The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "20"

จาก Demopædia
(204: missing space)
 
แถว 9: แถว 9:
 
=== 201 ===
 
=== 201 ===
  
{{TextTerm|สถิติประชากรปัจจุบัน|1|201|IndexEntry=สถิติประชากรปัจจุบัน}}อาจแยกออกจาก{{TextTerm|สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร|2|201|IndexEntry=สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร}} สถิติประชากรปัจจุบันเกี่ยวข้องกับลักษณะคงที่ของเรื่องและให้ภาพฉับพลันของประชากร ณ เวลาหนึ่ง {{NonRefTerm|หน่วยสถิติ}} ({{RefNumber|11|0|1}}) ที่ใช้โดยทั่วไปเป็น{{NonRefTerm|ครัวเรือน}} ({{RefNumber|11|0|3}}) {{NonRefTerm|บุคคล}} ({{RefNumber|11|0|2}}) ฯลฯ สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่อเนื่องของการเปลี่ยนแปลงซึ่งกระทบต่อประชากร และเกี่ยวข้องอย่างมากกับ{{TextTerm|เหตุการณ์ชีพ|3|201|IndexEntry=เหตุการณ์ชีพ}} อย่างเช่นการเกิด การแต่งงาน และ{{NonRefTerm|การย้ายถิ่น}} ({{RefNumber|80|1|1}}) {{TextTerm|เหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่|4|201|IndexEntry=เหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่|OtherIndexEntry=ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่, เหตุการณ์}} (ได้แก่การตาย) อาจแยกออกจาก{{TextTerm|เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้|5|201|IndexEntry=เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้|OtherIndexEntry=ที่เกิดขึ้นใหม่ได้, เหตุการณ์}} อย่างเช่น การตั้งครรภ์ การเกิด หรือการเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้จะได้รับ{{TextTerm|ลำดับ|6|201}}ขึ้นอยู่กับจำนวนของเหตุการณ์ลักษณะเดียวกันที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้นกับบุคคลเดียวกัน สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเป็นแหล่งข้อมูลหลักสำหรับการศึกษา{{TextTerm|กระบวนการทางประชากร|7|201}}ที่บางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|พลวัตประชากร|7|201|2}} {{NonRefTerm|สำมะโน}} (cf. {{NonRefTerm|202}}) เป็นแหล่งข้อมูลหลักในเรื่อง{{TextTerm|สภาพของประชากร|8|201|IndexEntry=สภาพของประชากร}} {{NonRefTerm|สถิติชีพ}} ({{RefNumber|21|2|1}}) เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการศึกษาเรื่อง{{TextTerm|การเพิ่มประชากร|9|201|OtherIndexEntry=ประชากร, การเพิ่ม}} (cf. {{NonRefTerm|701}}) บางครั้งสถิติชีพเกี่ยวข้องกับ{{TextTerm|การเพิ่มตามธรรมชาติ|10|201|OtherIndexEntry=ตามธรรมชาติ, การเพิ่ม}}เท่านั้น กล่าวคือ สถิติชีพไม่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายระหว่างประชากรที่ศึกษากับประชากรอื่น แต่กล่าวตามหลักเหตุผลแล้ว{{NonRefTerm|สถิติการย้ายถิ่น}} ({{RefNumber|81|2|1}}) เป็นส่วนหนึ่งของสถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร   ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การเคลื่อนย้ายประชากร|11|201}}ใช้เพื่อหมายถึงการเคลื่อนย้ายทางภูมิศาสตร์ของประชากร
+
{{TextTerm|สถิติประชากรปัจจุบัน|1|201|IndexEntry=สถิติประชากรปัจจุบัน}}อาจแยกออกจาก{{TextTerm|สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร|2|201|IndexEntry=สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร}} สถิติประชากรปัจจุบันเกี่ยวข้องกับลักษณะคงที่ของเรื่องและให้ภาพฉับพลันของประชากร ณ เวลาหนึ่ง {{NonRefTerm|หน่วยสถิติ}} ({{RefNumber|11|0|1}}) ที่ใช้โดยทั่วไปเป็น{{NonRefTerm|ครัวเรือน}} ({{RefNumber|11|0|3}}) {{NonRefTerm|บุคคล}} ({{RefNumber|11|0|2}}) ฯลฯ สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่อเนื่องของการเปลี่ยนแปลงซึ่งกระทบต่อประชากร และเกี่ยวข้องอย่างมากกับ{{TextTerm|เหตุการณ์ชีพ|3|201|IndexEntry=เหตุการณ์ชีพ}} อย่างเช่นการเกิด การแต่งงาน และ{{NonRefTerm|การย้ายถิ่น}} ({{RefNumber|80|1|1}}) {{TextTerm|เหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่|4|201|IndexEntry=เหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่}} (ได้แก่การตาย) อาจแยกออกจาก{{TextTerm|เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้|5|201|IndexEntry=เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้}} อย่างเช่น การตั้งครรภ์ การเกิด หรือการเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้จะได้รับ{{TextTerm|ลำดับ|6|201}}ขึ้นอยู่กับจำนวนของเหตุการณ์ลักษณะเดียวกันที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้นกับบุคคลเดียวกัน สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเป็นแหล่งข้อมูลหลักสำหรับการศึกษา{{TextTerm|กระบวนการทางประชากร|7|201}}ที่บางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|พลวัตประชากร|7|201|2}} {{NonRefTerm|สำมะโน}} (cf. {{NonRefTerm|202}}) เป็นแหล่งข้อมูลหลักในเรื่อง{{TextTerm|สภาพของประชากร|8|201|IndexEntry=สภาพของประชากร}} {{NonRefTerm|สถิติชีพ}} ({{RefNumber|21|2|1}}) เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการศึกษาเรื่อง{{TextTerm|การเพิ่มประชากร|9|201}} (cf.{{NonRefTerm|701}}) บางครั้งสถิติชีพเกี่ยวข้องกับ{{TextTerm|การเพิ่มตามธรรมชาติ|10|201}}เท่านั้น กล่าวคือ สถิติชีพไม่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายระหว่างประชากรที่ศึกษากับประชากรอื่น แต่กล่าวตามหลักเหตุผลแล้ว{{NonRefTerm|สถิติการย้ายถิ่น}} ({{RefNumber|81|2|1}}) เป็นส่วนหนึ่งของสถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การเคลื่อนย้ายประชากร|11|201}}ใช้เพื่อหมายถึงการเคลื่อนย้ายทางภูมิศาสตร์ของประชากร
  
 
=== 202 ===
 
=== 202 ===
  
{{TextTerm|สำมะโนประชากร|1|202|IndexEntry=สำมะโนประชากร|OtherIndexEntry=ประชากร, สำมะโน}}ทำขึ้นเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ{{NonRefTerm|สภาพของประชากร}} ({{RefNumber|20|1|8}}) ณ เวลาหนึ่ง ในสำมะโนประชากรส่วนมาก ผู้อยู่อาศัยทั้งหมดของประเทศหนึ่งจะถูกนับพร้อมๆ กัน สำมะโนอย่างนี้เรียกว่า{{TextTerm|สำมะโนทั่วไป|2|202}} อย่างไรก็ตาม บางครั้งจะนับเพียงบางส่วนของประชากร ได้แก่ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่หนึ่ง ในกรณีนี้จะเรียกว่า{{TextTerm|สำมะโนบางส่วน|3|202}} อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่า "สำมะโน" สื่อแสดงถึงความพยายามที่จะแจงนับสมาชิกทุกคนของประชากรที่เกี่ยวข้องและเพื่อที่จะได้{{TextTerm|การคุ้มรวมสมบูรณ์|4|202|OtherIndexEntry=คุ้มรวมสมบูรณ์, การ}}ของประชากร {{TextTerm|จุลสำมะโน|5|202}}จำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มตัวอย่างของประชากร ปรกติมีขนาดใหญ่และจัดอยู่ในประเภทของ{{TextTerm|การสำรวจตัวอย่าง|6|202|IndexEntry=การสำรวจตัวอย่าง|OtherIndexEntry=ตัวอย่าง, การสำรวจ}} สำมะโนหรือการสำรวจบางครั้งนำมาก่อนด้วย{{TextTerm|การทดสอบก่อน|7|202|IndexEntry=การทดสอบก่อน}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจนำร่อง|7|202|2|IndexEntry=การสำรวจนำร่อง}}   เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการแจงนับ ({{RefNumber|23|0|2}}) {{TextTerm|การตรวจสอบหลังการแจงนับ|8|202|9}}ด้วย{{TextTerm|การสำรวจหลังการแจงนับ|9|202|OtherIndexEntry=หลังการแจงนับ, การสำรวจ}}จะทำขึ้นหลังจากสำมะโน
+
{{TextTerm|สำมะโนประชากร|1|202|IndexEntry=สำมะโนประชากร}}ทำขึ้นเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ{{NonRefTerm|สภาพของประชากร}} ({{RefNumber|20|1|8}}) ณ เวลาหนึ่ง ในสำมะโนประชากรส่วนมาก ผู้อยู่อาศัยทั้งหมดของประเทศหนึ่งจะถูกนับพร้อมๆ กัน สำมะโนอย่างนี้เรียกว่า{{TextTerm|สำมะโนทั่วไป|2|202}} อย่างไรก็ตาม บางครั้งจะนับเพียงบางส่วนของประชากร ได้แก่ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่หนึ่ง ในกรณีนี้จะเรียกว่า{{TextTerm|สำมะโนบางส่วน|3|202}} อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่า "สำมะโน" สื่อแสดงถึงความพยายามที่จะแจงนับสมาชิกทุกคนของประชากรที่เกี่ยวข้องและเพื่อที่จะได้{{TextTerm|การคุ้มรวมสมบูรณ์|4|202}}ของประชากร {{TextTerm|จุลสำมะโน|5|202}}จำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มตัวอย่างของประชากร ปรกติมีขนาดใหญ่และจัดอยู่ในประเภทของ{{TextTerm|การสำรวจตัวอย่าง|6|202|IndexEntry=การสำรวจตัวอย่าง}} สำมะโนหรือการสำรวจบางครั้งนำมาก่อนด้วย{{TextTerm|การทดสอบก่อน|7|202|IndexEntry=การทดสอบก่อน}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจนำร่อง|7|202|2|IndexEntry=การสำรวจนำร่อง}} เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการแจงนับ ({{RefNumber|23|0|2}}) {{TextTerm|การตรวจสอบหลังการแจงนับ|8|202|9}}ด้วย{{TextTerm|การสำรวจหลังการแจงนับ|9|202}}จะทำขึ้นหลังจากสำมะโน
 
{{Note|1| {{NoteTerm|ช่วงเวลาระหว่างสำมะโน}}เป็นเวลาระหว่างสำมะโนสองครั้งติดต่อกัน <br />สำมะโนสมัยใหม่สอดคล้องกับสิ่งที่เคยเรียกว่า{{NoteTerm|การนับหัว}}  คำว่า{{NoteTerm|การนับประชากร}}รวมกระบวนการคาดประมาณซึ่งใช้วิธีนับคนที่มา{{NonRefTerm|รับศีลมหาสนิท}} ({{RefNumber|21|4|2}}) ที่จดทะเบียนไว้หลายๆ ปี หรือนับ{{NonRefTerm|ครอบครัว}} ({{RefNumber|11|0|3}}) หรือแม้กระทั่ง{{NonRefTerm|แพริช}} ({{RefNumber|21|4|1}})}}
 
{{Note|1| {{NoteTerm|ช่วงเวลาระหว่างสำมะโน}}เป็นเวลาระหว่างสำมะโนสองครั้งติดต่อกัน <br />สำมะโนสมัยใหม่สอดคล้องกับสิ่งที่เคยเรียกว่า{{NoteTerm|การนับหัว}}  คำว่า{{NoteTerm|การนับประชากร}}รวมกระบวนการคาดประมาณซึ่งใช้วิธีนับคนที่มา{{NonRefTerm|รับศีลมหาสนิท}} ({{RefNumber|21|4|2}}) ที่จดทะเบียนไว้หลายๆ ปี หรือนับ{{NonRefTerm|ครอบครัว}} ({{RefNumber|11|0|3}}) หรือแม้กระทั่ง{{NonRefTerm|แพริช}} ({{RefNumber|21|4|1}})}}
  
 
=== 203 ===
 
=== 203 ===
  
{{TextTerm|การแจงนับ|1|203}}คือปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้จำนวนรวมประชากร การแจงนับแตกต่างจาก{{TextTerm|การนับ|2|203}}ธรรมดา ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการเตรียม{{TextTerm|บัญชีรายชื่อ|3|203}}ไว้ก่อน ในอีกด้านหนึ่ง{{TextTerm|การสอบถาม|4|203}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจ|4|203|2}} โดยทั่วไปเป็นปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้ข้อมูลเฉพาะเรื่อง (เช่น แรงงาน) และมีวัตถุประสงค์จำกัด {{TextTerm|การสอบถามภาคสนาม|5|203|OtherIndexEntry=ภาคสนาม, การตรวจสอบ}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจภาคสนาม|5|203|2|OtherIndexEntry=ภาคสนาม, การสำรวจ}}เป็นการตรวจสอบศึกษาซึ่งข้อมูลได้มาจาก{{TextTerm|การสัมภาษณ์ส่วนตัว|6|203}} ใน{{TextTerm|การสอบถามทางไปรษณีย์|7|203|IndexEntry=การสอบถามทางไปรษณีย์|OtherIndexEntry=ทางไปรษณีย์, การสอบถาม}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจแบบส่งกลับทางไปรษณีย์|7|203|2|IndexEntry=การสำรวจแบบส่งกลับทางไปรษณีย์|OtherIndexEntry=แบบส่งกลับทางไปรษณีย์, การสำรวจ}} {{NonRefTerm|แบบสอบถาม}} ({{RefNumber|20|6|3}})จะส่งไปทางไปรษณีย์โดยขอให้ผู้ตอบส่งกลับเมื่อทำเสร็จ {{TextTerm|การสำรวจย้อนเวลา|8|203|OtherIndexEntry=ย้อนเวลา, การสำรวจ}}มุ่งสนใจต่อเหตุการณ์ทางประชากรในอดีต ใน{{TextTerm|การสำรวจหลายรอบ|9|203|OtherIndexEntry=หลายรอบ, การสำรวจ}} เหตุการณ์ทางประชากรที่เกิดขึ้นตั้งแต่การสำรวจรอบก่อนจะถูกบันทึกไว้จากรอบที่สองเป็นต้นมา การสำรวจประเภทนี้จะต้องไม่นำไปปะปนกับ{{TextTerm|การย้อนตามแบบสอบถาม|10|203}} ศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบายกรณีที่พนักงานสัมภาษณ์ต้องใช้ความพยายามหลายครั้งเพื่อเข้าถึงตัวผู้ตอบคำถาม ในสำมะโน อาจได้ข้อมูลโดย{{TextTerm|การสัมภาษณ์ตรง|11|203}} หรือโดย{{TextTerm|การแจงนับด้วยตนเอง|12|203}} ในการสัมภาษณ์ตรงซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|วิธีสอบถามอย่างละเอียด|11|203|2}}ก็ได้ {{NonRefTerm|พนักงานสัมภาษณ์}} ({{RefNumber|20|4|2}}) บันทึกข้อมูลที่ผู้ตอบคำถามให้เกี่ยวกับตัวเขา ในการแจงนับด้วยตนเองซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|วิธีคนในครัวเรือนตอบเอง|12|203|2}} แบบสอบถามจะถูกกรอกโดย{{NonRefTerm|ผู้ตอบ}} ({{RefNumber|20|4|1}})เอง การแจงนับด้วยตนเองอาจอยู่ในรูปแบบของ{{TextTerm|สำมะโนทางไปรษณีย์|13|203|OtherIndexEntry=ทางไปรษณีย์, สำมะโน}}
+
{{TextTerm|การแจงนับ|1|203}}คือปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้จำนวนรวมประชากร การแจงนับแตกต่างจาก{{TextTerm|การนับ|2|203}}ธรรมดา ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการเตรียม{{TextTerm|บัญชีรายชื่อ|3|203}}ไว้ก่อน ในอีกด้านหนึ่ง{{TextTerm|การสอบถาม|4|203}}หรือ{{TextTerm|การสำรวจ|4|203|2}}โดยทั่วไปเป็นปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้ข้อมูลเฉพาะเรื่อง (เช่น แรงงาน) และมีวัตถุประสงค์จำกัด {{TextTerm|การสอบถามภาคสนาม|5|203}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจภาคสนาม|5|203|2}}เป็นการตรวจสอบศึกษาซึ่งข้อมูลได้มาจาก{{TextTerm|การสัมภาษณ์ส่วนตัว|6|203}} ใน{{TextTerm|การสอบถามทางไปรษณีย์|7|203|IndexEntry=การสอบถามทางไปรษณีย์}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจแบบส่งกลับทางไปรษณีย์|7|203|2|IndexEntry=การสำรวจแบบส่งกลับทางไปรษณีย์}} {{NonRefTerm|แบบสอบถาม}} ({{RefNumber|20|6|3}})จะส่งไปทางไปรษณีย์โดยขอให้ผู้ตอบส่งกลับเมื่อทำเสร็จ {{TextTerm|การสำรวจย้อนเวลา|8|203}}มุ่งสนใจต่อเหตุการณ์ทางประชากรในอดีต ใน{{TextTerm|การสำรวจหลายรอบ|9|203}} เหตุการณ์ทางประชากรที่เกิดขึ้นตั้งแต่การสำรวจรอบก่อนจะถูกบันทึกไว้จากรอบที่สองเป็นต้นมา การสำรวจประเภทนี้จะต้องไม่นำไปปะปนกับ{{TextTerm|การย้อนตามแบบสอบถาม|10|203}} ศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบายกรณีที่พนักงานสัมภาษณ์ต้องใช้ความพยายามหลายครั้งเพื่อเข้าถึงตัวผู้ตอบคำถาม ในสำมะโน อาจได้ข้อมูลโดย{{TextTerm|การสัมภาษณ์ตรง|11|203}} หรือโดย{{TextTerm|การแจงนับด้วยตนเอง|12|203}} ในการสัมภาษณ์ตรงซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|วิธีสอบถามอย่างละเอียด|11|203|2}}ก็ได้ {{NonRefTerm|พนักงานสัมภาษณ์}} ({{RefNumber|20|4|2}}) บันทึกข้อมูลที่ผู้ตอบคำถามให้เกี่ยวกับตัวเขา ในการแจงนับด้วยตนเองซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|วิธีคนในครัวเรือนตอบเอง|12|203|2}} แบบสอบถามจะถูกกรอกโดย{{NonRefTerm|ผู้ตอบ}} ({{RefNumber|20|4|1}}) เอง การแจงนับด้วยตนเองอาจอยู่ในรูปแบบของ{{TextTerm|สำมะโนทางไปรษณีย์|13|203}}
  
 
=== 204 ===
 
=== 204 ===
  
 
บุคคลผู้ตอบคำถามใน{{NonRefTerm|สำมะโน}} ({{RefNumber|20|2|1}}) หรือ{{NonRefTerm|การสำรวจ}} ({{RefNumber|20|3|4}}) เรียกว่า{{TextTerm|ผู้ตอบ|1|204|IndexEntry=ผู้ตอบ}} หรือ{{TextTerm|ผู้ให้ข้อมูล|1|204|2|IndexEntry=ผู้ให้ข้อมูล}} บุคคลผู้{{NonRefTerm|รวบรวม}} ({{RefNumber|13|0|4}}) ข้อมูลเรียกว่า{{TextTerm|พนักงานสัมภาษณ์|2|204|IndexEntry=พนักงานสัมภาษณ์}} {{TextTerm|พนักงานสนาม|2|204|2|IndexEntry=พนักงานสนาม}} หรือ{{TextTerm|พนักงานแจงนับ|2|204|3|IndexEntry=พนักงานแจงนับ}} ศัพท์คำว่าพนักงานแจงนับปรกติจะสงวนไว้ใช้กับบุคคลที่รวบรวมข้อมูลในการทำสำมะโน ปรกติพนักงานแจงนับทำงานภายใต้การควบคุมของ{{TextTerm|ผู้ควบคุมงานสนาม|3|204|IndexEntry=ผู้ควบคุมงานสนาม}} หรือ{{TextTerm|ผู้ตรวจสอบงานสนาม|3|204|2|IndexEntry=ผู้ตรวจสอบงานสนาม}} {{NonRefTerm|สำมะโนทั่วไป}} ({{RefNumber|20|2|2}}) ปรกติจะดำเนินการโดย{{TextTerm|หน่วยงานสถิติ|4|204|IndexEntry=หน่วยงานสถิติ}}ของแต่ละประเทศ
 
บุคคลผู้ตอบคำถามใน{{NonRefTerm|สำมะโน}} ({{RefNumber|20|2|1}}) หรือ{{NonRefTerm|การสำรวจ}} ({{RefNumber|20|3|4}}) เรียกว่า{{TextTerm|ผู้ตอบ|1|204|IndexEntry=ผู้ตอบ}} หรือ{{TextTerm|ผู้ให้ข้อมูล|1|204|2|IndexEntry=ผู้ให้ข้อมูล}} บุคคลผู้{{NonRefTerm|รวบรวม}} ({{RefNumber|13|0|4}}) ข้อมูลเรียกว่า{{TextTerm|พนักงานสัมภาษณ์|2|204|IndexEntry=พนักงานสัมภาษณ์}} {{TextTerm|พนักงานสนาม|2|204|2|IndexEntry=พนักงานสนาม}} หรือ{{TextTerm|พนักงานแจงนับ|2|204|3|IndexEntry=พนักงานแจงนับ}} ศัพท์คำว่าพนักงานแจงนับปรกติจะสงวนไว้ใช้กับบุคคลที่รวบรวมข้อมูลในการทำสำมะโน ปรกติพนักงานแจงนับทำงานภายใต้การควบคุมของ{{TextTerm|ผู้ควบคุมงานสนาม|3|204|IndexEntry=ผู้ควบคุมงานสนาม}} หรือ{{TextTerm|ผู้ตรวจสอบงานสนาม|3|204|2|IndexEntry=ผู้ตรวจสอบงานสนาม}} {{NonRefTerm|สำมะโนทั่วไป}} ({{RefNumber|20|2|2}}) ปรกติจะดำเนินการโดย{{TextTerm|หน่วยงานสถิติ|4|204|IndexEntry=หน่วยงานสถิติ}}ของแต่ละประเทศ
{{Note|4| ในประเทศสหรัฐอเมริกา หน่วยงานที่รับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรได้แก่ {{NoteTerm|Bureau of the Census}} ในอังกฤษและเวลส์ {{NoteTerm|General Register Office}} ในสก๊อตแลนด์คือ{{NoteTerm|General Registry Office}} สำหรับประเทศไทย {{NoteTerm|สำนักงานสถิติแห่งชาติ}}รับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรตั้งแต่สำมะโนครั้งที่ 6 (พ.ศ.2503) เป็นต้นมา}}
+
{{Note|4| ในประเทศสหรัฐอเมริกา หน่วยงานที่รับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรได้แก่ {{NoteTerm|Bureau of the Census}} ในอังกฤษและเวลส์ {{NoteTerm|General Register Office}} ในสก๊อตแลนด์คือ{{NoteTerm|General Registry Office}} สำหรับประเทศไทย {{NoteTerm|สำนักงานสถิติแห่งชาติ}}รับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรตั้งแต่สำมะโนครั้งที่ 6 (พ.ศ.2503) เป็นต้นมา}}
  
 
=== 205 ===
 
=== 205 ===
  
ปรกติสำมะโนมี{{TextTerm|ลักษณะบังคับ|1|205}} กล่าวคือ{{NonRefTerm|ผู้ตอบ}} ({{RefNumber|20|4|1}})อยู่ภายใต้ข้อผูกมัดทางกฎหมายที่จะต้องให้ข้อมูลตามที่ขอ ในแง่นี้ สำมะโนแตกต่างจาก{{TextTerm|การสอบถามโดยสมัครใจ|2|205|IndexEntry=การสอบถามโดยสมัครใจ|OtherIndexEntry=โดยสมัครใจ, การสอบถาม}} (cf. {{RefNumber|20|3|4}}) ซึ่ง{{TextTerm|การไม่ตอบ|3|205}}อาจเป็นปัญหาสำคัญ การไม่ตอบเป็นปัญหาสำคัญโดยเฉพาะกับ{{NonRefTerm|การสอบถามทางไปรษณีย์}} ({{RefNumber|20|3|7}}) ซึ่งจำเป็นต้อง{{TextTerm|ติดตามผล|4|205}}แบบสอบถามชุดแรกด้วยการส่งชุดที่สอง และบางครั้งด้วยการตามไปพบตัว {{TextTerm|ผู้ไม่ตอบ|5|205|IndexEntry=ผู้ไม่ตอบ}}มักจะแบ่งออกเป็น{{TextTerm|ผู้ปฏิเสธ|6|205}} ได้แก่ ผู้ที่ไม่เต็มใจจะร่วมมือในการศึกษา และผู้ที่{{NonRefTerm|พนักงานสัมภาษณ์}} ({{RefNumber|20|4|2}})ไม่สามารถพบตัวได้ ผู้ไม่สามารถพบตัวได้จะถูกนับว่าเป็น{{TextTerm|ผู้ไม่อยู่|7|205|IndexEntry=ผู้ไม่อยู่}} หรือ{{TextTerm|ติดต่อไม่ได้|7|205|2|IndexEntry=ติดต่อไม่ได้}} {{TextTerm|สัดส่วนของการปฏิเสธ|8|205}}ในการตอบคำถามหนึ่งเป็นดัชนีที่มีประโยชน์ของปฏิกิริยาของผู้ตอบ การแทนที่ของหน่วยตัวอย่างที่ใช้ไม่ได้ด้วยหน่วยอื่นจะอ้างถึงว่าเป็น{{TextTerm|การแทนที่|9|205}}
+
ปรกติสำมะโนมี{{TextTerm|ลักษณะบังคับ|1|205}} กล่าวคือ{{NonRefTerm|ผู้ตอบ}} ({{RefNumber|20|4|1}}) อยู่ภายใต้ข้อผูกมัดทางกฎหมายที่จะต้องให้ข้อมูลตามที่ขอ ในแง่นี้ สำมะโนแตกต่างจาก{{TextTerm|การสอบถามโดยสมัครใจ|2|205|IndexEntry=การสอบถามโดยสมัครใจ}} (cf.{{RefNumber|20|3|4}}) ซึ่ง{{TextTerm|การไม่ตอบ|3|205}}อาจเป็นปัญหาสำคัญ การไม่ตอบเป็นปัญหาสำคัญโดยเฉพาะกับ{{NonRefTerm|การสอบถามทางไปรษณีย์}} ({{RefNumber|20|3|7}}) ซึ่งจำเป็นต้อง{{TextTerm|ติดตามผล|4|205}}แบบสอบถามชุดแรกด้วยการส่งชุดที่สอง และบางครั้งด้วยการตามไปพบตัว {{TextTerm|ผู้ไม่ตอบ|5|205|IndexEntry=ผู้ไม่ตอบ}}มักจะแบ่งออกเป็น{{TextTerm|ผู้ปฏิเสธ|6|205}} ได้แก่ ผู้ที่ไม่เต็มใจจะร่วมมือในการศึกษา และผู้ที่{{NonRefTerm|พนักงานสัมภาษณ์}} ({{RefNumber|20|4|2}}) ไม่สามารถพบตัวได้ ผู้ไม่สามารถพบตัวได้จะถูกนับว่าเป็น{{TextTerm|ผู้ไม่อยู่|7|205|IndexEntry=ผู้ไม่อยู่}} หรือ{{TextTerm|ติดต่อไม่ได้|7|205|2|IndexEntry=ติดต่อไม่ได้}} {{TextTerm|สัดส่วนของการปฏิเสธ|8|205}}ในการตอบคำถามหนึ่งเป็นดัชนีที่มีประโยชน์ของปฏิกิริยาของผู้ตอบ การแทนที่ของหน่วยตัวอย่างที่ใช้ไม่ได้ด้วยหน่วยอื่นจะอ้างถึงว่าเป็น{{TextTerm|การแทนที่|9|205}}
  
 
=== 206 ===
 
=== 206 ===
แถว 35: แถว 35:
 
=== 207 ===
 
=== 207 ===
  
{{NonRefTerm|รายการคำถาม}} ({{RefNumber|20|6|2}}) สำมะโน อาจเป็น{{TextTerm|รายการคำถามส่วนบุคคล|1|207|OtherIndexEntry=ส่วนบุคคล, รายการคำถาม}}ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลเดียวเท่านั้น {{TextTerm|รายการคำถามครัวเรือน|2|207|OtherIndexEntry=ครัวเรือน, รายการคำถาม}} ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกแต่ละคนของ{{NonRefTerm|ครัวเรือน}} ({{RefNumber|11|0|3}}) หรือ{{TextTerm|รายการคำถามรวม|3|207}} {{TextTerm|บัญชีรายชื่อ|3|207|2}} หรือ{{TextTerm|รายการคำถามของพนักงานแจงนับ|3|207|3|IndexEntry=รายการคำถามของพนักงานแจงนับ}}ซึ่ง{{NonRefTerm|พนักงานแจงนับ}} ({{RefNumber|20|4|2}}) ใส่ข้อมูลเป็นลำดับต่อเนื่องกันสำหรับทุกคนที่เขาแจงนับ อาจมีรายการคำถามพิเศษสำหรับ{{NonRefTerm|ประชากรสถาบัน}} ({{RefNumber|31|0|7}}) ซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|รายการคำถามสถาบัน|4|207|IndexEntry=รายการคำถามสถาบัน}}
+
{{NonRefTerm|รายการคำถาม}} ({{RefNumber|20|6|2}}) สำมะโน อาจเป็น{{TextTerm|รายการคำถามส่วนบุคคล|1|207}}ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลเดียวเท่านั้น {{TextTerm|รายการคำถามครัวเรือน|2|207}} ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกแต่ละคนของ{{NonRefTerm|ครัวเรือน}} ({{RefNumber|11|0|3}}) หรือ{{TextTerm|รายการคำถามรวม|3|207}} {{TextTerm|บัญชีรายชื่อ|3|207|2}} หรือ{{TextTerm|รายการคำถามของพนักงานแจงนับ|3|207|3|IndexEntry=รายการคำถามของพนักงานแจงนับ}}ซึ่ง{{NonRefTerm|พนักงานแจงนับ}} ({{RefNumber|20|4|2}}) ใส่ข้อมูลเป็นลำดับต่อเนื่องกันสำหรับทุกคนที่เขาแจงนับ อาจมีรายการคำถามพิเศษสำหรับ{{NonRefTerm|ประชากรสถาบัน}} ({{RefNumber|31|0|7}}) ซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|รายการคำถามสถาบัน|4|207|IndexEntry=รายการคำถามสถาบัน}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 10:52, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


201

สถิติประชากรปัจจุบัน1อาจแยกออกจาก สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร2 สถิติประชากรปัจจุบันเกี่ยวข้องกับลักษณะคงที่ของเรื่องและให้ภาพฉับพลันของประชากร ณ เวลาหนึ่ง หน่วยสถิติ (110-1) ที่ใช้โดยทั่วไปเป็นครัวเรือน (110-3) บุคคล (110-2) ฯลฯ สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่อเนื่องของการเปลี่ยนแปลงซึ่งกระทบต่อประชากร และเกี่ยวข้องอย่างมากกับ เหตุการณ์ชีพ3 อย่างเช่นการเกิด การแต่งงาน และการย้ายถิ่น (801-1) เหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่4 (ได้แก่การตาย) อาจแยกออกจาก เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้5 อย่างเช่น การตั้งครรภ์ การเกิด หรือการเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้จะได้รับ ลำดับ6ขึ้นอยู่กับจำนวนของเหตุการณ์ลักษณะเดียวกันที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้นกับบุคคลเดียวกัน สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเป็นแหล่งข้อมูลหลักสำหรับการศึกษา กระบวนการทางประชากร7ที่บางครั้งเรียกว่า พลวัตประชากร7 สำมะโน (cf. 202) เป็นแหล่งข้อมูลหลักในเรื่อง สภาพของประชากร8 สถิติชีพ (212-1) เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการศึกษาเรื่อง การเพิ่มประชากร9 (cf.701) บางครั้งสถิติชีพเกี่ยวข้องกับ การเพิ่มตามธรรมชาติ10เท่านั้น กล่าวคือ สถิติชีพไม่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายระหว่างประชากรที่ศึกษากับประชากรอื่น แต่กล่าวตามหลักเหตุผลแล้วสถิติการย้ายถิ่น (812-1) เป็นส่วนหนึ่งของสถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร ศัพท์คำว่า การเคลื่อนย้ายประชากร11ใช้เพื่อหมายถึงการเคลื่อนย้ายทางภูมิศาสตร์ของประชากร

202

สำมะโนประชากร1ทำขึ้นเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพของประชากร (201-8) ณ เวลาหนึ่ง ในสำมะโนประชากรส่วนมาก ผู้อยู่อาศัยทั้งหมดของประเทศหนึ่งจะถูกนับพร้อมๆ กัน สำมะโนอย่างนี้เรียกว่า สำมะโนทั่วไป2 อย่างไรก็ตาม บางครั้งจะนับเพียงบางส่วนของประชากร ได้แก่ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่หนึ่ง ในกรณีนี้จะเรียกว่า สำมะโนบางส่วน3 อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่า "สำมะโน" สื่อแสดงถึงความพยายามที่จะแจงนับสมาชิกทุกคนของประชากรที่เกี่ยวข้องและเพื่อที่จะได้ การคุ้มรวมสมบูรณ์4ของประชากร จุลสำมะโน5จำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มตัวอย่างของประชากร ปรกติมีขนาดใหญ่และจัดอยู่ในประเภทของ การสำรวจตัวอย่าง6 สำมะโนหรือการสำรวจบางครั้งนำมาก่อนด้วย การทดสอบก่อน7 หรือ การสำรวจนำร่อง7 เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการแจงนับ (230-2) การตรวจสอบหลังการแจงนับ8ด้วย การสำรวจหลังการแจงนับ9จะทำขึ้นหลังจากสำมะโน

  • 1. ช่วงเวลาระหว่างสำมะโนเป็นเวลาระหว่างสำมะโนสองครั้งติดต่อกัน
    สำมะโนสมัยใหม่สอดคล้องกับสิ่งที่เคยเรียกว่าการนับหัว คำว่าการนับประชากรรวมกระบวนการคาดประมาณซึ่งใช้วิธีนับคนที่มารับศีลมหาสนิท (214-2) ที่จดทะเบียนไว้หลายๆ ปี หรือนับครอบครัว (110-3) หรือแม้กระทั่งแพริช (214-1)

203

การแจงนับ1คือปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้จำนวนรวมประชากร การแจงนับแตกต่างจาก การนับ2ธรรมดา ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการเตรียม บัญชีรายชื่อ3ไว้ก่อน ในอีกด้านหนึ่ง การสอบถาม4หรือ การสำรวจ4โดยทั่วไปเป็นปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้ข้อมูลเฉพาะเรื่อง (เช่น แรงงาน) และมีวัตถุประสงค์จำกัด การสอบถามภาคสนาม5 หรือ การสำรวจภาคสนาม5เป็นการตรวจสอบศึกษาซึ่งข้อมูลได้มาจาก การสัมภาษณ์ส่วนตัว6 ใน การสอบถามทางไปรษณีย์7 หรือ การสำรวจแบบส่งกลับทางไปรษณีย์7 แบบสอบถาม (206-3)จะส่งไปทางไปรษณีย์โดยขอให้ผู้ตอบส่งกลับเมื่อทำเสร็จ การสำรวจย้อนเวลา8มุ่งสนใจต่อเหตุการณ์ทางประชากรในอดีต ใน การสำรวจหลายรอบ9 เหตุการณ์ทางประชากรที่เกิดขึ้นตั้งแต่การสำรวจรอบก่อนจะถูกบันทึกไว้จากรอบที่สองเป็นต้นมา การสำรวจประเภทนี้จะต้องไม่นำไปปะปนกับ การย้อนตามแบบสอบถาม10 ศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบายกรณีที่พนักงานสัมภาษณ์ต้องใช้ความพยายามหลายครั้งเพื่อเข้าถึงตัวผู้ตอบคำถาม ในสำมะโน อาจได้ข้อมูลโดย การสัมภาษณ์ตรง11 หรือโดย การแจงนับด้วยตนเอง12 ในการสัมภาษณ์ตรงซึ่งเรียกว่า วิธีสอบถามอย่างละเอียด11ก็ได้ พนักงานสัมภาษณ์ (204-2) บันทึกข้อมูลที่ผู้ตอบคำถามให้เกี่ยวกับตัวเขา ในการแจงนับด้วยตนเองซึ่งเรียกว่า วิธีคนในครัวเรือนตอบเอง12 แบบสอบถามจะถูกกรอกโดยผู้ตอบ (204-1) เอง การแจงนับด้วยตนเองอาจอยู่ในรูปแบบของ สำมะโนทางไปรษณีย์13

204

บุคคลผู้ตอบคำถามในสำมะโน (202-1) หรือการสำรวจ (203-4) เรียกว่า ผู้ตอบ1 หรือ ผู้ให้ข้อมูล1 บุคคลผู้รวบรวม (130-4) ข้อมูลเรียกว่า พนักงานสัมภาษณ์2 พนักงานสนาม2 หรือ พนักงานแจงนับ2 ศัพท์คำว่าพนักงานแจงนับปรกติจะสงวนไว้ใช้กับบุคคลที่รวบรวมข้อมูลในการทำสำมะโน ปรกติพนักงานแจงนับทำงานภายใต้การควบคุมของ ผู้ควบคุมงานสนาม3 หรือ ผู้ตรวจสอบงานสนาม3 สำมะโนทั่วไป (202-2) ปรกติจะดำเนินการโดย หน่วยงานสถิติ4ของแต่ละประเทศ

  • 4. ในประเทศสหรัฐอเมริกา หน่วยงานที่รับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรได้แก่ Bureau of the Census ในอังกฤษและเวลส์ General Register Office ในสก๊อตแลนด์คือGeneral Registry Office สำหรับประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติรับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรตั้งแต่สำมะโนครั้งที่ 6 (พ.ศ.2503) เป็นต้นมา

205

ปรกติสำมะโนมี ลักษณะบังคับ1 กล่าวคือผู้ตอบ (204-1) อยู่ภายใต้ข้อผูกมัดทางกฎหมายที่จะต้องให้ข้อมูลตามที่ขอ ในแง่นี้ สำมะโนแตกต่างจาก การสอบถามโดยสมัครใจ2 (cf.203-4) ซึ่ง การไม่ตอบ3อาจเป็นปัญหาสำคัญ การไม่ตอบเป็นปัญหาสำคัญโดยเฉพาะกับการสอบถามทางไปรษณีย์ (203-7) ซึ่งจำเป็นต้อง ติดตามผล4แบบสอบถามชุดแรกด้วยการส่งชุดที่สอง และบางครั้งด้วยการตามไปพบตัว ผู้ไม่ตอบ5มักจะแบ่งออกเป็น ผู้ปฏิเสธ6 ได้แก่ ผู้ที่ไม่เต็มใจจะร่วมมือในการศึกษา และผู้ที่พนักงานสัมภาษณ์ (204-2) ไม่สามารถพบตัวได้ ผู้ไม่สามารถพบตัวได้จะถูกนับว่าเป็น ผู้ไม่อยู่7 หรือ ติดต่อไม่ได้7 สัดส่วนของการปฏิเสธ8ในการตอบคำถามหนึ่งเป็นดัชนีที่มีประโยชน์ของปฏิกิริยาของผู้ตอบ การแทนที่ของหน่วยตัวอย่างที่ใช้ไม่ได้ด้วยหน่วยอื่นจะอ้างถึงว่าเป็น การแทนที่9

206

แบบฟอร์ม1ที่ใช้สำหรับการรวบรวมข้อมูลมีชื่อเรียกแตกต่างกันหลายชื่อ ศัพท์คำว่า รายการคำถาม2ใช้กันบ่อยโดยเฉพาะในคำว่า รายการคำถามสำมะโน2 แบบฟอร์มส่วนมากเป็น แบบสอบถาม3 โดยเฉพาะเมื่อออกแบบมาให้ กรอกให้สมบูรณ์4โดยตัวผู้ตอบเอง ณ เวลาอื่น เจ้าหน้าที่ได้รับ ข้อความ5หรือ รายละเอียด6ซึ่ง สกัดออก7จากเอกสารที่เบื้องต้นไม่ได้ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางสถิติ ปรกติคำถามมีสองประเภท คำถามปลายปิด8ที่ผู้ตอบตอบโดยเลือกหนึ่งคำตอบจากคำตอบจำนวนจำกัดที่ใส่เป็นรายการไว้ในแบบสอบถาม หรือ คำถามปลายเปิด9ซึ่งผู้ตอบอาจให้คำตอบเอง

207

รายการคำถาม (206-2) สำมะโน อาจเป็น รายการคำถามส่วนบุคคล1ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลเดียวเท่านั้น รายการคำถามครัวเรือน2 ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกแต่ละคนของครัวเรือน (110-3) หรือ รายการคำถามรวม3 บัญชีรายชื่อ3 หรือ รายการคำถามของพนักงานแจงนับ3ซึ่งพนักงานแจงนับ (204-2) ใส่ข้อมูลเป็นลำดับต่อเนื่องกันสำหรับทุกคนที่เขาแจงนับ อาจมีรายการคำถามพิเศษสำหรับประชากรสถาบัน (310-7) ซึ่งเรียกว่า รายการคำถามสถาบัน4

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=20&oldid=726"