The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "30"

จาก Demopædia
(303)
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 17: แถว 17:
 
=== 303 ===
 
=== 303 ===
  
หน่วยการปกครองของประเทศต่างๆ แตกต่างกัน และของประเทศเดียวกันก็แตกต่างกันเมื่อเวลาเปลี่ยนไป จนกระทั่งคำเดียวกันอาจครอบคลุมสถานการณ์ที่ต่างกัน เขตการปกครองเล็กๆ รวมถึง{{TextTerm|เมือง|1|303|IndexEntry=เมือง}} และ{{TextTerm|ตำบล|1|303|2|IndexEntry=ตำบล}} เขตการปกครองใหญ่ๆ ใช้ชื่ออย่างอื่นเช่น{{TextTerm|มลรัฐ|2|303|IndexEntry=มลรัฐ}} หรือ{{TextTerm|จังหวัด|2|303|2|IndexEntry=จังหวัด}} และหน่วยการปกครองขนาดกลางๆ มักเรียกว่า{{TextTerm|เคาน์ตี้|5|303|IndexEntry=เคาน์ตี้}} และ{{TextTerm|อำเภอ|6|303|IndexEntry=อำเภอ}} ตัวอย่างเช่นในประเทศแคนาดา เขตการปกครองหลักที่เรียงลำดับจากเล็กไปหาใหญ่ ได้แก่ {{NonRefTerm|เมือง}} ({{RefNumber|30|3|1}}) {{NonRefTerm|เคาน์ตี้}} ({{RefNumber|30|3|5}}) และ{{NonRefTerm|จังหวัด}} ({{RefNumber|30|3|2}})
+
หน่วยการปกครองของประเทศต่างๆ แตกต่างกัน และของประเทศเดียวกันก็แตกต่างกันเมื่อเวลาเปลี่ยนไป จนกระทั่งคำเดียวกันอาจครอบคลุมสถานการณ์ที่ต่างกัน เขตการปกครองเล็กๆ รวมถึง{{TextTerm|เมือง|1|303|IndexEntry=เมือง}} และ{{TextTerm|ตำบล|1|303|2|IndexEntry=ตำบล}} เขตการปกครองใหญ่ๆ ใช้ชื่ออย่างอื่นเช่น{{TextTerm|มลรัฐ|2|303|IndexEntry=มลรัฐ}} หรือ{{TextTerm|จังหวัด|2|303|2|IndexEntry=จังหวัด}} และหน่วยการปกครองขนาดกลางๆ มักเรียกว่า{{TextTerm|เคาน์ตี้|5|303|IndexEntry=เคาน์ตี้}} และ{{TextTerm|อำเภอ|6|303|IndexEntry=อำเภอ}} ตัวอย่างเช่นในประเทศแคนาดา เขตการปกครองหลักที่เรียงลำดับจากเล็กไปหาใหญ่ ได้แก่ {{TextTerm|เมือง|8|303}} {{TextTerm|เคาน์ตี้|9|303}} และ{{TextTerm|จังหวัด|10|303}} เช่นเดียวกับตัวอย่างอื่น การแบ่งส่วนการปกครองหลักของประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบันแบ่งเป็น{{TextTerm|ภาค|2|303|3}}ซึ่งเท่ากับจังหวัด และ{{TextTerm|เดพาร์กเตอมองต์|3|303}} (département) ซึ่งเท่ากับ{{TextTerm|แคนตัน|4|303}}ในสวิสเซอร์แลนด้ ในขณะที่{{TextTerm|อำเภอ|7|303}} และ{{TextTerm|วงเขต|11|303}}เป็นหน่วยการปกครองรอง ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตำบล (parish) มีความเทียบเท่ากับเคาน์ตี้
{{Note|1| {{NoteTerm|Villages}}, {{NoteTerm|boroughs}} and {{NoteTerm|cities}} are other names sometimes given to the smaller administrative units. {{NoteTerm|Municipality}} is a general descriptive term for minor civil division. In the United States, parishes are equivalent to counties. }}
+
{{Note|1| {{NoteTerm|หมู่บ้าน}} {{NoteTerm|ตำบล}} และ{{NoteTerm|เมือง}} เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองขนาดเล็ก  {{NoteTerm|เทศบาล}}เป็นศัพท์เรียกหน่วยการปกครองท้องถิ่น มีขนาดตั้งแต่เล็กไปหาใหญ่ คือเทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร และประเทศไทยยังมีเขตการปกครองพิเศษนอกเหนือไปจากเทศบาล คือ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา }}
  
 
=== 304 ===
 
=== 304 ===
แถว 26: แถว 26:
 
=== 305 ===
 
=== 305 ===
  
ปรกติ{{TextTerm|ประเทศ|1|305}}เป็น{{NonRefTerm|เขตแดน}} ({{RefNumber|30|1|2}}) ของ{{TextTerm|พลเมือง|2|305}} (cf. {{RefNumber|33|3|3}}) หรือของ{{TextTerm|ชาติ|2|305|2}} โดยทั่วไปบุคคลที่สังกัดชาติหนึ่งจะมีวัฒนธรรมที่เหมือนกัน {{TextTerm|รัฐ|3|305}}เป็นที่รวมทางการเมืองของกลุ่มประชากร คำนี้อาจใช้ในสองความหมายต่างกัน ความหมายแรกที่เข้าใจกันมากที่สุด รัฐคือกลุ่มประชากรที่มีอธิปไตยเต็มที่ในเขตแดนของเขา และมีอธิปไตยเหนือผู้อยู่อาศัยในเขตนั้น อย่างไรก็ตาม{{TextTerm|สมาพันธ์|4|305|IndexEntry=สมาพันธ์}}ของ{{TextTerm|สมาพันธรัฐ|4|305|2|IndexEntry=สมาพันธรัฐ}}บางแห่งก็แบ่งออกเป็นหน่วยเล็กๆ ซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|รัฐ|5|305|IndexEntry=รัฐ}}เช่นกัน และอธิปไตยของรัฐในสมาพันธรัฐก็ไม่เด็ดขาดสมบูรณ์ (ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย) ศัพท์คำว่า{{NonRefTerm|เขตแดน}} ({{RefNumber|30|1|2}}) โดยทั่วไปใช้สำหรับพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ แต่บางครั้งก็ถูกใช้เพื่อหมายถึงหน่วยทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ บางครั้งมีการแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|เขตแดนปกครองตนเอง|7|305|IndexEntry=เขตแดนปกครองตนเอง}}กับ{{TextTerm|เขตแดนที่ไม่ปกครองตนเอง|8|305|IndexEntry=เขตแดนที่ไม่ปกครองตนเอง}}
+
ปรกติ{{TextTerm|ประเทศ|1|305}}เป็น{{NonRefTerm|เขตแดน}} ({{RefNumber|30|1|2}}) ของ{{TextTerm|พลเมือง|2|305}} (cf. {{RefNumber|33|3|3}}) หรือของ{{TextTerm|ชาติ|2|305|2}} โดยทั่วไปบุคคลที่สังกัดชาติหนึ่งจะมีวัฒนธรรมที่เหมือนกัน {{TextTerm|รัฐ|3|305}}เป็นที่รวมทางการเมืองของกลุ่มประชากร คำนี้อาจใช้ในสองความหมายต่างกัน ความหมายแรกที่เข้าใจกันมากที่สุด รัฐคือกลุ่มประชากรที่มีอธิปไตยเต็มที่ในเขตแดนของเขา และมีอธิปไตยเหนือผู้อยู่อาศัยในเขตนั้น อย่างไรก็ตาม{{TextTerm|สมาพันธ์|4|305|IndexEntry=สมาพันธ์}}ของ{{TextTerm|สมาพันธรัฐ|4|305|2|IndexEntry=สมาพันธรัฐ}}บางแห่งก็แบ่งออกเป็นหน่วยเล็กๆ ซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|รัฐ|5|305|IndexEntry=รัฐ}}เช่นกัน และอธิปไตยของรัฐในสมาพันธรัฐก็ไม่เด็ดขาดสมบูรณ์ (ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย) ศัพท์คำว่า{{TextTerm|เขตแดน|6|305}} ({{RefNumber|30|1|2}}) โดยทั่วไปใช้สำหรับพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ แต่บางครั้งก็ถูกใช้เพื่อหมายถึงหน่วยทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ บางครั้งมีการแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|เขตแดนปกครองตนเอง|7|305|IndexEntry=เขตแดนปกครองตนเอง}}กับ{{TextTerm|เขตแดนที่ไม่ปกครองตนเอง|8|305|IndexEntry=เขตแดนที่ไม่ปกครองตนเอง}}
  
 
=== 306 ===
 
=== 306 ===
  
 
ภายใน{{NonRefTerm|เขตแดน}} ({{RefNumber|30|1|2}}) หนึ่ง มีศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบาย{{TextTerm|การรวมกลุ่มที่อยู่อาศัย|1|306|IndexEntry=การรวมกลุ่มที่อยู่อาศัย}} หรือ{{TextTerm|การรวมตัว|1|306|2|IndexEntry=การรวมตัว}}ของประชากรชนิดต่างๆ บางครั้งรู้จักกันว่าเป็น{{TextTerm|การรวมตัวของประชากร|1|306|3}} {{TextTerm|กลุ่มประชากร|1|306|4}} หรือกล่าวทั่วๆ ไปว่าเป็น{{TextTerm|ถิ่นที่อยู่|1|306|5|IndexEntry=ถิ่นที่อยู่}} ในพื้นที่ชนบท หน่วยย่อยที่สุดได้แก่ {{TextTerm|คุ้มบ้าน|2|306}}ซึ่งโดยทั่วไปประกอบด้วยกลุ่มเล็กๆ ของบ้าน การรวมกลุ่มของที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีกได้แก่{{TextTerm|หมู่บ้าน|3|306}} ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชุมชนขนาดเล็กและประชากรที่อยู่ในชุมชนทำการเกษตรเป็นหลัก {{TextTerm|เมือง|4|306}} หรือ{{TextTerm|นคร|4|306|2}}เป็นกลุ่มที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีก ซึ่งโดยทั่วไปมีผู้คนไม่มากนักที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่จุดที่จะเปลี่ยนจากการเรียกหมู่บ้าน หรือเมือง หรือนครนั้น ยังยากที่จะระบุไว้ให้ชัดเจน และจะผันแปรแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ที่ตั้งของรัฐบาลของ{{NonRefTerm|เขตแดน}}หนึ่ง (ในความหมายของ{{RefNumber|30|5|1}}) เรียกว่าเป็น{{TextTerm|เมืองหลวง|5|306}} ในเคาน์ตี้ที่เป็นสถานที่ซึ่งสำนักงานบริหารการปกครองท้องถิ่นตั้งอยู่เรียกว่า{{TextTerm|เคาน์ตี้ทาวน์|6|306}} หรือ{{TextTerm|เคาน์ตี้ซีท|6|306|2}} เมืองและนครอาจแบ่งย่อยต่อไปอีกเป็น{{TextTerm|อำเภอ|7|306|IndexEntry=อำเภอ}} หรือ{{TextTerm|ควอเตอร์|7|306|2|IndexEntry=ควอเตอร์}} และแบ่งเพื่อวัตถุประสงค์ในการเลือกตั้งเป็น{{TextTerm|วอร์ด|7|306|3|IndexEntry=วอร์ด}}
 
ภายใน{{NonRefTerm|เขตแดน}} ({{RefNumber|30|1|2}}) หนึ่ง มีศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบาย{{TextTerm|การรวมกลุ่มที่อยู่อาศัย|1|306|IndexEntry=การรวมกลุ่มที่อยู่อาศัย}} หรือ{{TextTerm|การรวมตัว|1|306|2|IndexEntry=การรวมตัว}}ของประชากรชนิดต่างๆ บางครั้งรู้จักกันว่าเป็น{{TextTerm|การรวมตัวของประชากร|1|306|3}} {{TextTerm|กลุ่มประชากร|1|306|4}} หรือกล่าวทั่วๆ ไปว่าเป็น{{TextTerm|ถิ่นที่อยู่|1|306|5|IndexEntry=ถิ่นที่อยู่}} ในพื้นที่ชนบท หน่วยย่อยที่สุดได้แก่ {{TextTerm|คุ้มบ้าน|2|306}}ซึ่งโดยทั่วไปประกอบด้วยกลุ่มเล็กๆ ของบ้าน การรวมกลุ่มของที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีกได้แก่{{TextTerm|หมู่บ้าน|3|306}} ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชุมชนขนาดเล็กและประชากรที่อยู่ในชุมชนทำการเกษตรเป็นหลัก {{TextTerm|เมือง|4|306}} หรือ{{TextTerm|นคร|4|306|2}}เป็นกลุ่มที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีก ซึ่งโดยทั่วไปมีผู้คนไม่มากนักที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่จุดที่จะเปลี่ยนจากการเรียกหมู่บ้าน หรือเมือง หรือนครนั้น ยังยากที่จะระบุไว้ให้ชัดเจน และจะผันแปรแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ที่ตั้งของรัฐบาลของ{{NonRefTerm|เขตแดน}}หนึ่ง (ในความหมายของ{{RefNumber|30|5|1}}) เรียกว่าเป็น{{TextTerm|เมืองหลวง|5|306}} ในเคาน์ตี้ที่เป็นสถานที่ซึ่งสำนักงานบริหารการปกครองท้องถิ่นตั้งอยู่เรียกว่า{{TextTerm|เคาน์ตี้ทาวน์|6|306}} หรือ{{TextTerm|เคาน์ตี้ซีท|6|306|2}} เมืองและนครอาจแบ่งย่อยต่อไปอีกเป็น{{TextTerm|อำเภอ|7|306|IndexEntry=อำเภอ}} หรือ{{TextTerm|ควอเตอร์|7|306|2|IndexEntry=ควอเตอร์}} และแบ่งเพื่อวัตถุประสงค์ในการเลือกตั้งเป็น{{TextTerm|วอร์ด|7|306|3|IndexEntry=วอร์ด}}
{{Note|1| The term {{NoteTerm|agglomeration}} is also used in this sense. See however {{RefNumber|30|7|1}}. }}
+
{{Note|1| ศัพท์คำว่า{{NoteTerm|กลุ่มเมือง}}ก็มีการนำมาใช้ในความหมายนี้ อย่างไรก็ตาม ดู {{RefNumber|30|7|1}} }}
{{Note|4| A very large town or city is sometimes called a {{NoteTerm|metropolis}}, n. -{{NoteTerm|Metropolitan}}, adj. {{NoteTerm|Town}}, n. - {{NoteTerm|urban}}, adj.}}
+
{{Note|4| เมืองใหญ่มากๆ บางทีเรียกก็เรียกว่า{{NoteTerm|มหานคร}} }}
  
 
=== 307 ===
 
=== 307 ===
  
พื้นที่เมืองที่ติดต่อเนื่องกันไปเกิดขึ้นโดยการเชื่อมต่อกันของถิ่นที่อยู่หลายๆ แห่ง ในขณะที่แต่ละแห่งยังคงความอิสระในการบริหารงานของตนเองอาจเรียกว่าเป็น{{TextTerm|กลุ่มเมือง|1|307}} ซึ่งประกอบด้วย{{TextTerm|นครศูนย์กลาง|2|307}}และ{{TextTerm|ชานเมือง|3|307|IndexEntry=ชานเมือง}}ที่มีหน้าที่พิเศษ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|เมืองรวม|4|307}} หรือ{{TextTerm|เขตมหานคร|4|307|2|OtherIndexEntry=มหานคร, เขต}}ใช้เพื่อแสดงถึงกลุ่มเมืองต่างกันจำนวนหนึ่งเชื่อมต่อกันทางสภาพภูมิศาสตร์ และคงไว้ซึ่งอำนาจในการบริหารของกลุ่มเมืองแต่ละแห่ง อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่าเมืองรวมมักใช้ในความหมายเดียวกันกับกลุ่มเมือง การผสมผสานกันของเมืองรวมและนครใหญ่นำไปสู่คำว่า{{TextTerm|อภิมหานคร|5|307}} หรือ{{TextTerm|แนวเขตมหานคร|5|307|2}}ซึ่งอาจขยายออกไปครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางมาก
+
พื้นที่เมืองที่ติดต่อเนื่องกันไปเกิดขึ้นโดยการเชื่อมต่อกันของถิ่นที่อยู่หลายๆ แห่ง ในขณะที่แต่ละแห่งยังคงความอิสระในการบริหารงานของตนเองอาจเรียกว่าเป็น{{TextTerm|กลุ่มเมือง|1|307}} ซึ่งประกอบด้วย{{TextTerm|นครศูนย์กลาง|2|307}}และ{{TextTerm|ชานเมือง|3|307|IndexEntry=ชานเมือง}}ที่มีหน้าที่พิเศษ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|เมืองรวม|4|307}} หรือ{{TextTerm|เขตมหานคร|4|307|2}}ใช้เพื่อแสดงถึงกลุ่มเมืองต่างกันจำนวนหนึ่งเชื่อมต่อกันทางสภาพภูมิศาสตร์ และคงไว้ซึ่งอำนาจในการบริหารของกลุ่มเมืองแต่ละแห่ง อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่าเมืองรวมมักใช้ในความหมายเดียวกันกับกลุ่มเมือง การผสมผสานกันของเมืองรวมและนครใหญ่นำไปสู่คำว่า{{TextTerm|อภิมหานคร|5|307}} หรือ{{TextTerm|แนวเขตมหานคร|5|307|2}}ซึ่งอาจขยายออกไปครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางมาก {{TextTerm|ภาคมหานคร|6|307|IndexEntry=ภาคมหานคร}} (metropolitan regions) อาจหมายถึงกลุ่มเมืองที่รวมแนวเขตเดินทางไปกลับ (commuter belt)
{{Note|2| Another term used as synonym is {{NoteTerm|urban nucleus}}.}}
+
{{Note|2| ศัพท์คำอื่นที่ใช้ได้แก่{{NoteTerm|แกนเมือง}}}}
{{Note|3| Other terms used as frequent synonyms are {{NoteTerm|satellite communities}} and {{NoteTerm|suburban zone}}.<br />{{NoteTerm|Suburb}}, n. - {{NoteTerm|suburban}}, adj. - {{NoteTerm|suburbanization}}, n.: the process of rapid population growth in the suburban zones adjacent to a large city. Densely populated areas contiguous to large cities are occasionally referred to as the {{NoteTerm|urban fringe}}, and the zone marking the transition between urban and rural settlement, as the {{NoteTerm|rural-urban fringe}} or {{NoteTerm|exurbia}}.}}
+
{{Note|3| ศัพท์คำอื่นที่มีความหมายเหมือนกันได้แก่{{NoteTerm|ชุมชนบริวาร}} และ{{NoteTerm|เขตชานเมือง}}<br />{{NoteTerm|การขยายเขตชานเมือง}} กระบวนการของการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วในเขตชานเมืองที่ติดต่อกับเมืองใหญ่ พื้นที่ที่มีความหนาแน่นประชากรสูงติดต่อกับเมืองบางครั้งเรียกว่า{{NoteTerm|ขอบเมือง}}และเขตที่เป็นรอยต่อระหว่างพื้นที่เมืองและชนบทจะเรียกว่า{{NoteTerm|เขตรอยต่อเมืองชนบท}} หรือ {{NoteTerm|exurbia}}}}
{{Note|4| Urban populations are often regrouped in {{NoteTerm|statistical}} areas such as the {{NoteTerm|standard metropolitan statistical area}} (United States), the {{NoteTerm|densely inhabited district}} (Japan) or the {{NoteTerm|conurbation}} (England).}}
+
{{Note|4| ประชากรเมืองมักถูกจัดกลุ่มใหม่ในพื้นที่{{NoteTerm|เชิงสถิติ}} อย่างเช่น{{NoteTerm|พื้นที่สถิติมหานครมาตรฐาน}} (สหรัฐฯ) {{NoteTerm|เขตอำเภอที่มีคนอยู่หนาแน่น}} (ญี่ปุ่น) หรือ {{NoteTerm|เขตเมืองขยาย (conurbation)}} (อังกฤษ)}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 06:28, 18 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


301

สถิติประชากรโดยทั่วไปนำเสนอในความหมายของ การกระจายตัวเชิงภูมิศาสตร์ของประชากร1 หรือ การกระจายตัวเชิงพื้นที่ของประชากร1 และนำเสนอโดยโครงสร้าง (144-4) ประชากรแต่ละกลุ่มที่อาศัยอยู่ใน พื้นที่2 หรือ เขตแดน2หนึ่ง และการศึกษา การกระจายตัวเชิงภูมิศาสตร์3 หรือ การกระจายตัวเชิงพื้นที่3จะเกี่ยวกับทิศทางที่ประชากรกระจายตัวไปทั่วเขตแดนนั้น

302

เขตแดน (301-2) ซึ่งประชากรอาศัยอยู่โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น พื้นที่ย่อย1 สำหรับวัตถุประสงค์ในการบริหาร เขตแดนอาจแบ่งเป็น พื้นที่ทางการปกครอง2 หน่วยการปกครอง2หรือ เขตพื้นที่ทางการปกครอง2 บางครั้งรู้จักกันในฐานะ พื้นที่ทางกฎหมาย2 หรือ พื้นที่ทางการเมือง2 ในอีกด้านหนึ่ง นักภูมิศาสตร์อาจแบ่งพื้นที่ออกเป็น ภาค3 หรือ เขต4 ซึ่งอาจจะหรืออาจไม่สอดคล้องตรงกันกับหน่วยการปกครองก็ได้ ศัพท์คำว่า "ภาค" หรือ "เขต" อาจใช้ในความหมายต่างๆ กัน และพื้นที่ก็อาจหมายถึงขนาดที่แตกต่างกันมากๆ ฉะนั้นจะมีคนพูดถึงภาคขั้วโลก เขตภูมิอากาศ หรือภาคมหานคร ศัพท์คำว่า ภาคธรรมชาติ5 และ ภาคเศรษฐกิจ6 ใช้โดยนักภูมิศาสตร์ คำว่า พื้นที่ธรรมชาติ7ใช้ในวิชานิเวศวิทยามนุษย์ (104-5) เพื่อนิยามพื้นที่ที่ประชากรที่มีลักษณะเด่นชัดครอบครองอาศัยอยู่

303

หน่วยการปกครองของประเทศต่างๆ แตกต่างกัน และของประเทศเดียวกันก็แตกต่างกันเมื่อเวลาเปลี่ยนไป จนกระทั่งคำเดียวกันอาจครอบคลุมสถานการณ์ที่ต่างกัน เขตการปกครองเล็กๆ รวมถึง เมือง1 และ ตำบล1 เขตการปกครองใหญ่ๆ ใช้ชื่ออย่างอื่นเช่น มลรัฐ2 หรือ จังหวัด2 และหน่วยการปกครองขนาดกลางๆ มักเรียกว่า เคาน์ตี้5 และ อำเภอ6 ตัวอย่างเช่นในประเทศแคนาดา เขตการปกครองหลักที่เรียงลำดับจากเล็กไปหาใหญ่ ได้แก่ เมือง8 เคาน์ตี้9 และ จังหวัด10 เช่นเดียวกับตัวอย่างอื่น การแบ่งส่วนการปกครองหลักของประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบันแบ่งเป็น ภาค2ซึ่งเท่ากับจังหวัด และ เดพาร์กเตอมองต์3 (département) ซึ่งเท่ากับ แคนตัน4ในสวิสเซอร์แลนด้ ในขณะที่ อำเภอ7 และ วงเขต11เป็นหน่วยการปกครองรอง ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตำบล (parish) มีความเทียบเท่ากับเคาน์ตี้

  • 1. หมู่บ้าน ตำบล และเมือง เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองขนาดเล็ก เทศบาลเป็นศัพท์เรียกหน่วยการปกครองท้องถิ่น มีขนาดตั้งแต่เล็กไปหาใหญ่ คือเทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร และประเทศไทยยังมีเขตการปกครองพิเศษนอกเหนือไปจากเทศบาล คือ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา

304

ประชากรอาจ ตั้งถิ่นฐาน1 อยู่ประจำ1 หรือ เคลื่อนย้ายไปเรื่อยๆ 2 ได้แก่การย้ายถ่ินกลับไปมาภายในพื้นที่หนึ่งและไม่มีที่พักอาศัยประจำ พวกที่เคลื่อนย้ายไปเรื่อยๆ ที่อยู่ในกระบวนการตั้งถิ่นฐานเรียกว่า กึ่งเคลื่อนย้าย3 บางครั้งคนพื้นเมืองอาจมีเขตแดนที่จัดไว้ให้เป็นพิเศษเรียกว่า เขตสงวนสำหรับคนพื้นเมือง4 หรือ เขตสงวน4

305

ปรกติ ประเทศ1เป็นเขตแดน (301-2) ของ พลเมือง2 (cf. 333-3) หรือของ ชาติ2 โดยทั่วไปบุคคลที่สังกัดชาติหนึ่งจะมีวัฒนธรรมที่เหมือนกัน รัฐ3เป็นที่รวมทางการเมืองของกลุ่มประชากร คำนี้อาจใช้ในสองความหมายต่างกัน ความหมายแรกที่เข้าใจกันมากที่สุด รัฐคือกลุ่มประชากรที่มีอธิปไตยเต็มที่ในเขตแดนของเขา และมีอธิปไตยเหนือผู้อยู่อาศัยในเขตนั้น อย่างไรก็ตาม สมาพันธ์4ของ สมาพันธรัฐ4บางแห่งก็แบ่งออกเป็นหน่วยเล็กๆ ซึ่งเรียกว่า รัฐ5เช่นกัน และอธิปไตยของรัฐในสมาพันธรัฐก็ไม่เด็ดขาดสมบูรณ์ (ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย) ศัพท์คำว่า เขตแดน6 (301-2) โดยทั่วไปใช้สำหรับพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ แต่บางครั้งก็ถูกใช้เพื่อหมายถึงหน่วยทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ บางครั้งมีการแยกความแตกต่างระหว่าง เขตแดนปกครองตนเอง7กับ เขตแดนที่ไม่ปกครองตนเอง8

306

ภายในเขตแดน (301-2) หนึ่ง มีศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบาย การรวมกลุ่มที่อยู่อาศัย1 หรือ การรวมตัว1ของประชากรชนิดต่างๆ บางครั้งรู้จักกันว่าเป็น การรวมตัวของประชากร1 กลุ่มประชากร1 หรือกล่าวทั่วๆ ไปว่าเป็น ถิ่นที่อยู่1 ในพื้นที่ชนบท หน่วยย่อยที่สุดได้แก่ คุ้มบ้าน2ซึ่งโดยทั่วไปประกอบด้วยกลุ่มเล็กๆ ของบ้าน การรวมกลุ่มของที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีกได้แก่ หมู่บ้าน3 ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชุมชนขนาดเล็กและประชากรที่อยู่ในชุมชนทำการเกษตรเป็นหลัก เมือง4 หรือ นคร4เป็นกลุ่มที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีก ซึ่งโดยทั่วไปมีผู้คนไม่มากนักที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่จุดที่จะเปลี่ยนจากการเรียกหมู่บ้าน หรือเมือง หรือนครนั้น ยังยากที่จะระบุไว้ให้ชัดเจน และจะผันแปรแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ที่ตั้งของรัฐบาลของเขตแดนหนึ่ง (ในความหมายของ305-1) เรียกว่าเป็น เมืองหลวง5 ในเคาน์ตี้ที่เป็นสถานที่ซึ่งสำนักงานบริหารการปกครองท้องถิ่นตั้งอยู่เรียกว่า เคาน์ตี้ทาวน์6 หรือ เคาน์ตี้ซีท6 เมืองและนครอาจแบ่งย่อยต่อไปอีกเป็น อำเภอ7 หรือ ควอเตอร์7 และแบ่งเพื่อวัตถุประสงค์ในการเลือกตั้งเป็น วอร์ด7

  • 1. ศัพท์คำว่ากลุ่มเมืองก็มีการนำมาใช้ในความหมายนี้ อย่างไรก็ตาม ดู 307-1
  • 4. เมืองใหญ่มากๆ บางทีเรียกก็เรียกว่ามหานคร

307

พื้นที่เมืองที่ติดต่อเนื่องกันไปเกิดขึ้นโดยการเชื่อมต่อกันของถิ่นที่อยู่หลายๆ แห่ง ในขณะที่แต่ละแห่งยังคงความอิสระในการบริหารงานของตนเองอาจเรียกว่าเป็น กลุ่มเมือง1 ซึ่งประกอบด้วย นครศูนย์กลาง2และ ชานเมือง3ที่มีหน้าที่พิเศษ ศัพท์คำว่า เมืองรวม4 หรือ เขตมหานคร4ใช้เพื่อแสดงถึงกลุ่มเมืองต่างกันจำนวนหนึ่งเชื่อมต่อกันทางสภาพภูมิศาสตร์ และคงไว้ซึ่งอำนาจในการบริหารของกลุ่มเมืองแต่ละแห่ง อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่าเมืองรวมมักใช้ในความหมายเดียวกันกับกลุ่มเมือง การผสมผสานกันของเมืองรวมและนครใหญ่นำไปสู่คำว่า อภิมหานคร5 หรือ แนวเขตมหานคร5ซึ่งอาจขยายออกไปครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางมาก ภาคมหานคร6 (metropolitan regions) อาจหมายถึงกลุ่มเมืองที่รวมแนวเขตเดินทางไปกลับ (commuter belt)

  • 2. ศัพท์คำอื่นที่ใช้ได้แก่แกนเมือง
  • 3. ศัพท์คำอื่นที่มีความหมายเหมือนกันได้แก่ชุมชนบริวาร และเขตชานเมือง
    การขยายเขตชานเมือง กระบวนการของการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วในเขตชานเมืองที่ติดต่อกับเมืองใหญ่ พื้นที่ที่มีความหนาแน่นประชากรสูงติดต่อกับเมืองบางครั้งเรียกว่าขอบเมืองและเขตที่เป็นรอยต่อระหว่างพื้นที่เมืองและชนบทจะเรียกว่าเขตรอยต่อเมืองชนบท หรือ exurbia
  • 4. ประชากรเมืองมักถูกจัดกลุ่มใหม่ในพื้นที่เชิงสถิติ อย่างเช่นพื้นที่สถิติมหานครมาตรฐาน (สหรัฐฯ) เขตอำเภอที่มีคนอยู่หนาแน่น (ญี่ปุ่น) หรือ เขตเมืองขยาย (conurbation) (อังกฤษ)

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=30&oldid=771"