The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "30"

จาก Demopædia
(303)
(303)
 
(ไม่แสดง 14 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 301 ===
 
=== 301 ===
  
สถิติประชากรโดยทั่วไปนำเสนอในความหมายของ{{TextTerm|การกระจายตัวเชิงภูมิศาสตร์ของประชากร|1|301}} หรือ{{TextTerm|การกระจายตัวเชิงพื้นที่ของประชากร|1|301|2}} และนำเสนอโดย{{NonRefTerm|โครงสร้าง}} ({{RefNumber|14|4|4}}) ประชากรแต่ละกลุ่มอาศัยอยู่ใน{{TextTerm|พื้นที่|2|301}} หรือ{{TextTerm|เขตแดน|2|301|2}} ({{RefNumber|30|5|6}})หนึ่ง และการศึกษา{{TextTerm|การกระจายตัวเชิงภูมิศาสตร์|3|301}} หรือ{{TextTerm|การกระจายตัวเชิงพื้นที่|3|301|2}}จะเกี่ยวกับทางที่ประชากรกระจายตัวไปทั่วเขตแดนนั้น
+
สถิติประชากรโดยทั่วไปนำเสนอในความหมายของ{{TextTerm|การกระจายตัวเชิงภูมิศาสตร์ของประชากร|1|301}} หรือ{{TextTerm|การกระจายตัวเชิงพื้นที่ของประชากร|1|301|2}} และนำเสนอโดย{{NonRefTerm|โครงสร้าง}} ({{RefNumber|14|4|4}}) ประชากรแต่ละกลุ่มที่อาศัยอยู่ใน{{TextTerm|พื้นที่|2|301}} หรือ{{TextTerm|เขตแดน|2|301|2}}หนึ่ง และการศึกษา{{TextTerm|การกระจายตัวเชิงภูมิศาสตร์|3|301}} หรือ{{TextTerm|การกระจายตัวเชิงพื้นที่|3|301|2}}จะเกี่ยวกับทิศทางที่ประชากรกระจายตัวไปทั่วเขตแดนนั้น
  
 
=== 302 ===
 
=== 302 ===
แถว 17: แถว 17:
 
=== 303 ===
 
=== 303 ===
  
หน่วยการปกครองของประเทศต่างๆ แตกต่างกัน และของประเทศเดียวกันก็แตกต่างกันเมื่อเวลาเปลี่ยนไป จนกระทั่งคำเดียวกันอาจครอบคลุมสถานการณ์ที่ต่างกัน เขตการปกครองเล็กๆ รวมถึง{{TextTerm|เมือง|1|303|IndexEntry=เมือง}} และ{{TextTerm|ตำบล|1|303|2|IndexEntry=ตำบล}} เชตการปกครองใหญ่ๆ ใช้ชื่ออย่างอื่นเช่น{{TextTerm|มลรัฐ|2|303|IndexEntry=มลรัฐ}} หรือ{{TextTerm|จังหวัด|2|303|2|IndexEntry=จังหวัด}} และหน่วยการปกครองขนาดกลางๆ มักเรียกว่า{{TextTerm|เคาน์ตี้|5|303|IndexEntry=เคาน์ตี้}} และ{{TextTerm|อำเภอ|6|303|IndexEntry=อำเภอ}} ตัวอย่างเช่นในประเทศแคนาดา เขตการปกครองหลักที่เรียงลำดับจากเล็กไปหาใหญ่ ได้แก่ {{NonRefTerm|เมือง}} ({{RefNumber|30|3|1}}) {{NonRefTerm|เคาน์ตี้}} ({{RefNumber|30|3|5}}) และ{{NonRefTerm|จังหวัด}} ({{RefNumber|30|3|2}})
+
หน่วยการปกครองของประเทศต่างๆ แตกต่างกัน และของประเทศเดียวกันก็แตกต่างกันเมื่อเวลาเปลี่ยนไป จนกระทั่งคำเดียวกันอาจครอบคลุมสถานการณ์ที่ต่างกัน เขตการปกครองเล็กๆ รวมถึง{{TextTerm|เมือง|1|303|IndexEntry=เมือง}} และ{{TextTerm|ตำบล|1|303|2|IndexEntry=ตำบล}} เขตการปกครองใหญ่ๆ ใช้ชื่ออย่างอื่นเช่น{{TextTerm|มลรัฐ|2|303|IndexEntry=มลรัฐ}} หรือ{{TextTerm|จังหวัด|2|303|2|IndexEntry=จังหวัด}} และหน่วยการปกครองขนาดกลางๆ มักเรียกว่า{{TextTerm|เคาน์ตี้|5|303|IndexEntry=เคาน์ตี้}} และ{{TextTerm|อำเภอ|6|303|IndexEntry=อำเภอ}} ตัวอย่างเช่นในประเทศแคนาดา เขตการปกครองหลักที่เรียงลำดับจากเล็กไปหาใหญ่ ได้แก่ {{TextTerm|เมือง|8|303}} {{TextTerm|เคาน์ตี้|9|303}} และ{{TextTerm|จังหวัด|10|303}} เช่นเดียวกับตัวอย่างอื่น การแบ่งส่วนการปกครองหลักของประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบันแบ่งเป็น{{TextTerm|ภาค|2|303|3}}ซึ่งเท่ากับจังหวัด และ{{TextTerm|เดพาร์กเตอมองต์|3|303}} (département) ซึ่งเท่ากับ{{TextTerm|แคนตัน|4|303}}ในสวิสเซอร์แลนด้ ในขณะที่{{TextTerm|อำเภอ|7|303}} และ{{TextTerm|วงเขต|11|303}}เป็นหน่วยการปกครองรอง ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตำบล (parish) มีความเทียบเท่ากับเคาน์ตี้
{{Note|1| {{NoteTerm|Villages}}, {{NoteTerm|boroughs}} and {{NoteTerm|cities}} are other names sometimes given to the smaller administrative units. {{NoteTerm|Municipality}} is a general descriptive term for minor civil division. In the United States, parishes are equivalent to counties. }}
+
{{Note|1| {{NoteTerm|หมู่บ้าน}} {{NoteTerm|ตำบล}} และ{{NoteTerm|เมือง}} เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองขนาดเล็ก  {{NoteTerm|เทศบาล}}เป็นศัพท์เรียกหน่วยการปกครองท้องถิ่น มีขนาดตั้งแต่เล็กไปหาใหญ่ คือเทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร และประเทศไทยยังมีเขตการปกครองพิเศษนอกเหนือไปจากเทศบาล คือ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา }}
  
 
=== 304 ===
 
=== 304 ===
  
A population may be {{TextTerm|settled|1|304}}, {{TextTerm|sedentary|1|304|2}}, or {{TextTerm|nomadic|2|304}}, i.e., migrating back and forth within a given area and without fixed abode. Nomads who are in the process of becoming settled are called {{TextTerm|semi-nomadic|3|304}}. Occasionally primitive peoples may have a territory allocated exclusively to themselves called a {{TextTerm|native reserve|4|304|OtherIndexEntry=reserve, native}} or {{TextTerm|reservation|4|304|2}}.
+
ประชากรอาจ{{TextTerm|ตั้งถิ่นฐาน|1|304}} {{TextTerm|อยู่ประจำ|1|304|2}} หรือ{{TextTerm|เคลื่อนย้ายไปเรื่อยๆ |2|304}} ได้แก่การย้ายถ่ินกลับไปมาภายในพื้นที่หนึ่งและไม่มีที่พักอาศัยประจำ พวกที่เคลื่อนย้ายไปเรื่อยๆ ที่อยู่ในกระบวนการตั้งถิ่นฐานเรียกว่า{{TextTerm|กึ่งเคลื่อนย้าย|3|304}} บางครั้งคนพื้นเมืองอาจมีเขตแดนที่จัดไว้ให้เป็นพิเศษเรียกว่า{{TextTerm|เขตสงวนสำหรับคนพื้นเมือง|4|304}} หรือ{{TextTerm|เขตสงวน|4|304|2}}
{{Note|2| {{NoteTerm|Nomadic}}, adj.- {{NoteTerm|nomad}}, n.}}
 
  
 
=== 305 ===
 
=== 305 ===
  
A {{TextTerm|country|1|305}} is usually the territory ({{RefNumber|30|1|2}}) of a {{TextTerm|people|2|305}} (cf. {{RefNumber|33|3|3}}) or a {{TextTerm|nation|2|305|2}}. Persons belonging to a nation share, in general, a common culture. A {{TextTerm|state|3|305}} is a political body. The term may be used in two different senses: most commonly a state is a body possessing full sovereignty in its territory and over its inhabitants. However, a number of {{TextTerm|federations|4|305|IndexEntry=federation}} of {{TextTerm|federal states|4|305|2|IndexEntry=federal state|OtherIndexEntry=state, federal}} are divided into smaller units which are also called {{TextTerm|states|5|305|IndexEntry=state}} and whose sovereignty is not absolute (e.g. in the United States of America and Australia). The term {{TextTerm|territory|6|305}} ({{RefNumber|30|1|2}}) is generally used for a geographical area, but it is occasionally used to denote a political unit which has been settled relatively recently. A distinction is sometimes made between {{TextTerm|self-governing territories|7|305|IndexEntry=self-governing territory|OtherIndexEntry=territory, self-governing}} and {{TextTerm|non-self-governing territories|8|305|IndexEntry=non-self-governing territory|OtherIndexEntry=territory, non-self-governing}}.
+
ปรกติ{{TextTerm|ประเทศ|1|305}}เป็น{{NonRefTerm|เขตแดน}} ({{RefNumber|30|1|2}}) ของ{{TextTerm|พลเมือง|2|305}} (cf. {{RefNumber|33|3|3}}) หรือของ{{TextTerm|ชาติ|2|305|2}} โดยทั่วไปบุคคลที่สังกัดชาติหนึ่งจะมีวัฒนธรรมที่เหมือนกัน {{TextTerm|รัฐ|3|305}}เป็นที่รวมทางการเมืองของกลุ่มประชากร คำนี้อาจใช้ในสองความหมายต่างกัน ความหมายแรกที่เข้าใจกันมากที่สุด รัฐคือกลุ่มประชากรที่มีอธิปไตยเต็มที่ในเขตแดนของเขา และมีอธิปไตยเหนือผู้อยู่อาศัยในเขตนั้น อย่างไรก็ตาม{{TextTerm|สมาพันธ์|4|305|IndexEntry=สมาพันธ์}}ของ{{TextTerm|สมาพันธรัฐ|4|305|2|IndexEntry=สมาพันธรัฐ}}บางแห่งก็แบ่งออกเป็นหน่วยเล็กๆ ซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|รัฐ|5|305|IndexEntry=รัฐ}}เช่นกัน และอธิปไตยของรัฐในสมาพันธรัฐก็ไม่เด็ดขาดสมบูรณ์ (ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย) ศัพท์คำว่า{{TextTerm|เขตแดน|6|305}} ({{RefNumber|30|1|2}}) โดยทั่วไปใช้สำหรับพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ แต่บางครั้งก็ถูกใช้เพื่อหมายถึงหน่วยทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ บางครั้งมีการแยกความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|เขตแดนปกครองตนเอง|7|305|IndexEntry=เขตแดนปกครองตนเอง}}กับ{{TextTerm|เขตแดนที่ไม่ปกครองตนเอง|8|305|IndexEntry=เขตแดนที่ไม่ปกครองตนเอง}}
{{Note|2| {{NoteTerm|Nation}}, n. - {{NoteTerm|national}}, adj.}}
 
  
 
=== 306 ===
 
=== 306 ===
  
Within a {{NonRefTerm|territory}} ({{RefNumber|30|1|2}}), certain terms are used to describe different kinds of {{TextTerm|conglomerations|1|306|IndexEntry=conglomeration}} or {{TextTerm|aggregations|1|306|2|IndexEntry=aggregation|OtherIndexEntry=population aggregate}} of population, sometimes known as {{TextTerm|population aggregates|1|306|3|IndexEntry=population cluster|OtherIndexEntry=cluster, population}}, {{TextTerm|population clusters|1|306|4|IndexEntry=aggregate, population}} or more generally as {{TextTerm|localities|1|306|5|IndexEntry=locality}}. In rural areas, the smallest unit is referred to as a {{TextTerm|hamlet|2|306}}, which generally consists of a very small collection of houses. A slightly larger conglomeration is the {{TextTerm|village|3|306}} which is generally a small community and which may have a mainly agricultural population. A {{TextTerm|town|4|306}} or {{TextTerm|city|4|306|2}} is a larger conglomeration in which there are in general few people engaged in agriculture, but the point at which the transition from village to town or city occurs is difficult to specify and varies in different countries. The seat of government of a {{NonRefTerm|territory}} (in the sense of {{RefNumber|30|5|1}}), is called its {{TextTerm|capital|5|306}}. In a county, the place where the local government is situated is called the {{TextTerm|county town|6|306|IndexEntry=county seat|OtherIndexEntry=seat, county}} or {{TextTerm|county seat|6|306|2|IndexEntry=total county}}. Towns and cities may be further divided into {{TextTerm|districts|7|306|IndexEntry=district}} or {{TextTerm|quarters|7|306|2|IndexEntry=quarter}} and for electoral purposes into {{TextTerm|wards|7|306|3|IndexEntry=ward n}}.
+
ภายใน{{NonRefTerm|เขตแดน}} ({{RefNumber|30|1|2}}) หนึ่ง มีศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบาย{{TextTerm|การรวมกลุ่มที่อยู่อาศัย|1|306|IndexEntry=การรวมกลุ่มที่อยู่อาศัย}} หรือ{{TextTerm|การรวมตัว|1|306|2|IndexEntry=การรวมตัว}}ของประชากรชนิดต่างๆ บางครั้งรู้จักกันว่าเป็น{{TextTerm|การรวมตัวของประชากร|1|306|3}} {{TextTerm|กลุ่มประชากร|1|306|4}} หรือกล่าวทั่วๆ ไปว่าเป็น{{TextTerm|ถิ่นที่อยู่|1|306|5|IndexEntry=ถิ่นที่อยู่}} ในพื้นที่ชนบท หน่วยย่อยที่สุดได้แก่ {{TextTerm|คุ้มบ้าน|2|306}}ซึ่งโดยทั่วไปประกอบด้วยกลุ่มเล็กๆ ของบ้าน การรวมกลุ่มของที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีกได้แก่{{TextTerm|หมู่บ้าน|3|306}} ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชุมชนขนาดเล็กและประชากรที่อยู่ในชุมชนทำการเกษตรเป็นหลัก {{TextTerm|เมือง|4|306}} หรือ{{TextTerm|นคร|4|306|2}}เป็นกลุ่มที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีก ซึ่งโดยทั่วไปมีผู้คนไม่มากนักที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่จุดที่จะเปลี่ยนจากการเรียกหมู่บ้าน หรือเมือง หรือนครนั้น ยังยากที่จะระบุไว้ให้ชัดเจน และจะผันแปรแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ที่ตั้งของรัฐบาลของ{{NonRefTerm|เขตแดน}}หนึ่ง (ในความหมายของ{{RefNumber|30|5|1}}) เรียกว่าเป็น{{TextTerm|เมืองหลวง|5|306}} ในเคาน์ตี้ที่เป็นสถานที่ซึ่งสำนักงานบริหารการปกครองท้องถิ่นตั้งอยู่เรียกว่า{{TextTerm|เคาน์ตี้ทาวน์|6|306}} หรือ{{TextTerm|เคาน์ตี้ซีท|6|306|2}} เมืองและนครอาจแบ่งย่อยต่อไปอีกเป็น{{TextTerm|อำเภอ|7|306|IndexEntry=อำเภอ}} หรือ{{TextTerm|ควอเตอร์|7|306|2|IndexEntry=ควอเตอร์}} และแบ่งเพื่อวัตถุประสงค์ในการเลือกตั้งเป็น{{TextTerm|วอร์ด|7|306|3|IndexEntry=วอร์ด}}
{{Note|1| The term {{NoteTerm|agglomeration}} is also used in this sense. See however {{RefNumber|30|7|1}}. }}
+
{{Note|1| ศัพท์คำว่า{{NoteTerm|กลุ่มเมือง}}ก็มีการนำมาใช้ในความหมายนี้ อย่างไรก็ตาม ดู {{RefNumber|30|7|1}} }}
{{Note|4| A very large town or city is sometimes called a {{NoteTerm|metropolis}}, n. -{{NoteTerm|Metropolitan}}, adj. {{NoteTerm|Town}}, n. - {{NoteTerm|urban}}, adj.}}
+
{{Note|4| เมืองใหญ่มากๆ บางทีเรียกก็เรียกว่า{{NoteTerm|มหานคร}} }}
  
 
=== 307 ===
 
=== 307 ===
  
Continuously built-up areas may arise through the coalescence of neighboring localities which, while retaining their administrative independence, may constitute one {{TextTerm|agglomeration|1|307}}, containing a {{TextTerm|central city|2|307|OtherIndexEntry=city, central}} and {{TextTerm|suburbs|3|307|IndexEntry=suburb}} with specialized functions. The terms {{TextTerm|conurbation|4|307}} or {{TextTerm|metropolitan area|4|307|2|OtherIndexEntry=area, metropolitan}} are generally employed to designate a number of different agglomerations which, though geographically contiguous, have retained their own individuality. In many cases, however, the term conurbation is used as a synonym for agglomeration. The fusion of conurbations and large cities leads to the {{TextTerm|megalopolis|5|307}} or {{TextTerm|metropolitan belt|5|307|2|OtherIndexEntry=belt, metropolitan}} which may extend over a large area.
+
พื้นที่เมืองที่ติดต่อเนื่องกันไปเกิดขึ้นโดยการเชื่อมต่อกันของถิ่นที่อยู่หลายๆ แห่ง ในขณะที่แต่ละแห่งยังคงความอิสระในการบริหารงานของตนเองอาจเรียกว่าเป็น{{TextTerm|กลุ่มเมือง|1|307}} ซึ่งประกอบด้วย{{TextTerm|นครศูนย์กลาง|2|307}}และ{{TextTerm|ชานเมือง|3|307|IndexEntry=ชานเมือง}}ที่มีหน้าที่พิเศษ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|เมืองรวม|4|307}} หรือ{{TextTerm|เขตมหานคร|4|307|2}}ใช้เพื่อแสดงถึงกลุ่มเมืองต่างกันจำนวนหนึ่งเชื่อมต่อกันทางสภาพภูมิศาสตร์ และคงไว้ซึ่งอำนาจในการบริหารของกลุ่มเมืองแต่ละแห่ง อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่าเมืองรวมมักใช้ในความหมายเดียวกันกับกลุ่มเมือง การผสมผสานกันของเมืองรวมและนครใหญ่นำไปสู่คำว่า{{TextTerm|อภิมหานคร|5|307}} หรือ{{TextTerm|แนวเขตมหานคร|5|307|2}}ซึ่งอาจขยายออกไปครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางมาก {{TextTerm|ภาคมหานคร|6|307|IndexEntry=ภาคมหานคร}} (metropolitan regions) อาจหมายถึงกลุ่มเมืองที่รวมแนวเขตเดินทางไปกลับ (commuter belt)
{{Note|2| Another term used as synonym is {{NoteTerm|urban nucleus}}.}}
+
{{Note|2| ศัพท์คำอื่นที่ใช้ได้แก่{{NoteTerm|แกนเมือง}}}}
{{Note|3| Other terms used as frequent synonyms are {{NoteTerm|satellite communities}} and {{NoteTerm|suburban zone}}.<br />{{NoteTerm|Suburb}}, n. - {{NoteTerm|suburban}}, adj. - {{NoteTerm|suburbanization}}, n.: the process of rapid population growth in the suburban zones adjacent to a large city. Densely populated areas contiguous to large cities are occasionally referred to as the {{NoteTerm|urban fringe}}, and the zone marking the transition between urban and rural settlement, as the {{NoteTerm|rural-urban fringe}} or {{NoteTerm|exurbia}}.}}
+
{{Note|3| ศัพท์คำอื่นที่มีความหมายเหมือนกันได้แก่{{NoteTerm|ชุมชนบริวาร}} และ{{NoteTerm|เขตชานเมือง}}<br />{{NoteTerm|การขยายเขตชานเมือง}} กระบวนการของการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วในเขตชานเมืองที่ติดต่อกับเมืองใหญ่ พื้นที่ที่มีความหนาแน่นประชากรสูงติดต่อกับเมืองบางครั้งเรียกว่า{{NoteTerm|ขอบเมือง}}และเขตที่เป็นรอยต่อระหว่างพื้นที่เมืองและชนบทจะเรียกว่า{{NoteTerm|เขตรอยต่อเมืองชนบท}} หรือ {{NoteTerm|exurbia}}}}
{{Note|4| Urban populations are often regrouped in {{NoteTerm|statistical}} areas such as the {{NoteTerm|standard metropolitan statistical area}} (United States), the {{NoteTerm|densely inhabited district}} (Japan) or the {{NoteTerm|conurbation}} (England).}}
+
{{Note|4| ประชากรเมืองมักถูกจัดกลุ่มใหม่ในพื้นที่{{NoteTerm|เชิงสถิติ}} อย่างเช่น{{NoteTerm|พื้นที่สถิติมหานครมาตรฐาน}} (สหรัฐฯ) {{NoteTerm|เขตอำเภอที่มีคนอยู่หนาแน่น}} (ญี่ปุ่น) หรือ {{NoteTerm|เขตเมืองขยาย (conurbation)}} (อังกฤษ)}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 06:28, 18 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


301

สถิติประชากรโดยทั่วไปนำเสนอในความหมายของ การกระจายตัวเชิงภูมิศาสตร์ของประชากร1 หรือ การกระจายตัวเชิงพื้นที่ของประชากร1 และนำเสนอโดยโครงสร้าง (144-4) ประชากรแต่ละกลุ่มที่อาศัยอยู่ใน พื้นที่2 หรือ เขตแดน2หนึ่ง และการศึกษา การกระจายตัวเชิงภูมิศาสตร์3 หรือ การกระจายตัวเชิงพื้นที่3จะเกี่ยวกับทิศทางที่ประชากรกระจายตัวไปทั่วเขตแดนนั้น

302

เขตแดน (301-2) ซึ่งประชากรอาศัยอยู่โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น พื้นที่ย่อย1 สำหรับวัตถุประสงค์ในการบริหาร เขตแดนอาจแบ่งเป็น พื้นที่ทางการปกครอง2 หน่วยการปกครอง2หรือ เขตพื้นที่ทางการปกครอง2 บางครั้งรู้จักกันในฐานะ พื้นที่ทางกฎหมาย2 หรือ พื้นที่ทางการเมือง2 ในอีกด้านหนึ่ง นักภูมิศาสตร์อาจแบ่งพื้นที่ออกเป็น ภาค3 หรือ เขต4 ซึ่งอาจจะหรืออาจไม่สอดคล้องตรงกันกับหน่วยการปกครองก็ได้ ศัพท์คำว่า "ภาค" หรือ "เขต" อาจใช้ในความหมายต่างๆ กัน และพื้นที่ก็อาจหมายถึงขนาดที่แตกต่างกันมากๆ ฉะนั้นจะมีคนพูดถึงภาคขั้วโลก เขตภูมิอากาศ หรือภาคมหานคร ศัพท์คำว่า ภาคธรรมชาติ5 และ ภาคเศรษฐกิจ6 ใช้โดยนักภูมิศาสตร์ คำว่า พื้นที่ธรรมชาติ7ใช้ในวิชานิเวศวิทยามนุษย์ (104-5) เพื่อนิยามพื้นที่ที่ประชากรที่มีลักษณะเด่นชัดครอบครองอาศัยอยู่

303

หน่วยการปกครองของประเทศต่างๆ แตกต่างกัน และของประเทศเดียวกันก็แตกต่างกันเมื่อเวลาเปลี่ยนไป จนกระทั่งคำเดียวกันอาจครอบคลุมสถานการณ์ที่ต่างกัน เขตการปกครองเล็กๆ รวมถึง เมือง1 และ ตำบล1 เขตการปกครองใหญ่ๆ ใช้ชื่ออย่างอื่นเช่น มลรัฐ2 หรือ จังหวัด2 และหน่วยการปกครองขนาดกลางๆ มักเรียกว่า เคาน์ตี้5 และ อำเภอ6 ตัวอย่างเช่นในประเทศแคนาดา เขตการปกครองหลักที่เรียงลำดับจากเล็กไปหาใหญ่ ได้แก่ เมือง8 เคาน์ตี้9 และ จังหวัด10 เช่นเดียวกับตัวอย่างอื่น การแบ่งส่วนการปกครองหลักของประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบันแบ่งเป็น ภาค2ซึ่งเท่ากับจังหวัด และ เดพาร์กเตอมองต์3 (département) ซึ่งเท่ากับ แคนตัน4ในสวิสเซอร์แลนด้ ในขณะที่ อำเภอ7 และ วงเขต11เป็นหน่วยการปกครองรอง ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตำบล (parish) มีความเทียบเท่ากับเคาน์ตี้

  • 1. หมู่บ้าน ตำบล และเมือง เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองขนาดเล็ก เทศบาลเป็นศัพท์เรียกหน่วยการปกครองท้องถิ่น มีขนาดตั้งแต่เล็กไปหาใหญ่ คือเทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร และประเทศไทยยังมีเขตการปกครองพิเศษนอกเหนือไปจากเทศบาล คือ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา

304

ประชากรอาจ ตั้งถิ่นฐาน1 อยู่ประจำ1 หรือ เคลื่อนย้ายไปเรื่อยๆ 2 ได้แก่การย้ายถ่ินกลับไปมาภายในพื้นที่หนึ่งและไม่มีที่พักอาศัยประจำ พวกที่เคลื่อนย้ายไปเรื่อยๆ ที่อยู่ในกระบวนการตั้งถิ่นฐานเรียกว่า กึ่งเคลื่อนย้าย3 บางครั้งคนพื้นเมืองอาจมีเขตแดนที่จัดไว้ให้เป็นพิเศษเรียกว่า เขตสงวนสำหรับคนพื้นเมือง4 หรือ เขตสงวน4

305

ปรกติ ประเทศ1เป็นเขตแดน (301-2) ของ พลเมือง2 (cf. 333-3) หรือของ ชาติ2 โดยทั่วไปบุคคลที่สังกัดชาติหนึ่งจะมีวัฒนธรรมที่เหมือนกัน รัฐ3เป็นที่รวมทางการเมืองของกลุ่มประชากร คำนี้อาจใช้ในสองความหมายต่างกัน ความหมายแรกที่เข้าใจกันมากที่สุด รัฐคือกลุ่มประชากรที่มีอธิปไตยเต็มที่ในเขตแดนของเขา และมีอธิปไตยเหนือผู้อยู่อาศัยในเขตนั้น อย่างไรก็ตาม สมาพันธ์4ของ สมาพันธรัฐ4บางแห่งก็แบ่งออกเป็นหน่วยเล็กๆ ซึ่งเรียกว่า รัฐ5เช่นกัน และอธิปไตยของรัฐในสมาพันธรัฐก็ไม่เด็ดขาดสมบูรณ์ (ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย) ศัพท์คำว่า เขตแดน6 (301-2) โดยทั่วไปใช้สำหรับพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ แต่บางครั้งก็ถูกใช้เพื่อหมายถึงหน่วยทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ บางครั้งมีการแยกความแตกต่างระหว่าง เขตแดนปกครองตนเอง7กับ เขตแดนที่ไม่ปกครองตนเอง8

306

ภายในเขตแดน (301-2) หนึ่ง มีศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบาย การรวมกลุ่มที่อยู่อาศัย1 หรือ การรวมตัว1ของประชากรชนิดต่างๆ บางครั้งรู้จักกันว่าเป็น การรวมตัวของประชากร1 กลุ่มประชากร1 หรือกล่าวทั่วๆ ไปว่าเป็น ถิ่นที่อยู่1 ในพื้นที่ชนบท หน่วยย่อยที่สุดได้แก่ คุ้มบ้าน2ซึ่งโดยทั่วไปประกอบด้วยกลุ่มเล็กๆ ของบ้าน การรวมกลุ่มของที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีกได้แก่ หมู่บ้าน3 ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชุมชนขนาดเล็กและประชากรที่อยู่ในชุมชนทำการเกษตรเป็นหลัก เมือง4 หรือ นคร4เป็นกลุ่มที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ขึ้นมาอีก ซึ่งโดยทั่วไปมีผู้คนไม่มากนักที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่จุดที่จะเปลี่ยนจากการเรียกหมู่บ้าน หรือเมือง หรือนครนั้น ยังยากที่จะระบุไว้ให้ชัดเจน และจะผันแปรแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ที่ตั้งของรัฐบาลของเขตแดนหนึ่ง (ในความหมายของ305-1) เรียกว่าเป็น เมืองหลวง5 ในเคาน์ตี้ที่เป็นสถานที่ซึ่งสำนักงานบริหารการปกครองท้องถิ่นตั้งอยู่เรียกว่า เคาน์ตี้ทาวน์6 หรือ เคาน์ตี้ซีท6 เมืองและนครอาจแบ่งย่อยต่อไปอีกเป็น อำเภอ7 หรือ ควอเตอร์7 และแบ่งเพื่อวัตถุประสงค์ในการเลือกตั้งเป็น วอร์ด7

  • 1. ศัพท์คำว่ากลุ่มเมืองก็มีการนำมาใช้ในความหมายนี้ อย่างไรก็ตาม ดู 307-1
  • 4. เมืองใหญ่มากๆ บางทีเรียกก็เรียกว่ามหานคร

307

พื้นที่เมืองที่ติดต่อเนื่องกันไปเกิดขึ้นโดยการเชื่อมต่อกันของถิ่นที่อยู่หลายๆ แห่ง ในขณะที่แต่ละแห่งยังคงความอิสระในการบริหารงานของตนเองอาจเรียกว่าเป็น กลุ่มเมือง1 ซึ่งประกอบด้วย นครศูนย์กลาง2และ ชานเมือง3ที่มีหน้าที่พิเศษ ศัพท์คำว่า เมืองรวม4 หรือ เขตมหานคร4ใช้เพื่อแสดงถึงกลุ่มเมืองต่างกันจำนวนหนึ่งเชื่อมต่อกันทางสภาพภูมิศาสตร์ และคงไว้ซึ่งอำนาจในการบริหารของกลุ่มเมืองแต่ละแห่ง อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่าเมืองรวมมักใช้ในความหมายเดียวกันกับกลุ่มเมือง การผสมผสานกันของเมืองรวมและนครใหญ่นำไปสู่คำว่า อภิมหานคร5 หรือ แนวเขตมหานคร5ซึ่งอาจขยายออกไปครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางมาก ภาคมหานคร6 (metropolitan regions) อาจหมายถึงกลุ่มเมืองที่รวมแนวเขตเดินทางไปกลับ (commuter belt)

  • 2. ศัพท์คำอื่นที่ใช้ได้แก่แกนเมือง
  • 3. ศัพท์คำอื่นที่มีความหมายเหมือนกันได้แก่ชุมชนบริวาร และเขตชานเมือง
    การขยายเขตชานเมือง กระบวนการของการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วในเขตชานเมืองที่ติดต่อกับเมืองใหญ่ พื้นที่ที่มีความหนาแน่นประชากรสูงติดต่อกับเมืองบางครั้งเรียกว่าขอบเมืองและเขตที่เป็นรอยต่อระหว่างพื้นที่เมืองและชนบทจะเรียกว่าเขตรอยต่อเมืองชนบท หรือ exurbia
  • 4. ประชากรเมืองมักถูกจัดกลุ่มใหม่ในพื้นที่เชิงสถิติ อย่างเช่นพื้นที่สถิติมหานครมาตรฐาน (สหรัฐฯ) เขตอำเภอที่มีคนอยู่หนาแน่น (ญี่ปุ่น) หรือ เขตเมืองขยาย (conurbation) (อังกฤษ)

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=30&oldid=771"