมใช้กันในวิชาประชากรศาสตร์แทนคำว่า ผู้ชาย1 และ ผู้หญิง2 เพื่ออ้างถึงบุคคลในแต่ละเพศในทุกๆ อายุ รวมทั้งเด็ก (323-3) ในทำนองเดียวกัน ศัพท์คำว่า ประชากรเด็กชาย3และ ประชากรเด็กหญิง4ใช้แทนคำว่า เด็กชาย3และ เด็กหญิง4 ศัพท์ภาษาอังกฤษ man ยังใช้ในความหมายโดยทั่วๆ ไปของ ความเป็นมนุษย์5

322

อายุ1เป็นลักษณะพื้นฐานของโครงสร้างประชากร โดยทั่วไปจะแสดงเป็นปี หรือปีและเดือน ในกรณีของเด็กเล็กๆ อายุอาจทำให้เป็นเดือนและวัน หรือให้เป็นปีและส่วนทศนิยมของปี ปรกตินักประชากรศาสตร์จะปัดเศษให้เป็นจำนวน ปีเต็ม2ที่มีชีวิตอยู่ ซึ่งเรียกว่า อายุเมื่อวันเกิดครั้งสุดท้าย3 บางครั้ง สถิติทางประชากรอ้างถึง อายุครบในช่วงปีนั้น4 เมื่อเศษของจำนวนปีเต็มที่มีชีวิตอยู่ที่ผ่านมาถูกนับเป็นทั้งปีอย่างที่ประยุกต์ในทางการบัญชี เท่่ากับเราพูดถึง อายุเมื่อวันเกิดครั้งหน้า5 อายุที่บอก6 หรือ อายุที่รายงาน6ในสำมะโนหรือการจดทะเบียนมักจะขึ้นเป็นเป็นเลขกลมตัวต่อไปโดยเฉพาะใกล้วันเกิดครั้งหน้า ศัพท์คำว่า อายุแน่นอน7ใช้โดยเฉพาะในการคำนวณตารางชีพ เพื่อแสดงเวลาที่บุคคลหนึ่งมีอายุครบวันเกิดของเขา คำถามอายุในสำมะโนจะเป็นวันเดือนปีเกิด หรืออายุเมื่อวันเกิดครั้งสุดท้าย หรือถามเพียงแต่อายุเท่าไรโดยไม่ต้องการความแม่นยำมากนัก เมื่อครั้งที่ความรู้เกี่ยวกับอายุยังไม่แพร่หลาย ปฏิทินทางประวัติศาสตร์8อาจใช้เพื่อประมาณอายุ นั่นคือการใช้รายการเหตุการณ์ที่รู้วันเวลาที่เหตุการณ์เกิดขึ้นในช่วงชีวิตของผู้ตอบ

  • 2. ดังนั้น กลุ่มอายุ (325-2) จะเป็นปีเต็ม และกลุ่มอายุ 6-13 ปีจึงรวมบุคคลที่มีอายุแน่นอน (322-7) ระหว่าง 6 และ 14 ปี

323

ในวิชาประชากรศาสตร์ ศัพท์บางคำนำมาจากภาษาพูดในชีวิตประจำวันเพื่อแสดง ขั้นตอนของชีวิต1 หรือระยะเวลาเป็นปีโดยประมาณ ในช่วงเริ่มต้นของชีวิตอยู่ในขั้นตอนของ วัยเด็ก2 โดยทั่วไป เด็ก3คือบุคคลทั่วไปที่ยังไม่ถึงวัยที่สืบพันธุ์ได้ (620-2) ในช่วงวันแรกๆ ของชีวิต เด็กจะเรียกว่า เด็กเกิดใหม่4 เด็กวัยกินนม5คือเด็กที่ยังไม่หย่านมจากแม่ของเขา ศัพท์คำว่า ทารก6ใช้เพื่อหมายถึงเด็กที่มีชีวิตอยู่ยังไม่ครบวันเกิดแรก แม้ว่าในภาษาพูดอาจใช้คำว่าทารกในความหมายที่เด็กมีอายุเกินกว่าขวบปีเล็กน้อย เด็กๆ ที่อายุยังไม่ถึงวัยเรียนภาคบังคับเรียกว่า เด็กก่อนวัยเรียน7 เด็กวัยเรียน8คือเด็กที่อยู่ในวัยต้องไปโรงเรียน

  • 6. วัยทารก (infancy) ช่วงเวลาที่เป็นทารก

324

เด็กตามมาด้วย วัยรุ่น1หรือ เยาวชน1 ซึ่งเริ่มต้นวัยที่สืบพันธุ์ได้ (620-2) ศัพท์คำว่า วัยรุ่น2หรือ คนหนุ่มสาว3ใช้สำหรับผู้ชายและผู้หญิงอายุระหว่างวัยเด็กกับ วัยผู้ใหญ่4 คนที่อายุ่ถึง ความเป็นผู้ใหญ่4เรียกว่า ผู้ใหญ่5 วัยชรา6มักใช้เพื่อนิยามช่วงเวลาของชีวิตซึ่งบุคคลส่วนมากเกษียณจากการทำงานแล้ว บุคคลที่มีอายุมากกว่า อายุเกษียณ7นั้นเรียกว่า คนแก่8 ผู้มีอายุมาก8หรือ ผู้สูงอายุ8

  • 3. ศัพท์คำว่าเยาวชน (youth) ใช้แสดงกลุ่มรวมด้วย ในสหรัฐอเมริกาใช้คำว่า ทีนเอจ เพื่อหมายถึงบุคคลที่มีอายุระหว่าง 13 ถึง 19 ปี

325

การกระจายอายุของประชากรทำได้โดยใช้ อายุรายปี1 หรือโดย กลุ่มอายุ2ซึ่งอาจเป็น กลุ่มอายุ 5 ปี3 ซึ่งเรียกว่าเป็น กลุ่มอายุช่วง 5 ปี3 หรือกระจายเป็น กลุ่มอายุกว้างๆ4 อย่างเช่น 0-19 ปี 20-59 ปี 60 ปีขึ้นไป บางครั้ง การกระจายอายุ6ของประชากร หรือ โครงสร้างอายุ6แสดงไว้โดยการจำแนกประชากรออกตาม ปีเกิด5 การกระจายอายุของประชากรแสดงเป็นรูปกราฟโดย พีระมิดประชากร7ซึ่งเป็นฮิสโตแกรม (155-8) แสดงประชากรตามกลุ่มอายุและเพศ และที่เรียกชื่อดังนั้นเพราะทรงของกราฟนี้เป็นเหมือนพีระมิด

326

อายุเฉลี่ย1ของประชากรหนึ่งคืออายุเฉลี่ยของสมาชิกทุกคนในประชากรนั้น อายุมัธยฐาน2คืออายุซึ่งแบ่งประชากรออกเป็นสองกลุ่มมีจำนวนเท่าๆ กัน เมื่อสัดส่วนของคนชราเพิ่มขึ้นเราพูดถึง กระบวนการสูงวัย3ของประชากร เมื่อสัดส่วนของคนวัยเยาว์เพิ่มขึ้นก็เป็น กระบวนการเยาว์วัย4ของประชากร ประชากรวัยชรา5มีสัดส่วนของประชากรสูงวัยสูง ประชากรวัยเยาว์6มีสัดส่วนของประชากรเยาว์วัยหรือเด็กๆ สูง ศัพท์คำว่ากระบวนการสูงวัยที่ใช้ข้างต้นไม่ควรนำไปปะปนกับเทคนิคที่ใช้ในการฉายภาพประชากร ซึ่งประกอบด้วย การมีอายุสูงขึ้น7ของประชากรด้วยการใช้ความน่าจะเป็นของการรอดชีพ (431-6) ตามรายอายุเพื่อหาจำนวนผู้รอดชีพในเวลาต่อมา

  • 3. คำนี้ในภาษาอังกฤษ เขียนได้ทั้ง aging และ ageing
  • 4. คำว่าเยาว์วัยลง ใช้ในหมู่นักประชากรศาสตร์ชาวอเมริกัน

327

กระบวนการสูงวัย (326-3) ของประชากรต้องแยกออกจาก การมีอายุสูงขึ้นของบุคคล1 หรือ ชราภาพ1 และแยกจากการที่ระยะเวลาของชีวิตมนุษย์ที่ยาวนานขึ้น หรือ ความยืนยาวชีวิตที่เพิ่มขึ้น2ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนามาตรฐานการดำรงชีวิตและความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุข อายุทางสรีรวิทยา3ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับภาวะของเนื้อเยื่อและอวัยวะในร่างกายของเขา ในกรณีของเด็กๆ เราพูดถึง อายุทางจิตใจ4ซึ่งนิยามว่าเป็นอายุที่จากการทดสอบให้เด็กแต่ละคนสามารถประกอบกิจกรรมบางอย่างที่เด็กโดยเฉลี่ยทำได้ ในากรศึกษาเกี่ยวกับอายุทางสรีรวิทยาและอายุทางจิตใจ มีการแยกความแตกต่างระหว่างอายุทั้งสองนี้กับอายุตามเวลาที่ผ่านไปที่วัดได้โดยเวลาที่ผ่านไปตั้งแต่ วันเดือนปีเกิด5ของเด็กแต่ละคน อัตราส่วนของอายุทางจิตใจต่ออายุตามเวลาที่ผ่านไปเรียกว่า อัตราส่วนเชาวน์ปัญญา6 (มักเรียย่อๆ ว่าไอคิว)

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=32&oldid=830"