The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "22"

จาก Demopædia
(223)
(223)
 
(ไม่แสดง 12 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 220 ===
 
=== 220 ===
  
กระบวนการของการได้มาซึ่งข้อมูลสถิติจากเอกสารที่ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อวัตถุประสงค์นี้เรียกว่า{{TextTerm|การสกัด|1|220}} โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากแหล่งใด ข้อมูลทางสถิติจะต้องมี{{TextTerm|การประมวลผล|2|220}}ซึ่งอาจทำ{{TextTerm|ด้วยมือ|3|220}} ด้วย{{TextTerm|เครื่องกล|4|220}} ด้วย{{TextTerm|เครื่องอิเลคทรอนิค|5|220}} หรือวิธีการเหล่านี้ผสมกัน การประมวลผลด้วยมือไม่ต้องใช้อุปกรณ์ที่ซับซ้อนไปกว่า{{TextTerm|เครื่องคิดเลขแบบตั้งโต๊ะ|6|220}} การประมวลผลด้วยเครื่องกลใช้{{NonRefTerm|เครื่องทำตาราง}} ({{RefNumber|22|4|2}}) หรือเครื่อง{{NonRefTerm|เจาะบัตร}} ({{RefNumber|22|4|3}}) การประมวลผลด้วยเครื่องอิเลคทรอนิคใช้{{NonRefTerm|คอมพิวเตอร์}} ({{RefNumber|13|2|2}}*) ไม่ว่าจะประมวลผลข้อมูลด้วยวิธีการใด {{TextTerm|ประเภทของปฏิบัติการ|7|220|IndexEntry=ประเภทของปฏิบัติการ}}จะต้องกระทำซึ่งรวม{{TextTerm|การบรรณาธิกรณ์|8|220}}ข้อมูล {{NonRefTerm|การทำตาราง}} ({{RefNumber|13|0|6}}*) และ{{NonRefTerm|การคำนวณ}} ({{RefNumber|13|2|2}}) และ{{TextTerm|การเตรียมตาราง|9|220}} ปฏิบัติการเหล่านี้จะเป็นไปอย่างซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับวิธีการประมวลผลที่เลือกใช้
+
กระบวนการของการได้มาซึ่งข้อมูลสถิติจากเอกสารที่ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อวัตถุประสงค์นี้เรียกว่า{{TextTerm|การสกัด|1|220}} โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากแหล่งใด ข้อมูลทางสถิติจะต้องมี{{TextTerm|การประมวลผล|2|220}}ซึ่งอาจทำ{{TextTerm|ด้วยมือ|3|220}} ด้วย{{TextTerm|เครื่องกล|4|220}} ด้วย{{TextTerm|เครื่องอิเลคทรอนิค|5|220}} หรือวิธีการเหล่านี้ผสมกัน การประมวลผลด้วยมือไม่ต้องใช้อุปกรณ์ที่ซับซ้อนไปกว่า{{TextTerm|เครื่องคิดเลขแบบตั้งโต๊ะ|6|220}} การประมวลผลด้วยเครื่องกลใช้{{NonRefTerm|เครื่องทำตาราง}} ({{RefNumber|22|4|2}}) หรือเครื่อง{{NonRefTerm|เจาะบัตร}} ({{RefNumber|22|4|3}}) การประมวลผลด้วยเครื่องอิเลคทรอนิคใช้{{NonRefTerm|คอมพิวเตอร์}} ({{RefNumber|13|2|2}}*) ไม่ว่าจะประมวลผลข้อมูลด้วย{{TextTerm|ประเภทของปฏิบัติการ|7|220|IndexEntry=ประเภทของปฏิบัติการ}}ใด จะต้องรวม{{TextTerm|การบรรณาธิกรณ์|8|220}}ข้อมูล {{NonRefTerm|การทำตาราง}} ({{RefNumber|13|0|6}}*) และ{{NonRefTerm|การคำนวณ}} ({{RefNumber|13|2|2}}) และ{{TextTerm|การเตรียมตาราง|9|220}} ปฏิบัติการเหล่านี้จะเป็นไปอย่างซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับวิธีการประมวลผลที่เลือกใช้
 +
{{Note|8| {{NoteTerm|การบรรณาธิกรณ์}} (editing) ในภาษาอังกฤษคำนี้หมายถึงการดำเนินการกับทั้งเอกสารพื้นฐาน หรือข้อมูลที่เครื่องจักรอ่านได้ เพื่อที่จะแก้ไขความไม่แนบนัย หรือกำจัดส่วนที่ตกหล่นไป ในภาษาฝรั่งเศส การบรรณาธิกรณ์หมายถึงขั้นตอนของการเตรียมตาราง<br />ในภาษาไทย มีความหมายเหมือนในภาษาอังกฤษ}}
  
 
=== 221 ===
 
=== 221 ===
แถว 17: แถว 18:
 
=== 222 ===
 
=== 222 ===
  
ข้อมูลที่บรรณาธิกรณ์แล้วไม่ค่อยมีการนำไปใช้โดยตรง ข้อมูลเหล่านี้จะต้องมีการ{{NonRefTerm|จัดกลุ่ม}} ({{RefNumber|13|0|7}}) และ{{NonRefTerm|ทำตาราง}} ({{RefNumber|13|0|6}}*) ที่จะนำไปสู่การนำเสนอในรูปของ{{NonRefTerm|ตารางสถิติ}} ({{RefNumber|13|1|4}}) สิ่งเหล่านี้อาจเป็นผลลัพธ์ของการ{{TextTerm|แยกประเภท|1|222}}ไม่ว่าจะทำด้วยมือหรือด้วยเครื่องกล เป็นผลให้เกิดการจัดแบ่งกลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ในอนุกรมนั้นใหม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นมา หรือเป็นเพียงการนับอย่างมีระบบขององค์ประกอบที่มีลักษณะที่เลือกไว้ การเลือกขององค์ประกอบหรือของลักษณะอาจมีพื้นฐานอยู่บนค่าของลักษณะเชิงปริมาณอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง หรือ{{TextTerm|แบบวิธี|2|222|IndexEntry=แบบวิธี}}ของลักษณะเชิงคุณภาพอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง การศึกษาบางโครงการสามารถทำได้โดยไม่ต้องมีการคิดคำนวณ ง่ายหรือซับซ้อน แยกเดี่ยวหรือทำซ้ำ และ{{NonRefTerm|คอมพิวเตอร์}} ({{RefNumber|22|5|2}})ช่วยให้การคำนวณที่ถ้าทำด้วยมือจะยืดยาวยุ่งยากมากเป็นไปได้อย่างง่ายดาย ความสามารถของคอมพิวเตอร์เหล่านี้ได้นำไปสู่พัฒนาการของเทคนิคต่างๆ ของการ{{TextTerm|วิเคราะห์ข้อมูล|3|222}} {{NonRefTerm|แบบจำลอง}} (cf. {{NonRefTerm|730}}) แบบตัวกำหนดหรือแบบสโตคาสติกต้องการคำนวณที่มากมายมหาศาล เช่นเดียวกับ{{NonRefTerm|การทำเหตุการณ์จำลอง}} ({{RefNumber|73|0|6}})
+
ข้อมูลที่บรรณาธิกรณ์แล้วไม่ค่อยมีการนำไปใช้โดยตรง ข้อมูลเหล่านี้จะต้องมีการ{{NonRefTerm|จัดกลุ่ม}} ({{RefNumber|13|0|7}}) และ{{NonRefTerm|ทำตาราง}} ({{RefNumber|13|0|6}}*) ที่จะนำไปสู่การนำเสนอในรูปของ{{NonRefTerm|ตารางสถิติ}} ({{RefNumber|13|1|4}}) สิ่งเหล่านี้อาจเป็นผลลัพธ์ของการ{{TextTerm|แยกประเภท|1|222}}ไม่ว่าจะทำด้วยมือหรือด้วยเครื่องกล เป็นผลให้เกิดการจัดแบ่งกลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ในอนุกรมนั้นใหม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นมา หรือเป็นเพียงการนับอย่างมีระบบขององค์ประกอบที่มีลักษณะที่เลือกไว้ การเลือกขององค์ประกอบหรือของลักษณะอาจมีพื้นฐานอยู่บนค่าของลักษณะเชิงปริมาณอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง หรือ{{TextTerm|แบบวิธี|2|222|IndexEntry=แบบวิธี}}ของลักษณะเชิงคุณภาพอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง การศึกษาบางโครงการสามารถทำได้โดยไม่ต้องมีการคิดคำนวณ ง่ายหรือซับซ้อน แยกเดี่ยวหรือทำซ้ำ และ{{NonRefTerm|คอมพิวเตอร์}} ({{RefNumber|22|5|2}})ช่วยให้การคำนวณที่ถ้าทำด้วยมือแล้วจะใช้เวลาและยุ่งยากมากให้เป็นไปได้อย่างง่ายดาย ความสามารถของคอมพิวเตอร์เหล่านี้ได้นำไปสู่พัฒนาการของเทคนิคต่างๆ ของการ{{TextTerm|วิเคราะห์ข้อมูล|3|222}} {{NonRefTerm|แบบจำลอง}} (cf. {{NonRefTerm|730}}) แบบตัวกำหนดหรือแบบสโตคาสติกต้องการการคำนวณที่มากมายมหาศาล เช่นเดียวกับ{{NonRefTerm|การทำเหตุการณ์จำลอง}} ({{RefNumber|73|0|6}})
  
 
=== 223 ===
 
=== 223 ===
  
ขั้นตอนของ{{NonRefTerm|การเตรียมตาราง}} ({{RefNumber|22|0|9}}) มุ่งที่จะทำให้ผลของการประมวลผลข้อมูลนำไปใช้ได้อย่างสะดวกในรูปแบบของ{{TextTerm|บัญชีรายการ|1|223|IndexEntry=บัญชีรายการ}} {{NonRefTerm|ตารางตัวเลข}} ({{RefNumber|13|1|4}}) หรือ{{NonRefTerm|แผนภูมิ}} ({{RefNumber|15|5|2}}) ทั้งหมดนี้ใช้กันทั่วไปใน{{TextTerm|สถิติเชิงพรรณนา|2|223|OtherIndexEntry=เชิงพรรณนา, สถิติ}} การใช้{{TextTerm|การทำกราฟคอมพิวเตอร์|3|223}} และ{{TextTerm|การสร้างแผนภาพคอมพิวเตอร์|3|223|2}} ทำให้สามารถสร้างผลผลิตจำนวนมากๆ ของการนำเสนอเป็นกราฟฟิกตั้งแต่ยังอยู่ในขั้นตอนต้นๆ ของโครงการ
+
ขั้นตอนของ{{NonRefTerm|การเตรียมตาราง}} ({{RefNumber|22|0|9}}) มุ่งที่จะทำให้ผลของการประมวลผลข้อมูลนำไปใช้ได้อย่างสะดวกในรูปแบบของ{{TextTerm|บัญชีรายการ|1|223|IndexEntry=บัญชีรายการ}} {{NonRefTerm|ตารางตัวเลข}} ({{RefNumber|13|1|4}}) หรือ{{NonRefTerm|แผนภูมิ}} ({{RefNumber|15|5|2}}) ทั้งหมดนี้ใช้กันทั่วไปใน{{TextTerm|สถิติเชิงพรรณนา|2|223}} การใช้{{TextTerm|การทำกราฟคอมพิวเตอร์|3|223}} และ{{TextTerm|การสร้างแผนภาพคอมพิวเตอร์|3|223|2}} ทำให้สามารถสร้างผลผลิตจำนวนมากๆ ของการนำเสนอเป็นกราฟฟิกตั้งแต่ยังอยู่ในขั้นตอนต้นๆ ของโครงการ
  
 
=== 224 ===
 
=== 224 ===
  
Purely {{NonRefTerm|mechanical processing}} ({{RefNumber|22|0|4}}) did not involve the use of {{TextTerm|electronic equipment|1|224|OtherIndexEntry=equipment, electronic}} which has come to replace the earlier {{TextTerm|tabulating machines|2|224|IndexEntry=tabulating machine|OtherIndexEntry=machine, tabulating}} or {{TextTerm|unit record machines|2|224|2|IndexEntry=unit record machine|OtherIndexEntry=machine, unit record}} and is much more versatile. In most instances the information is {{NonRefTerm|coded}} ({{RefNumber|22|1|1}}*) first, and then transcribed onto {{TextTerm|punch cards|3|224|IndexEntry=punch card|OtherIndexEntry=card punch}} by using a {{TextTerm|keypunch|4|224}}. A {{TextTerm|card verifier|5|224|OtherIndexEntry=verifier, card}} is a device used to check the accuracy of the punching. These two types of unit record machines remain in common use since the punch cards are still a frequent way of entering data into the computer. The use of other types of unit record equipment such as the {{TextTerm|card sorter|6|224}} and the {{TextTerm|tabulator|7|224}} has declined. Increasingly, the data are entered directly on {{NonRefTerm|magnetic tapes}} (cf. {{RefNumber|22|6|4}}) or {{NonRefTerm|disks}} (cf. {{RefNumber|22|6|5}}) without resorting to {{NonRefTerm|punch cards}}.
+
{{NonRefTerm|การประมวลผลด้วยเครื่องกล}} ({{RefNumber|22|0|4}}) ล้วนๆ ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้{{TextTerm|อุปกรณ์อิเลคทรอนิค|1|224}} ซึ่งได้เข้ามาแทนที่{{TextTerm|เครื่องทำตาราง|2|224|IndexEntry=เครื่องทำตาราง}} หรือ{{TextTerm|เครื่องบันทึกหน่วย|2|224|2|IndexEntry=เครื่องบันทึกหน่วย}}ยุคก่อนและมีความสามารถรอบด้านมากกว่า ส่วนมากข้อมูลจะถูก{{NonRefTerm|ลงรหัส}} ({{RefNumber|22|1|1}}*) ก่อนแล้วจึงถ่ายลงไปสู่{{TextTerm|บัตรเจาะ|3|224|IndexEntry=บัตรเจาะ}}โดยการใช้{{TextTerm|เครื่องเจาะบัตร|4|224}} {{TextTerm|เครื่องตรวจบัตร|5|224}}เป็นเครื่องมือที่ใช้เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการเจาะบัตร เครื่องบันทึกหน่วยทั้งสองประเภทนี้ยังคงมีใช้กันอยู่เนื่องจากบัตรเจาะยังเป็นวิธีนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไป อุปกรณ์บันทึกหน่วยประเภทอื่น อย่างเช่น {{TextTerm|เครื่องแยกบัตร|6|224}} และ{{TextTerm|เครื่องทำตาราง|7|224}}มีการใช้น้อยลงแล้ว ที่มีการใช้เพิ่มขึ้นคือการใส่ข้อมูลโดยตรงเข้าไปสู่{{NonRefTerm|แถบแม่เหล็ก}} (cf. {{RefNumber|22|6|4}}) หรือ {{NonRefTerm|แผ่นดิสก์}} (cf. {{RefNumber|22|6|5}}) โดยไม่ต้องใช้{{NonRefTerm|บัตรเจาะ}}
{{Note|3| {{NoteTerm|Punch cards}} or {{NoteTerm|punched cards}}.}}
 
{{Note|4| {{NoteTerm|Keypunch}} or {{NoteTerm|card punch}}.}}
 
  
 
=== 225 ===
 
=== 225 ===
  
Demographic research depends heavily on {{TextTerm|electronic data processing|1|225|OtherIndexEntry=data processing, electronic}} using the {{TextTerm|computer|2|225|IndexEntry=method of computation monographic}}. The term {{TextTerm|hardware|3|225}} refers to the physical component, whereas {{TextTerm|software|4|225}} supplies the {{TextTerm|user|5|225}} with ways to have access to the computer. {{TextTerm|Computer specialists|6|225|IndexEntry=computer specialist|OtherIndexEntry=specialist, computer}} include {{TextTerm|programmers|7|225|IndexEntry=programmer}} who write {{TextTerm|programs|8|225|IndexEntry=program}} conceived by {{TextTerm|system analysts|9|225|IndexEntry=system analyst|OtherIndexEntry=analyst, system}}.
+
การวิจัยทางประชากรศาสตร์ขึ้นอยู่อย่างมากกับ{{TextTerm|การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเลคทรอนิค|1|225}}โดยใช้{{TextTerm|คอมพิวเตอร์|2|225|IndexEntry=คอมพิวเตอร์}} ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ฮาร์ดแวร์|3|225}}หมายถึงส่วนประกอบทางกายภาพ ในขณะที่{{TextTerm|ซอฟท์แวร์|4|225}}จะช่วย{{TextTerm|ผู้ใช้|5|225}}ด้วยวิธีเข้าถึงคอมพิวเตอร์ {{TextTerm|ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์|6|225|IndexEntry=ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์}} มี{{TextTerm|โปรแกรมเมอร์|7|225|IndexEntry=โปรแกรมเมอร์}} คือคนที่เขียน{{TextTerm|โปรแกรม|8|225|IndexEntry=โปรแกรม}}ที่คิดขึ้นโดย{{TextTerm|นักวิเคราะห์ระบบ|9|225|IndexEntry=นักวิเคราะห์ระบบ}}
  
 
=== 226 ===
 
=== 226 ===
  
The {{NonRefTerm|hardware}} ({{RefNumber|22|5|3}}) components of a {{NonRefTerm|computer}} ({{RefNumber|22|5|2}}) include one or several {{TextTerm|central processing units|1|226|IndexEntry=central processing unit|OtherIndexEntry=processing unit, central}}, a {{TextTerm|central memory|2|226|OtherIndexEntry=memory, central}}, one or more {{TextTerm|mass storage devices|3|226|IndexEntry=mass storage device|OtherIndexEntry=device, mass storage}} which use {{TextTerm|magnetic tapes|4|226|IndexEntry=magnetic tape|OtherIndexEntry=tape, magnetic}} or {{TextTerm|disks|5|226|IndexEntry=disk}} and a set of {{TextTerm|input - output devices|6|226|IndexEntry=input-output device|OtherIndexEntry=device, input-output}}. The {{NonRefTerm|software}} ({{RefNumber|22|5|4}}) components include the {{TextTerm|operating system|7|226|OtherIndexEntry=system, operating}}, which has the task of efficiently managing the available {{TextTerm|facilities|8|226|IndexEntry=facility}} for the {{NonRefTerm|users}} ({{RefNumber|22|5|5}}) running the {{TextTerm|users’ programs|9|226|IndexEntry=user's program|OtherIndexEntry=program, user's}} and the {{TextTerm|processing programs|10|226|IndexEntry=processing program}} which are preestablished {{NonRefTerm|programs}} ({{RefNumber|22|5|8}}) designed for the solution of standard problems.
+
ส่วนประกอบ{{NonRefTerm|ฮาร์ดแวร์}} ({{RefNumber|22|5|3}}) ของ{{NonRefTerm|คอมพิวเตอร์}} ({{RefNumber|22|5|2}})รวม{{TextTerm|หน่วยประมวลผลกลาง|1|226|IndexEntry=หน่วยประมวลผลกลาง}}หนึ่งหรือหลายตัว {{TextTerm|หน่วยความจำกลาง|2|226}} {{TextTerm|อุปกรณ์เก็บมวลข้อมูล|3|226|IndexEntry=อุปกรณ์เก็บมวลข้อมูล}}หนึ่งหรือหลายตัว ซึ่งใช้{{TextTerm|แถบแม่เหล็ก|4|226|IndexEntry=แถบแม่เหล็ก}} หรือ{{TextTerm|แผ่นดิสก์|5|226|IndexEntry=แผ่นดิสก์}} และชุดของ{{TextTerm|อุปกรณ์นำเข้า-นำออก|6|226|IndexEntry=อุปกรณ์นำเข้า-นำออก}} ส่วนประกอบ{{NonRefTerm|ซอฟท์แวร์}} ({{RefNumber|22|5|4}}) มี{{TextTerm|ระบบปฏิบัติการ|7|226}}ซึ่งทำงานจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็น{{TextTerm|สิ่งอำนวยความสะดวก|8|226|IndexEntry=สิ่งอำนวยความสะดวก}}สำหรับ{{NonRefTerm|ผู้ใช้}} ({{RefNumber|22|5|5}}) ในการวิ่ง{{TextTerm|โปรแกรมของผู้ใช้|9|226|IndexEntry=โปรแกรมของผู้ใช้}} และ{{TextTerm|โปรแกรมประมวลผล|10|226|IndexEntry=โปรแกรมประมวลผล}} ซึ่งเป็น{{NonRefTerm|โปรแกรม}} ({{RefNumber|22|5|8}}) ที่ติดตั้งไว้แล้วที่ออกแบบมาเพื่อแก้ไขปัญหามาตรฐาน
  
 
=== 227 ===
 
=== 227 ===
  
A {{NonRefTerm|user}} ({{RefNumber|22|5|5}}) can process his problem by writing a {{NonRefTerm|program}} ({{RefNumber|22|5|8}}) in a general {{TextTerm|programming language|1|227|OtherIndexEntry=language, programming}} such as Fortran, Cobol, Basic or Algol, or a specific language, designed to use the {{NonRefTerm|processing programs}} ({{RefNumber|22|6|9}}) stored in the {{NonRefTerm|central memory}} ({{RefNumber|22|6|2}}) of the computer such as a {{TextTerm|data base management system|2|227|OtherIndexEntry=management system, data base}} used to create and maintain a {{TextTerm|data bank|2|227|2}}, a {{TextTerm|survey processing program|3|227|OtherIndexEntry=processing program, survey}} or a {{TextTerm|statistical package|4|227|OtherIndexEntry=package, statistical}}. The devices which are used to enter and receive information from the computer can differ according to the mode of processing. In {{TextTerm|batch processing|7|227|OtherIndexEntry=processing, batch}}, the normal input and output units are the {{TextTerm|card reader|5|227|OtherIndexEntry=reader, card}} and the {{TextTerm|line printer|6|227|OtherIndexEntry=printer, line}}. A {{TextTerm|console|8|227}} is the normal input and output unit for processing in a {{TextTerm|timesharing mode|9|227|OtherIndexEntry=mode, timesharing}}. In either instance the entry units may be spatially separated from the computer and processing under these conditions is accomplished by {{TextTerm|remote terminal|10|227|OtherIndexEntry=terminal, remote}}.
+
{{NonRefTerm|ผู้ใช้}} ({{RefNumber|22|5|5}}) สามารถจัดการกับปัญหาของเขาโดยการเขียน{{NonRefTerm|โปรแกรม}} ({{RefNumber|22|5|8}}) ใน{{TextTerm|ภาษาโปรแกรม|1|227}}ทั่วไป อย่างเช่น Fortran, Cobol, Basic หรือ Algol หรือภาษาเฉพาะที่ออกแบบที่จะใช้{{NonRefTerm|โปรแกรมประมวลผล}} ({{RefNumber|22|6|9}}) ที่เก็บไว้ใน{{NonRefTerm|หน่วยความจำกลาง}} ({{RefNumber|22|6|2}}) ของคอมพิวเตอร์อย่างเช่น{{TextTerm|ระบบจัดการฐานข้อมูล|2|227}}ที่ใช้เพื่อสร้างและคง{{TextTerm|คลังข้อมูล|2|227|2}} {{TextTerm|โปรแกรมประมวลผลการสำรวจ|3|227}} หรือ{{TextTerm|ชุดโปรแกรมสถิติ|4|227}} อุปกรณ์ซึ่งใช้เพื่อนำเข้าและได้รับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์แตกต่างกันไปตามวิธีประมวลผลใน{{TextTerm|กลุ่มคำสั่งประมวลผล|7|227}} หน่วยนำเข้าและนำออกปรกติเป็น{{TextTerm|เครื่องอ่านบัตร|5|227}} และ{{TextTerm|เครื่องพิมพ์เส้น|6|227}} {{TextTerm|คอนโซล|8|227}}คือหน่วยนำเข้าและนำออกปรกติสำหรับการประมวผลใน{{TextTerm|วิธีแบ่งเวลา|9|227}} ไม่ว่าในกรณีใด หน่วยใส่ข้อมูลเข้าอาจแยกอยู่คนละที่กับคอมพิวเตอร์และประมวลผลเมื่อเครื่องอยู่แยกกันเช่นนี้โดย{{TextTerm|สถานีทางไกล|10|227}}
{{Note|1| In addition to {{NonRefTerm|programming languages}} as defined above, other types of languages can be used to manipulate the {{NonRefTerm|operating system}}; these are usually referred to as {{NoteTerm|job control language}}.}}
+
{{Note|1| นอกจาก{{NonRefTerm|ภาษาโปรแกรม}}ตามที่ให้ตัวอย่างไว้ข้างต้นแล้ว ภาษาประเภทอื่นอาจใช้เพื่อจัดการ{{NonRefTerm|ระบบปฏิบัติการ}} ภาษาเหล่านี้ปรกติจะเรียกว่า{{NoteTerm|ภาษาควบคุมงาน}} }}
  
 
=== 228 ===
 
=== 228 ===
  
Any information processed in a {{NonRefTerm|computer}} ({{RefNumber|22|5|2}}) undergoes three main phases. First, {{TextTerm|data entry|1|228|OtherIndexEntry=entry, data}} or {{TextTerm|input|1|228|2}} which may be done by using {{NonRefTerm|punched cards}} ({{RefNumber|22|4|3}}*) or by using an {{TextTerm|on line|2|228}} device such as a {{NonRefTerm|keyboard console}} ({{RefNumber|22|7|8}}). Data which is already stored in the computer may be accessed from either {{NonRefTerm|central memory}} ({{RefNumber|22|6|2}}) or from one of the {{NonRefTerm|mass storage devices}} ({{RefNumber|22|6|3}}) and used as {{NonRefTerm|input data}}. The second phase, {{NonRefTerm|processing}} ({{RefNumber|22|0|2}}), is divided into two main types: {{TextTerm|numerical processing|4|228|OtherIndexEntry=processing, numerical}} and {{TextTerm|non-numerical processing|5|228|OtherIndexEntry=processing, non-numerical}}. Statistical or arithmetic computations are normally the operations contained in the former while data manipulation operations are the focus in the latter. In a third phase, occasionally referred to as output phase, the {{TextTerm|processed results|6|228|OtherIndexEntry=results, processed}} or {{TextTerm|output|6|228|2}} may be printed out on the {{NonRefTerm|line printer}} ({{RefNumber|22|7|6}}) or saved as a file on a {{NonRefTerm|mass storage device}} ({{RefNumber|22|6|3}}) for further processing. Results may also be diverted to a {{TextTerm|plotter|7|228}} to obtain processed results in the form of a graph or a figure.
+
ข้อมูลที่ประมวลผลอยู่ใน{{NonRefTerm|คอมพิวเตอร์}} ({{RefNumber|22|5|2}}) ดำเนินไปตาม 3 ขั้นตอนหลัก ขั้นแรกสุด{{TextTerm|การนำเข้าข้อมูล|1|228}} หรือ{{TextTerm|การป้อนเข้า|1|228|2}} ซึ่งอาจทำโดยการใช้{{NonRefTerm|บัตรเจาะ}} ({{RefNumber|22|4|3}}*) หรือโดยใช้อุปกรณ์{{TextTerm|ออนไลน์|2|228}} อย่างเช่น{{NonRefTerm|คอนโซลคีย์บอร์ด}} ({{RefNumber|22|7|8}}) ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วในคอมพิวเตอร์อาจเข้าถึงได้จาก{{NonRefTerm|หน่วยความจำกลาง}} ({{RefNumber|22|6|2}}) หรือจาก{{NonRefTerm|อุปกรณ์เก็บมวลข้อมูล}} ({{RefNumber|22|6|3}}) และใช้เป็น{{NonRefTerm|ข้อมูลนำเข้า}}  นี้เป็นส่วนหนึ่งของ{{TextTerm|การเก็บรวบรวมข้อมูล|3|228}} ซึ่งเริ่มจาก{{NonRefTerm|การสกัด}} ({{RefNumber|22|0|1}}) ไปสู่การถ่ายข้อมูลให้อยู่ในสื่ออิเล็คทรอนิก ผ่านกระบวนการ{{NonRefTerm|การตรวจสอบความถูกต้อง}} ({{RefNumber|22|1|7}}) และ{{NonRefTerm|การตรวจสอบความแนบนัย}} ({{RefNumber|22|1|18)}} ซึ่งสามารถทำได้ระหว่างการนำเข้าข้อมูลเมื่อทำงานแบบออนไลน์    ขั้นตอนที่สอง {{NonRefTerm|การประมวลผล}} ({{RefNumber|22|0|2}}) แบ่งเป็นประเภทหลักสองประเภท {{TextTerm|การประมวลผลที่เป็นตัวเลข|4|228}} และ{{TextTerm|การประมวลผลที่ไม่ใช่ตัวเลข|5|228}} การคำนวณทางคณิตศาสตร์หรือทางสถิติโดยปรกติเป็นปฏิบัติการในการประมวลผลที่เป็นตัวเลข ในขณะที่ปฏิบัติการจัดการต่างๆ เป็นเรื่องของการประมวลผลที่ไม่ใช่ตัวเลข ในขั้นตอนที่สาม บางครั้งเรียกว่าขั้นตอนของผลผลิต {{TextTerm|ผลที่ประมวลแล้ว|6|228}} หรือ{{TextTerm|ผลผลิต|6|228|2}}อาจพิมพ์ออกมาโดย{{NonRefTerm|เครื่องพิมพ์เส้น}} ({{RefNumber|22|7|6}}) หรือเก็บไว้เป็นไฟล์ใน{{NonRefTerm|อุปกรณ์เก็บมวลข้อมูล}} ({{RefNumber|22|6|3}}) เพื่อการประมวลผลต่อไป ผลที่ได้อาจส่งไปเข้า{{TextTerm|พล็อตเตอร์|7|228}}เพื่อให้ได้ผลที่ประมวลแล้วในแบบของกราฟหรือรูป
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 11:56, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


220

กระบวนการของการได้มาซึ่งข้อมูลสถิติจากเอกสารที่ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อวัตถุประสงค์นี้เรียกว่า การสกัด1 โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากแหล่งใด ข้อมูลทางสถิติจะต้องมี การประมวลผล2ซึ่งอาจทำ ด้วยมือ3 ด้วย เครื่องกล4 ด้วย เครื่องอิเลคทรอนิค5 หรือวิธีการเหล่านี้ผสมกัน การประมวลผลด้วยมือไม่ต้องใช้อุปกรณ์ที่ซับซ้อนไปกว่า เครื่องคิดเลขแบบตั้งโต๊ะ6 การประมวลผลด้วยเครื่องกลใช้เครื่องทำตาราง (224-2) หรือเครื่องเจาะบัตร (224-3) การประมวลผลด้วยเครื่องอิเลคทรอนิคใช้คอมพิวเตอร์ (132-2*) ไม่ว่าจะประมวลผลข้อมูลด้วย ประเภทของปฏิบัติการ7ใด จะต้องรวม การบรรณาธิกรณ์8ข้อมูล การทำตาราง (130-6*) และการคำนวณ (132-2) และ การเตรียมตาราง9 ปฏิบัติการเหล่านี้จะเป็นไปอย่างซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับวิธีการประมวลผลที่เลือกใช้

  • 8. การบรรณาธิกรณ์ (editing) ในภาษาอังกฤษคำนี้หมายถึงการดำเนินการกับทั้งเอกสารพื้นฐาน หรือข้อมูลที่เครื่องจักรอ่านได้ เพื่อที่จะแก้ไขความไม่แนบนัย หรือกำจัดส่วนที่ตกหล่นไป ในภาษาฝรั่งเศส การบรรณาธิกรณ์หมายถึงขั้นตอนของการเตรียมตาราง
    ในภาษาไทย มีความหมายเหมือนในภาษาอังกฤษ

221

ปรกติการบรรณาธิกรณ์ข้อมูลต้องมีการ ลงรหัส1ของบันทึกจำนวนหนึ่งใน เอกสารพื้นฐาน2ก่อน แนวการลงรหัส3จะวางไว้ให้สอดคล้องกันระหว่างบันทึกและคำแปลเป็นรหัสตัวเลขหรือรหัสอักษร สมุดลงรหัส (code book) รวบรวมและอธิบายแนวการลงรหัสที่ใช้กับเอกสารพื้นฐานชุดเฉพาะนั้น ปรกติแนวการลงรหัสจะออกแบบมาเพื่อช่วยในการรวมกลุ่มข้อมูลในภายหลัง ในทางตรงกันข้าม การแยกประเภท4เป็นเพียงบัญชีรายการของรหัสแต่ละตัว ในขณะที่แต่ละ หัวข้อ5จะให้เลขจำนวนหนึ่งหรือหลายจำนวน หลังจากที่ข้อมูลได้ถูกลงรหัสแล้ว ก็จะเกิดไฟล์ (213-3*)ขึ้นมาซึ่งสามารถแปลงให้อยู่ในรูปที่เครื่องกลจะอ่านได้ ขั้นตอนที่สองในการบรรณาธิกรณ์ประกอบด้วย การชำระ6ไฟล์ข้อมูลด้วยการกำจัดข้อผิดพลาด โดยการ ตรวจสอบความถูกต้อง7 และการ ตรวจสอบความแนบนัย7 การตรวจสอบเหล่านี้สามารถทำเป็นการตรวจสอบภายในในแต่ละหน่วยสถิติ (cf. 110-1) หรืออาจเป็นผลมาจากการเปรียบเทียบของหน่วยต่างๆ กัน หลังจากที่ข้อผิดพลาดได้ถูกตรวจพบแล้ว อาจมีการแก้ไขในเอกสารเดิม หรือแก้ในไฟล์โดยกระบวนการอัตโนมัติบางอย่าง

222

ข้อมูลที่บรรณาธิกรณ์แล้วไม่ค่อยมีการนำไปใช้โดยตรง ข้อมูลเหล่านี้จะต้องมีการจัดกลุ่ม (130-7) และทำตาราง (130-6*) ที่จะนำไปสู่การนำเสนอในรูปของตารางสถิติ (131-4) สิ่งเหล่านี้อาจเป็นผลลัพธ์ของการ แยกประเภท1ไม่ว่าจะทำด้วยมือหรือด้วยเครื่องกล เป็นผลให้เกิดการจัดแบ่งกลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ในอนุกรมนั้นใหม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นมา หรือเป็นเพียงการนับอย่างมีระบบขององค์ประกอบที่มีลักษณะที่เลือกไว้ การเลือกขององค์ประกอบหรือของลักษณะอาจมีพื้นฐานอยู่บนค่าของลักษณะเชิงปริมาณอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง หรือ แบบวิธี2ของลักษณะเชิงคุณภาพอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง การศึกษาบางโครงการสามารถทำได้โดยไม่ต้องมีการคิดคำนวณ ง่ายหรือซับซ้อน แยกเดี่ยวหรือทำซ้ำ และคอมพิวเตอร์ (225-2)ช่วยให้การคำนวณที่ถ้าทำด้วยมือแล้วจะใช้เวลาและยุ่งยากมากให้เป็นไปได้อย่างง่ายดาย ความสามารถของคอมพิวเตอร์เหล่านี้ได้นำไปสู่พัฒนาการของเทคนิคต่างๆ ของการ วิเคราะห์ข้อมูล3 แบบจำลอง (cf. 730) แบบตัวกำหนดหรือแบบสโตคาสติกต้องการการคำนวณที่มากมายมหาศาล เช่นเดียวกับการทำเหตุการณ์จำลอง (730-6)

223

ขั้นตอนของการเตรียมตาราง (220-9) มุ่งที่จะทำให้ผลของการประมวลผลข้อมูลนำไปใช้ได้อย่างสะดวกในรูปแบบของ บัญชีรายการ1 ตารางตัวเลข (131-4) หรือแผนภูมิ (155-2) ทั้งหมดนี้ใช้กันทั่วไปใน สถิติเชิงพรรณนา2 การใช้ การทำกราฟคอมพิวเตอร์3 และ การสร้างแผนภาพคอมพิวเตอร์3 ทำให้สามารถสร้างผลผลิตจำนวนมากๆ ของการนำเสนอเป็นกราฟฟิกตั้งแต่ยังอยู่ในขั้นตอนต้นๆ ของโครงการ

224

การประมวลผลด้วยเครื่องกล (220-4) ล้วนๆ ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ อุปกรณ์อิเลคทรอนิค1 ซึ่งได้เข้ามาแทนที่ เครื่องทำตาราง2 หรือ เครื่องบันทึกหน่วย2ยุคก่อนและมีความสามารถรอบด้านมากกว่า ส่วนมากข้อมูลจะถูกลงรหัส (221-1*) ก่อนแล้วจึงถ่ายลงไปสู่ บัตรเจาะ3โดยการใช้ เครื่องเจาะบัตร4 เครื่องตรวจบัตร5เป็นเครื่องมือที่ใช้เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการเจาะบัตร เครื่องบันทึกหน่วยทั้งสองประเภทนี้ยังคงมีใช้กันอยู่เนื่องจากบัตรเจาะยังเป็นวิธีนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไป อุปกรณ์บันทึกหน่วยประเภทอื่น อย่างเช่น เครื่องแยกบัตร6 และ เครื่องทำตาราง7มีการใช้น้อยลงแล้ว ที่มีการใช้เพิ่มขึ้นคือการใส่ข้อมูลโดยตรงเข้าไปสู่แถบแม่เหล็ก (cf. 226-4) หรือ แผ่นดิสก์ (cf. 226-5) โดยไม่ต้องใช้บัตรเจาะ

225

การวิจัยทางประชากรศาสตร์ขึ้นอยู่อย่างมากกับ การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเลคทรอนิค1โดยใช้ คอมพิวเตอร์2 ศัพท์คำว่า ฮาร์ดแวร์3หมายถึงส่วนประกอบทางกายภาพ ในขณะที่ ซอฟท์แวร์4จะช่วย ผู้ใช้5ด้วยวิธีเข้าถึงคอมพิวเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์6 มี โปรแกรมเมอร์7 คือคนที่เขียน โปรแกรม8ที่คิดขึ้นโดย นักวิเคราะห์ระบบ9

226

ส่วนประกอบฮาร์ดแวร์ (225-3) ของคอมพิวเตอร์ (225-2)รวม หน่วยประมวลผลกลาง1หนึ่งหรือหลายตัว หน่วยความจำกลาง2 อุปกรณ์เก็บมวลข้อมูล3หนึ่งหรือหลายตัว ซึ่งใช้ แถบแม่เหล็ก4 หรือ แผ่นดิสก์5 และชุดของ อุปกรณ์นำเข้า-นำออก6 ส่วนประกอบซอฟท์แวร์ (225-4) มี ระบบปฏิบัติการ7ซึ่งทำงานจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็น สิ่งอำนวยความสะดวก8สำหรับผู้ใช้ (225-5) ในการวิ่ง โปรแกรมของผู้ใช้9 และ โปรแกรมประมวลผล10 ซึ่งเป็นโปรแกรม (225-8) ที่ติดตั้งไว้แล้วที่ออกแบบมาเพื่อแก้ไขปัญหามาตรฐาน

227

ผู้ใช้ (225-5) สามารถจัดการกับปัญหาของเขาโดยการเขียนโปรแกรม (225-8) ใน ภาษาโปรแกรม1ทั่วไป อย่างเช่น Fortran, Cobol, Basic หรือ Algol หรือภาษาเฉพาะที่ออกแบบที่จะใช้โปรแกรมประมวลผล (226-9) ที่เก็บไว้ในหน่วยความจำกลาง (226-2) ของคอมพิวเตอร์อย่างเช่น ระบบจัดการฐานข้อมูล2ที่ใช้เพื่อสร้างและคง คลังข้อมูล2 โปรแกรมประมวลผลการสำรวจ3 หรือ ชุดโปรแกรมสถิติ4 อุปกรณ์ซึ่งใช้เพื่อนำเข้าและได้รับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์แตกต่างกันไปตามวิธีประมวลผลใน กลุ่มคำสั่งประมวลผล7 หน่วยนำเข้าและนำออกปรกติเป็น เครื่องอ่านบัตร5 และ เครื่องพิมพ์เส้น6 คอนโซล8คือหน่วยนำเข้าและนำออกปรกติสำหรับการประมวผลใน วิธีแบ่งเวลา9 ไม่ว่าในกรณีใด หน่วยใส่ข้อมูลเข้าอาจแยกอยู่คนละที่กับคอมพิวเตอร์และประมวลผลเมื่อเครื่องอยู่แยกกันเช่นนี้โดย สถานีทางไกล10

  • 1. นอกจากภาษาโปรแกรมตามที่ให้ตัวอย่างไว้ข้างต้นแล้ว ภาษาประเภทอื่นอาจใช้เพื่อจัดการระบบปฏิบัติการ ภาษาเหล่านี้ปรกติจะเรียกว่าภาษาควบคุมงาน

228

ข้อมูลที่ประมวลผลอยู่ในคอมพิวเตอร์ (225-2) ดำเนินไปตาม 3 ขั้นตอนหลัก ขั้นแรกสุด การนำเข้าข้อมูล1 หรือ การป้อนเข้า1 ซึ่งอาจทำโดยการใช้บัตรเจาะ (224-3*) หรือโดยใช้อุปกรณ์ ออนไลน์2 อย่างเช่นคอนโซลคีย์บอร์ด (227-8) ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วในคอมพิวเตอร์อาจเข้าถึงได้จากหน่วยความจำกลาง (226-2) หรือจากอุปกรณ์เก็บมวลข้อมูล (226-3) และใช้เป็นข้อมูลนำเข้า นี้เป็นส่วนหนึ่งของ การเก็บรวบรวมข้อมูล3 ซึ่งเริ่มจากการสกัด (220-1) ไปสู่การถ่ายข้อมูลให้อยู่ในสื่ออิเล็คทรอนิก ผ่านกระบวนการการตรวจสอบความถูกต้อง (221-7) และการตรวจสอบความแนบนัย (221-18) ซึ่งสามารถทำได้ระหว่างการนำเข้าข้อมูลเมื่อทำงานแบบออนไลน์ ขั้นตอนที่สอง การประมวลผล (220-2) แบ่งเป็นประเภทหลักสองประเภท การประมวลผลที่เป็นตัวเลข4 และ การประมวลผลที่ไม่ใช่ตัวเลข5 การคำนวณทางคณิตศาสตร์หรือทางสถิติโดยปรกติเป็นปฏิบัติการในการประมวลผลที่เป็นตัวเลข ในขณะที่ปฏิบัติการจัดการต่างๆ เป็นเรื่องของการประมวลผลที่ไม่ใช่ตัวเลข ในขั้นตอนที่สาม บางครั้งเรียกว่าขั้นตอนของผลผลิต ผลที่ประมวลแล้ว6 หรือ ผลผลิต6อาจพิมพ์ออกมาโดยเครื่องพิมพ์เส้น (227-6) หรือเก็บไว้เป็นไฟล์ในอุปกรณ์เก็บมวลข้อมูล (226-3) เพื่อการประมวลผลต่อไป ผลที่ได้อาจส่งไปเข้า พล็อตเตอร์7เพื่อให้ได้ผลที่ประมวลแล้วในแบบของกราฟหรือรูป

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=22&oldid=743"