The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "21"

จาก Demopædia
(211)
 
(ไม่แสดง 11 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 210 ===
 
=== 210 ===
  
{{TextTerm|ปฏิบัติการสำมะโน|1|210|OtherIndexEntry=สำมะโน, ปฏิบัติการ}}ปรกติเริ่มด้วยการกำหนด{{TextTerm|พื้นที่สำมะโน|2|210|IndexEntry=พื้นที่สำมะโน}}และ{{TextTerm|เขตแจงนับ|3|210|IndexEntry=เขตแจงนับ|OtherIndexEntry=แจงนับ, เขต}} เขตแจงนับในเมืองและนครใหญ่อาจประกอบด้วย{{TextTerm|ชมรมอาคาร|4|210|IndexEntry=ชมรมอาคาร}}หนึ่งหรือหลายแห่ง ชมรมอาคารนิยามได้ว่าเป็นกลุ่มของอาคารซึ่งสามารถเดินได้โดยรอบโดยไม่ต้องข้ามถนน หรือกลุ่มอาการที่จำกัดขอบเขตโดยอุปสรรคบางประการอย่างเช่นทางรถไฟหรือแม่น้ำ มหานครใหญ่ส่วนมากของหลายประเทศแบ่งย่อยพื้นที่ออกเป็นพื้นที่ทางสถิติเรียกว่า{{TextTerm|เขตบริเวณสำมะโน|5|210|IndexEntry=เขตบริเวณสำมะโน|OtherIndexEntry=สำมะโน, เขตบริเวณ}} ซึ่งอาจประกอบด้วยเขตแจงนับหนึ่งหรือหลายเขต
+
{{TextTerm|ปฏิบัติการสำมะโน|1|210}}ปรกติเริ่มด้วยการกำหนด{{TextTerm|พื้นที่สำมะโน|2|210|IndexEntry=พื้นที่สำมะโน}}และ{{TextTerm|เขตแจงนับ|3|210|IndexEntry=เขตแจงนับ}} เขตแจงนับในเมืองและนครใหญ่อาจประกอบด้วย{{TextTerm|ชุมรุมอาคาร|4|210|IndexEntry=ชุมรุมอาคาร}}หนึ่งหรือหลายแห่ง ชุมรุมอาคารนิยามได้ว่าเป็นกลุ่มของอาคารซึ่งสามารถเดินได้โดยรอบโดยไม่ต้องข้ามถนน หรือกลุ่มอาคารที่จำกัดขอบเขตโดยอุปสรรคบางประการอย่างเช่นทางรถไฟหรือแม่น้ำ มหานครใหญ่ส่วนมากของหลายประเทศแบ่งย่อยพื้นที่ออกเป็นพื้นที่ทางสถิติเรียกว่า{{TextTerm|เขตบริเวณสำมะโน|5|210|IndexEntry=เขตบริเวณสำมะโน}} ซึ่งอาจประกอบด้วยเขตแจงนับหนึ่งหรือหลายเขต
  
 
=== 211 ===
 
=== 211 ===
  
{{TextTerm|เหตุการณ์ชีพ|1|211|IndexEntry=เหตุการณ์ชีพ}}อาจนิยามว่าเป็นการเกิด การตาย การเกิดไร้ชีพ การตายตัวอ่อน การแต่งงาน การรับเลี้ยงดูบุตร การทำให้ชอบด้วยกฎหมาย การยอมรับ การยกเลิก การหย่า และการแยก กล่าวสั้นๆ คือหมายถึงเหตุการณ์ทั้งหมดซึ่งเกี่ยวข้องกับการเข้าสู่หรือการออกจากชีวิตของบุคคลหนึ่งพร้อมกับการเปลี่ยนแปลง{{TextTerm|สถานภาพพลเมือง|2|211}} โดยทั่วไปบันทึกของเหตุการณ์เหล่านี้เรียกว่า{{TextTerm|บันทึกชีพ|3|211|IndexEntry=บันทึกชีพ}} หรือ{{TextTerm|บันทึกการทะเบียน|3|211|2|IndexEntry=บันทึกการทะเบียน}} ในหลายประเทศเพื่อเหตุผลทางกฎหมาย เหตุการณ์ชีพเป็นเป้าหมายของ{{TextTerm|การจดทะเบียนชีพ|4|211}} หรือ{{TextTerm|การทะเบียนราษฎร|4|211|2}} {{TextTerm|การจดทะเบียนเกิด|5|211}} {{TextTerm|การจดทะเบียนสมรส|7|211}} และ{{TextTerm|การจดทะเบียนตาย|9|211}} ใช้แบบฟอร์มเฉพาะเป็น{{TextTerm|บันทึกการเกิด|6|211|IndexEntry=บันทึกการเกิด}} {{TextTerm|บันทึกการสมรส|8|211|IndexEntry=บันทึกการสมรส}} และ{{TextTerm|บันทึกการตาย|10|211|IndexEntry=บันทึกการตาย}} ศัพท์ที่กล่าวมานี้เป็นประเภทของเอกสารการจดทะเบียนที่ใช้กันมากที่สุด บุคคลผู้รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนเหล่านี้เรีก{{TextTerm|นายทะเบียน|11|211}}
+
{{TextTerm|เหตุการณ์ชีพ|1|211|IndexEntry=เหตุการณ์ชีพ}}อาจนิยามว่าเป็นการเกิด การตาย การเกิดไร้ชีพ การตายตัวอ่อน การแต่งงาน การรับเลี้ยงดูบุตร การทำให้ชอบด้วยกฎหมาย การยอมรับ การยกเลิก การหย่า และการแยก กล่าวสั้นๆ คือหมายถึงเหตุการณ์ทั้งหมดซึ่งเกี่ยวข้องกับการเข้าสู่หรือการออกจากชีวิตของบุคคลหนึ่งพร้อมกับการเปลี่ยนแปลง{{TextTerm|สถานภาพพลเมือง|2|211}} โดยทั่วไปบันทึกของเหตุการณ์เหล่านี้เรียกว่า{{TextTerm|บันทึกชีพ|3|211|IndexEntry=บันทึกชีพ}} หรือ{{TextTerm|บันทึกการทะเบียน|3|211|2|IndexEntry=บันทึกการทะเบียน}} ในหลายประเทศเพื่อเหตุผลทางกฎหมาย เหตุการณ์ชีพเป็นเป้าหมายของ{{TextTerm|การจดทะเบียนชีพ|4|211}} หรือ{{TextTerm|การทะเบียนราษฎร|4|211|2}} {{TextTerm|การจดทะเบียนเกิด|5|211}} {{TextTerm|การจดทะเบียนสมรส|7|211}} และ{{TextTerm|การจดทะเบียนตาย|9|211}} ใช้แบบฟอร์มเฉพาะเป็น{{TextTerm|บันทึกการเกิด|6|211|IndexEntry=บันทึกการเกิด}} {{TextTerm|บันทึกการสมรส|8|211|IndexEntry=บันทึกการสมรส}} และ{{TextTerm|บันทึกการตาย|10|211|IndexEntry=บันทึกการตาย}} ศัพท์ที่กล่าวมานี้เป็นประเภทของเอกสารการจดทะเบียนที่ใช้กันมากที่สุด บุคคลผู้รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนเหล่านี้เรียก{{TextTerm|นายทะเบียน|11|211}}
{{ {{NoteTerm|Civil registration systems}} are the descendents of {{NonRefTerm|parish registers}} ({{RefNumber|21|4|1}}) kept by the Church. A register was originally a bound book in which one or several lines were devoted to an event Today individual records often take the form of {{NoteTerm|certificates}}. They are separate documents for each recorded vital event.}}
+
{{Note|4| {{NoteTerm|ระบบทะเบียนราษฎร}}ของอังกฤษพัฒนามาจาก{{NonRefTerm|ทะเบียนแพริช}} ({{RefNumber|21|4|1}}) ซึ่งเก็บไว้โดยโบสถ์  ทะเบียนในสมัยเริ่แรกเป็นสมุดหุ้มปกซึ่งบันทึกเหตุการณ์ไว้เป็นบรรทัด ทุกวันนี้ข้อมูลของแต่ละบุคคลอยู่ในรูปของ{{NoteTerm|ใบรับรอง}} ทะเบียนจะเป็นเอกสารแยกกันสำหรับแต่ละเหตุการณ์ชีพที่บันทึกไว้<br />ระบบทะเบียนราษฎรของประเทศไทย อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ทะเบียนราษฎรของประเทศไทยเริ่มมีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5}}
  
 
=== 212 ===
 
=== 212 ===
  
{{TextTerm|สถิติชีพ|1|212}} หรือ{{TextTerm|สถิติการจดทะเบียน|1|212|2|IndexEntry=สถิติการจดทะเบียน}}ได้มาโดยการประมวลผลบันทึกการจดทะเบียนหรือ{{TextTerm|รายงานสถิติ|2|212|OtherIndexEntry=สถิติ, รายงาน}} ที่จัดให้มีขึ้น ณ ขณะเวลาที่มีการจดทะเบียน {{TextTerm|การทำตารางจำแนกตามสถานที่อยู่อาศัย|3|212|IndexEntry=การทำตารางจำแนกตามสถานที่อยู่อาศัย}}ของมารดาหรือของผู้ตายมักจะนับว่าเป็นประโยชน์ต่อวัตถุประสงค์ทางประชากรศาสตร์มากกว่าการทำตารางจำแนกตามสถานที่เกิดเหตุการณ์
+
{{TextTerm|สถิติชีพ|1|212}} หรือ{{TextTerm|สถิติการจดทะเบียน|1|212|2|IndexEntry=สถิติการจดทะเบียน}}ได้มาโดยการประมวลผลบันทึกการจดทะเบียนหรือ{{TextTerm|รายงานสถิติ|2|212}} ที่จัดให้มีขึ้น ณ ขณะเวลาที่มีการจดทะเบียน {{TextTerm|การทำตารางจำแนกตามสถานที่อยู่อาศัย|3|212|IndexEntry=การทำตารางจำแนกตามสถานที่อยู่อาศัย}}ของมารดาหรือของผู้ตายมักจะนับว่าเป็นประโยชน์ต่อวัตถุประสงค์ทางประชากรศาสตร์มากกว่าการทำตารางจำแนกตามสถานที่เกิดเหตุการณ์
{{Note|3| In many countries, the {{NoteTerm|time of registration}} of a birth may be markedly later than the {{NoteTerm|time of occurrence}}. }}
+
{{Note|3| ในหลายประเทศ{{NoteTerm|เวลาของการจดทะเบียน}}การเกิดอาจจะล่าช้ากว่า{{NoteTerm|เวลาที่เกิด}}อย่างมาก }}
  
 
=== 213 ===
 
=== 213 ===
  
The {{NonRefTerm|registers}} mentioned in a preceding paragraph (cf. {{RefNumber|21|1|4}}) are distinct from the {{TextTerm|population registers|1|213|IndexEntry=population register|OtherIndexEntry=register, population}} of those countries which possess a system of {{TextTerm|continuous registration|2|213|OtherIndexEntry=registration, continuous}}. In these registers every member of the population or every family may be represented by a {{TextTerm|card|3|213}}, and the register is {{TextTerm|maintained|4|213|IndexEntry=maintain}} or {{TextTerm|updated|4|213|2|IndexEntry=update}} through information which reaches it through the local registration offices and \ through registration of any {{TextTerm|changes of residence|5|213|IndexEntry=change of residence|OtherIndexEntry=residence, change of}} (cf. {{RefNumber|31|0|6}}). It is usually {{TextTerm|matched|6|213|IndexEntry=match}} with the census results and brought up to date at regular intervals by special {{TextTerm|checks|7|213|IndexEntry=check}}.
+
{{NonRefTerm|การทะเบียน}}ที่ได้อ้างถึงในย่อหน้าก่อน(cf.{{RefNumber|21|1|4}}) แตกต่างจาก{{TextTerm|ทะเบียนประชากร|1|213|IndexEntry=ทะเบียนประชากร}}ของประเทศที่มีระบบ{{TextTerm|การจดทะเบียนแบบต่อเนื่อง|2|213}} ในทะเบียนประชากร สมาชิกทุกคนของประชากรหรือทุกครอบครัวอาจแสดงตนโดย{{TextTerm|บัตร|3|213}} และทะเบียนจะ{{TextTerm|คงไว้|4|213|IndexEntry=คงไว้}} หรือ{{TextTerm|ปรับให้เป็นปัจจุบัน|4|213|2|IndexEntry=ปรับให้เป็นปัจจุบัน}}ผ่านข้อมูลซึ่งเข้าสู่ทะเบียนผ่านสำนักงานทะเบียนท้องถิ่น และผ่านการจดทะเบียน{{TextTerm|การเปลี่ยนที่อยู่อาศัย|5|213|IndexEntry=การเปลี่ยนที่อยู่อาศัย}} (cf.{{RefNumber|31|0|6}}) ปรกติทะเบียนประชากรจะ{{TextTerm|จับคู่|6|213|IndexEntry=จับคู่}}กับผลของสำมะโนและปรับให้เป็นปัจจุบันตามช่วงเวลาที่กำหนดไว้ด้วย{{TextTerm|การตรวจสอบ|7|213|IndexEntry=การตรวจสอบ}}พิเศษ
{{Note|3| A card file is a collection of cards. In general, a {{NoteTerm|file}} is a collection of records arranged in convenient order.}}
+
{{Note|3| ไฟล์บัตรเป็นการรวมบัตร โดยทั่วไป{{NoteTerm|ไฟล์}}เป็นการรวบรวมข้อมูลที่จัดไว้อย่างเป็นระเบียบ}}
  
 
=== 214 ===
 
=== 214 ===
  
{{NonRefTerm|Historical demography}} ({{RefNumber|10|2|1}}) often uses documents which precede or anticipate the development of {{NonRefTerm|civil registration}} ({{RefNumber|21|1|4}}) and {{NonRefTerm|nominal lists}} ({{RefNumber|20|7|3}}) from censuses. {{TextTerm|Parish registers|1|214|IndexEntry=parish register|OtherIndexEntry=register, parochial}} or {{TextTerm|parochial registers|1|214|2|IndexEntry=parochial register}} contain information on the religious equivalents of vital events such as {{TextTerm|baptisms|2|214|IndexEntry=baptism}}, {{NonRefTerm|religious marriages}} ({{RefNumber|50|3|2}}), and {{TextTerm|burials|3|214|IndexEntry=burial}}. For {{TextTerm|chrisoms|5|214|IndexEntry=chrisom}}, privately baptized infants who die at home prior to a formal church ceremony, only the burial record is available. Nominal lists contain information either on a portion of the population or more rarely on the whole population. They include the a {{TextTerm|status animarum|6|214}}which are nominal lists of all parishioners, {{TextTerm|lists of communicants|7|214|IndexEntry=list of communicants|OtherIndexEntry=communicants, list of}} and {{TextTerm|confirmation lists|8|214|IndexEntry=confirmation list|OtherIndexEntry=list, confirmation}}, as well as administrative and fiscal documents such as {{TextTerm|hearth tax lists|9|214|IndexEntry=tax list, hearth}}, {{TextTerm|taxation rolls|10|214|IndexEntry=taxation roll|OtherIndexEntry=roll, taxation}} and {{TextTerm|military conscription lists|11|214|IndexEntry=military conscription list}}.
+
{{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|1}}) มักใช้เอกสารซึ่งมีมาก่อนหรือใช้มาก่อนการพัฒนา{{NonRefTerm|การจดทะเบียนราษฎร}} ({{RefNumber|21|1|4}}) และ{{NonRefTerm|บัญชีรายชื่อ}} ({{RefNumber|20|7|3}})จากสำมะโน {{TextTerm|ทะเบียนแพริช|1|214|IndexEntry=ทะเบียนแพริช}} หรือ{{TextTerm|ทะเบียนเกี่ยวกับท้องถิ่น|1|214|2|IndexEntry=ทะเบียนเกี่ยวกับท้องถิ่น}}มีข้อมูลของเหตุการณ์ทางศาสนาที่เทียบได้กับเหตุการณ์ชีพ อย่างเช่น{{TextTerm|พิธีแบบติสม์|2|214|IndexEntry=พิธีแบบติสม์}} {{NonRefTerm|พิธีแต่งงานทางศาสนา}} ({{RefNumber|50|3|2}}) และ{{TextTerm|พิธีฝังศพ|3|214|IndexEntry=พิธีฝังศพ}} สำหรับ{{TextTerm|คริซอมส์|5|214|IndexEntry=คริซอมส์}} หรือ {{TextTerm|ทารกที่เข้าพิธีแบบติสม์ส่วนตัว|4|214|IndexEntry=ทารกที่เข้าพิธีแบบติสม์ส่วนตัว}}แล้วตายที่บ้านก่อนที่จะเข้าพิธีที่โบสถ์อย่างเป็นทางการ จะมีเพียงบันทึกการฝังศพเท่านั้น บัญชีรายชื่อมีข้อมูลของประชากรบางส่วนหรือข้อมูลประชากรทั้งหมดจะหาได้ยาก บัญชีรายชื่อรวม{{TextTerm|สมุดครอบครัวประจำแพริช|6|214}}ซึ่งเป็นบัญชีรายชื่อของผู้อยู่ในเขตตำบลของโบสถ์ทั้งหมด {{TextTerm|บัญชีรายชื่อผู้เข้าพิธี|7|214|IndexEntry=บัญชีรายชื่อผู้เข้าพิธี}} และ{{TextTerm|บัญชีรายชื่อผู้รับศีลมหาสนิท|8|214|IndexEntry=บัญชีรายชื่อผู้รับศีลมหาสนิท}} เช่นเดียวกับเอกสารทางการคลังและการปกครอง อย่างเช่น{{TextTerm|บัญชีผู้เสียภาษีครัว|9|214|IndexEntry=บัญชีผู้เสียภาษีครัว}} {{TextTerm|ทะเบียนการเสียภาษี|10|214|IndexEntry=ทะเบียนการเสียภาษี}} และ{{TextTerm|บัญชีการเกณฑ์ทหาร|11|214|IndexEntry=บัญชีการเกณฑ์ทหาร}}
  
 
=== 215 ===
 
=== 215 ===
  
Data are extracted from parish registers with the help of several types of {{TextTerm|forms|1|215|IndexEntry=form}} or {{TextTerm|slips|1|215|2|IndexEntry=slip}} . These include the {{TextTerm|baptism slip|2|215|OtherIndexEntry=slip, baptism}}, {{TextTerm|marriage slip|3|215|OtherIndexEntry=slip, marriage}} and {{TextTerm|burial slip|4|215|OtherIndexEntry=slip, burial}}. The names of the {{TextTerm|subjects of record|5|215|IndexEntry=subject of record|OtherIndexEntry=record, subject of}} (i.e. the persons being baptized, buried or getting married) are inscribed on these slips, and information is recorded about the parents and other persons such as the {{TextTerm|godfather|6|215}}, the {{TextTerm|godmother|7|215}} and the {{TextTerm|witnesses|8|215|IndexEntry=witness}}. Other {{TextTerm|transcription forms|11|215|IndexEntry=transcription form|OtherIndexEntry=form, transcription}} are also used for summary extraction of the data, either with or without the names of the subjects. {{NonRefTerm|Family re-constitution}} ({{RefNumber|63|8|2}}) makes use of {{NonRefTerm|family reconstitution forms}} ({{RefNumber|63|8|1}}). When {{TextTerm|genealogies|12|215|IndexEntry=genealogy}} reconstitute the descendance of an individual or a family, they are under certain conditions a valuable source of information on the demographic characteristics of the upper classes.
+
ข้อมูลถูกสกัดจากทะเบียนแพริชโดยอาศัย{{TextTerm|แบบฟอร์ม|1|215|IndexEntry=แบบฟอร์ม}} หรือ{{TextTerm|ใบสำคัญ|1|215|2|IndexEntry=ใบสำคัญ}}หลายประเภท ซึ่งรวม{{TextTerm|ใบสำคัญแบบติสม์|2|215}} {{TextTerm|ใบสำคัญแต่งงาน|3|215}} และ{{TextTerm|ใบสำคัญฝังศพ|4|215}} ชื่อของ{{TextTerm|หัวข้อของบันทึก|5|215|IndexEntry=หัวข้อของบันทึก}} (นั่นคือ บุคคลที่เข้าพิธีรับศึลจุ่ม ศพที่ถูกฝัง คู่แต่งงาน) จะถูกจารึกไว้บนแผ่นป้ายเหล่านี้ และข้อมูลจะถูกบันทึกไว้เกี่ยวกับพ่อแม่และบุคคลอื่นๆ อย่างเช่น {{TextTerm|พ่อทูนหัว|6|215}} {{TextTerm|แม่ทูนหัว|7|215}} และ{{TextTerm|พยาน|8|215|IndexEntry=พยาน}} มีการใช้{{TextTerm|แถลงการณ์นิรนาม|9|215IndexEntry=แถลงการณ์นิรนาม}} {{TextTerm|ม้วนชื่อ|10|215|IndexEntry=ม้วนชื่อ}} และ{{TextTerm|ฟอร์มสำเนา|11|215|IndexEntry=ฟอร์มสำเนา}}อื่นๆ ทั้งที่มีและไม่มีชื่อของหัวข้อ เพื่อสกัดข้อมูลออกมาด้วย {{NonRefTerm|การประกอบสร้างครอบครัวขึ้นใหม่}} ({{RefNumber|63|8|2}}) ใช้ประโยชน์จาก{{NonRefTerm|แบบฟอร์มการสร้างครอบครัว}} ({{RefNumber|63|8|1}}) เมื่อ{{TextTerm|การลำดับวงศ์ตระกูล|12|215|IndexEntry=การลำดับวงศ์ตระกูล}}สร้างสายการสืบทอดของบุคคลหรือครอบครัวขึ้นใหม่ ลำดับวงศ์ตระกูลนั้นก็อยู่ภายใต้เงื่อนไขบางอย่าง ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลที่มีคุณค่าเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์ของชนชั้นสูง
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 11:55, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


210

ปฏิบัติการสำมะโน1ปรกติเริ่มด้วยการกำหนด พื้นที่สำมะโน2และ เขตแจงนับ3 เขตแจงนับในเมืองและนครใหญ่อาจประกอบด้วย ชุมรุมอาคาร4หนึ่งหรือหลายแห่ง ชุมรุมอาคารนิยามได้ว่าเป็นกลุ่มของอาคารซึ่งสามารถเดินได้โดยรอบโดยไม่ต้องข้ามถนน หรือกลุ่มอาคารที่จำกัดขอบเขตโดยอุปสรรคบางประการอย่างเช่นทางรถไฟหรือแม่น้ำ มหานครใหญ่ส่วนมากของหลายประเทศแบ่งย่อยพื้นที่ออกเป็นพื้นที่ทางสถิติเรียกว่า เขตบริเวณสำมะโน5 ซึ่งอาจประกอบด้วยเขตแจงนับหนึ่งหรือหลายเขต

211

เหตุการณ์ชีพ1อาจนิยามว่าเป็นการเกิด การตาย การเกิดไร้ชีพ การตายตัวอ่อน การแต่งงาน การรับเลี้ยงดูบุตร การทำให้ชอบด้วยกฎหมาย การยอมรับ การยกเลิก การหย่า และการแยก กล่าวสั้นๆ คือหมายถึงเหตุการณ์ทั้งหมดซึ่งเกี่ยวข้องกับการเข้าสู่หรือการออกจากชีวิตของบุคคลหนึ่งพร้อมกับการเปลี่ยนแปลง สถานภาพพลเมือง2 โดยทั่วไปบันทึกของเหตุการณ์เหล่านี้เรียกว่า บันทึกชีพ3 หรือ บันทึกการทะเบียน3 ในหลายประเทศเพื่อเหตุผลทางกฎหมาย เหตุการณ์ชีพเป็นเป้าหมายของ การจดทะเบียนชีพ4 หรือ การทะเบียนราษฎร4 การจดทะเบียนเกิด5 การจดทะเบียนสมรส7 และ การจดทะเบียนตาย9 ใช้แบบฟอร์มเฉพาะเป็น บันทึกการเกิด6 บันทึกการสมรส8 และ บันทึกการตาย10 ศัพท์ที่กล่าวมานี้เป็นประเภทของเอกสารการจดทะเบียนที่ใช้กันมากที่สุด บุคคลผู้รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนเหล่านี้เรียก นายทะเบียน11

  • 4. ระบบทะเบียนราษฎรของอังกฤษพัฒนามาจากทะเบียนแพริช (214-1) ซึ่งเก็บไว้โดยโบสถ์ ทะเบียนในสมัยเริ่แรกเป็นสมุดหุ้มปกซึ่งบันทึกเหตุการณ์ไว้เป็นบรรทัด ทุกวันนี้ข้อมูลของแต่ละบุคคลอยู่ในรูปของใบรับรอง ทะเบียนจะเป็นเอกสารแยกกันสำหรับแต่ละเหตุการณ์ชีพที่บันทึกไว้
    ระบบทะเบียนราษฎรของประเทศไทย อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ทะเบียนราษฎรของประเทศไทยเริ่มมีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5

212

สถิติชีพ1 หรือ สถิติการจดทะเบียน1ได้มาโดยการประมวลผลบันทึกการจดทะเบียนหรือ รายงานสถิติ2 ที่จัดให้มีขึ้น ณ ขณะเวลาที่มีการจดทะเบียน การทำตารางจำแนกตามสถานที่อยู่อาศัย3ของมารดาหรือของผู้ตายมักจะนับว่าเป็นประโยชน์ต่อวัตถุประสงค์ทางประชากรศาสตร์มากกว่าการทำตารางจำแนกตามสถานที่เกิดเหตุการณ์

  • 3. ในหลายประเทศเวลาของการจดทะเบียนการเกิดอาจจะล่าช้ากว่าเวลาที่เกิดอย่างมาก

213

การทะเบียนที่ได้อ้างถึงในย่อหน้าก่อน(cf.211-4) แตกต่างจาก ทะเบียนประชากร1ของประเทศที่มีระบบ การจดทะเบียนแบบต่อเนื่อง2 ในทะเบียนประชากร สมาชิกทุกคนของประชากรหรือทุกครอบครัวอาจแสดงตนโดย บัตร3 และทะเบียนจะ คงไว้4 หรือ ปรับให้เป็นปัจจุบัน4ผ่านข้อมูลซึ่งเข้าสู่ทะเบียนผ่านสำนักงานทะเบียนท้องถิ่น และผ่านการจดทะเบียน การเปลี่ยนที่อยู่อาศัย5 (cf.310-6) ปรกติทะเบียนประชากรจะ จับคู่6กับผลของสำมะโนและปรับให้เป็นปัจจุบันตามช่วงเวลาที่กำหนดไว้ด้วย การตรวจสอบ7พิเศษ

  • 3. ไฟล์บัตรเป็นการรวมบัตร โดยทั่วไปไฟล์เป็นการรวบรวมข้อมูลที่จัดไว้อย่างเป็นระเบียบ

214

ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์ (102-1) มักใช้เอกสารซึ่งมีมาก่อนหรือใช้มาก่อนการพัฒนาการจดทะเบียนราษฎร (211-4) และบัญชีรายชื่อ (207-3)จากสำมะโน ทะเบียนแพริช1 หรือ ทะเบียนเกี่ยวกับท้องถิ่น1มีข้อมูลของเหตุการณ์ทางศาสนาที่เทียบได้กับเหตุการณ์ชีพ อย่างเช่น พิธีแบบติสม์2 พิธีแต่งงานทางศาสนา (503-2) และ พิธีฝังศพ3 สำหรับ คริซอมส์5 หรือ ทารกที่เข้าพิธีแบบติสม์ส่วนตัว4แล้วตายที่บ้านก่อนที่จะเข้าพิธีที่โบสถ์อย่างเป็นทางการ จะมีเพียงบันทึกการฝังศพเท่านั้น บัญชีรายชื่อมีข้อมูลของประชากรบางส่วนหรือข้อมูลประชากรทั้งหมดจะหาได้ยาก บัญชีรายชื่อรวม สมุดครอบครัวประจำแพริช6ซึ่งเป็นบัญชีรายชื่อของผู้อยู่ในเขตตำบลของโบสถ์ทั้งหมด บัญชีรายชื่อผู้เข้าพิธี7 และ บัญชีรายชื่อผู้รับศีลมหาสนิท8 เช่นเดียวกับเอกสารทางการคลังและการปกครอง อย่างเช่น บัญชีผู้เสียภาษีครัว9 ทะเบียนการเสียภาษี10 และ บัญชีการเกณฑ์ทหาร11

215

ข้อมูลถูกสกัดจากทะเบียนแพริชโดยอาศัย แบบฟอร์ม1 หรือ ใบสำคัญ1หลายประเภท ซึ่งรวม ใบสำคัญแบบติสม์2 ใบสำคัญแต่งงาน3 และ ใบสำคัญฝังศพ4 ชื่อของ หัวข้อของบันทึก5 (นั่นคือ บุคคลที่เข้าพิธีรับศึลจุ่ม ศพที่ถูกฝัง คู่แต่งงาน) จะถูกจารึกไว้บนแผ่นป้ายเหล่านี้ และข้อมูลจะถูกบันทึกไว้เกี่ยวกับพ่อแม่และบุคคลอื่นๆ อย่างเช่น พ่อทูนหัว6 แม่ทูนหัว7 และ พยาน8 มีการใช้ แถลงการณ์นิรนาม9 ม้วนชื่อ10 และ ฟอร์มสำเนา11อื่นๆ ทั้งที่มีและไม่มีชื่อของหัวข้อ เพื่อสกัดข้อมูลออกมาด้วย การประกอบสร้างครอบครัวขึ้นใหม่ (638-2) ใช้ประโยชน์จากแบบฟอร์มการสร้างครอบครัว (638-1) เมื่อ การลำดับวงศ์ตระกูล12สร้างสายการสืบทอดของบุคคลหรือครอบครัวขึ้นใหม่ ลำดับวงศ์ตระกูลนั้นก็อยู่ภายใต้เงื่อนไขบางอย่าง ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลที่มีคุณค่าเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์ของชนชั้นสูง

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=21&oldid=742"