The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "20"

จาก Demopædia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' <!--'''20'''--> {{CurrentStatus}} {{Unmodified edition II}} {{Summary}} __NOTOC__ === 201 === {{TextTerm|Current population statist...')
 
 
(ไม่แสดง 19 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 201 ===
 
=== 201 ===
  
{{TextTerm|Current population statistics|1|201|OtherIndexEntry=statistics, current population}} may be distinguished from {{TextTerm|statistics of population change|2|201|OtherIndexEntry=population change, statistics of}}. They deal with the static aspects of the subject and give an instantaneous picture of the population at a given moment of time: the {{NonRefTerm|statistical units}} ({{RefNumber|11|0|1}}) used are generally {{NonRefTerm|households}} ({{RefNumber|11|0|3}}), {{NonRefTerm|individuals}} ({{RefNumber|11|0|2}}), etc. Statistics of population change are concerned with the continuous processes of change which affect a population, and deal largely with {{TextTerm|vital events|3|201|IndexEntry=vital event|OtherIndexEntry=event, vital}},such as births, marriages, deaths, and with migration ({{RefNumber|80|1|1}}). {{TextTerm|Nonrenewable events|4|201|IndexEntry=nonrenewable event|OtherIndexEntry=event, nonrenewable}} (e.g. deaths) may be distinguished from {{TextTerm|renewable events|5|201|IndexEntry=renewable event|OtherIndexEntry=event, renewable}} such as pregnancies, births or migratory moves; renewable events are assigned an {{TextTerm|order|6|201}} based on the number of previous events of the same nature for the same person. Statistics of population change are a principal source for the study of {{TextTerm|population processes|7|201|OtherIndexEntry=processes, population}}, sometimes called {{TextTerm|population dynamics|7|201|2|OtherIndexEntry=dynamics, population}}. {{NonRefTerm|Censuses}} (cf. {{NonRefTerm|202}}) are the main source of information on the {{TextTerm|state of the population|8|201|OtherIndexEntry=population, state of the}} . {{NonRefTerm|Vital Statistics}} ({{RefNumber|21|2|1}}) are the primary source of data for the study of {{TextTerm|population growth|9|201|OtherIndexEntry=growth, population}} (cf. {{NonRefTerm|701}}). Occasionally they deal with {{TextTerm|natural increase|10|201|OtherIndexEntry=increase, natural}} only, i.e. they do not take into account movement between the population studied and other populations, but logically {{NonRefTerm|migration statistics}} ({{RefNumber|81|2|1}}) are a part of the statistics of population change.
+
{{TextTerm|สถิติประชากรปัจจุบัน|1|201|IndexEntry=สถิติประชากรปัจจุบัน}}อาจแยกออกจาก{{TextTerm|สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร|2|201|IndexEntry=สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร}} สถิติประชากรปัจจุบันเกี่ยวข้องกับลักษณะคงที่ของเรื่องและให้ภาพฉับพลันของประชากร ณ เวลาหนึ่ง {{NonRefTerm|หน่วยสถิติ}} ({{RefNumber|11|0|1}}) ที่ใช้โดยทั่วไปเป็น{{NonRefTerm|ครัวเรือน}} ({{RefNumber|11|0|3}}) {{NonRefTerm|บุคคล}} ({{RefNumber|11|0|2}}) ฯลฯ สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่อเนื่องของการเปลี่ยนแปลงซึ่งกระทบต่อประชากร และเกี่ยวข้องอย่างมากกับ{{TextTerm|เหตุการณ์ชีพ|3|201|IndexEntry=เหตุการณ์ชีพ}} อย่างเช่นการเกิด การแต่งงาน และ{{NonRefTerm|การย้ายถิ่น}} ({{RefNumber|80|1|1}}) {{TextTerm|เหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่|4|201|IndexEntry=เหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่}} (ได้แก่การตาย) อาจแยกออกจาก{{TextTerm|เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้|5|201|IndexEntry=เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้}} อย่างเช่น การตั้งครรภ์ การเกิด หรือการเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้จะได้รับ{{TextTerm|ลำดับ|6|201}}ขึ้นอยู่กับจำนวนของเหตุการณ์ลักษณะเดียวกันที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้นกับบุคคลเดียวกัน สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเป็นแหล่งข้อมูลหลักสำหรับการศึกษา{{TextTerm|กระบวนการทางประชากร|7|201}}ที่บางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|พลวัตประชากร|7|201|2}} {{NonRefTerm|สำมะโน}} (cf. {{NonRefTerm|202}}) เป็นแหล่งข้อมูลหลักในเรื่อง{{TextTerm|สภาพของประชากร|8|201|IndexEntry=สภาพของประชากร}} {{NonRefTerm|สถิติชีพ}} ({{RefNumber|21|2|1}}) เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการศึกษาเรื่อง{{TextTerm|การเพิ่มประชากร|9|201}} (cf.{{NonRefTerm|701}}) บางครั้งสถิติชีพเกี่ยวข้องกับ{{TextTerm|การเพิ่มตามธรรมชาติ|10|201}}เท่านั้น กล่าวคือ สถิติชีพไม่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายระหว่างประชากรที่ศึกษากับประชากรอื่น แต่กล่าวตามหลักเหตุผลแล้ว{{NonRefTerm|สถิติการย้ายถิ่น}} ({{RefNumber|81|2|1}}) เป็นส่วนหนึ่งของสถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร ศัพท์คำว่า{{TextTerm|การเคลื่อนย้ายประชากร|11|201}}ใช้เพื่อหมายถึงการเคลื่อนย้ายทางภูมิศาสตร์ของประชากร
{{Note|9| The term population movement is used to refer to the geographical movement of a population.}}
 
  
 
=== 202 ===
 
=== 202 ===
  
{{TextTerm|Population censuses|1|202|IndexEntry=population census|OtherIndexEntry=census, population}} are taken to obtain information about the {{NonRefTerm|state of the population}} ({{RefNumber|20|1|8}}) at a given time. Most commonly all inhabitants of a particular country are counted simultaneously:. the census is then called a {{TextTerm|general census|2|202|OtherIndexEntry=census, general}} Occasionally, however, only a section of the population is counted, e.g. the inhabitants of a given area, in which case the census is called a {{TextTerm|partial census|3|202|OtherIndexEntry=census, partial}}. The term "Census", however, denotes that an attempt was made to enumerate every member of the population concerned and to achieve {{TextTerm|complete coverage|4|202|OtherIndexEntry=coverage, complete}} of the population. A {{TextTerm|micro census|5|202}} is limited to a sample of the population, usually large in size, and belongs in the category of {{TextTerm|sample surveys|6|202|IndexEntry=sample survey|OtherIndexEntry=survey, sample}}. Censuses or surveys are sometimes preceded by {{TextTerm|pre-tests|7|202|IndexEntry=pre-test}} or {{TextTerm|pilot surveys|7|202|2|IndexEntry=pilot survey}}. A {{TextTerm|post-enumeration survey|9|202|OtherIndexEntry=survey, post-enumeration}} is taken after a census to verify the accuracy and completeness of enumeration.
+
{{TextTerm|สำมะโนประชากร|1|202|IndexEntry=สำมะโนประชากร}}ทำขึ้นเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ{{NonRefTerm|สภาพของประชากร}} ({{RefNumber|20|1|8}}) ณ เวลาหนึ่ง ในสำมะโนประชากรส่วนมาก ผู้อยู่อาศัยทั้งหมดของประเทศหนึ่งจะถูกนับพร้อมๆ กัน สำมะโนอย่างนี้เรียกว่า{{TextTerm|สำมะโนทั่วไป|2|202}} อย่างไรก็ตาม บางครั้งจะนับเพียงบางส่วนของประชากร ได้แก่ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่หนึ่ง ในกรณีนี้จะเรียกว่า{{TextTerm|สำมะโนบางส่วน|3|202}} อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่า "สำมะโน" สื่อแสดงถึงความพยายามที่จะแจงนับสมาชิกทุกคนของประชากรที่เกี่ยวข้องและเพื่อที่จะได้{{TextTerm|การคุ้มรวมสมบูรณ์|4|202}}ของประชากร {{TextTerm|จุลสำมะโน|5|202}}จำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มตัวอย่างของประชากร ปรกติมีขนาดใหญ่และจัดอยู่ในประเภทของ{{TextTerm|การสำรวจตัวอย่าง|6|202|IndexEntry=การสำรวจตัวอย่าง}} สำมะโนหรือการสำรวจบางครั้งนำมาก่อนด้วย{{TextTerm|การทดสอบก่อน|7|202|IndexEntry=การทดสอบก่อน}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจนำร่อง|7|202|2|IndexEntry=การสำรวจนำร่อง}} เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการแจงนับ ({{RefNumber|23|0|2}}) {{TextTerm|การตรวจสอบหลังการแจงนับ|8|202|9}}ด้วย{{TextTerm|การสำรวจหลังการแจงนับ|9|202}}จะทำขึ้นหลังจากสำมะโน
{{Note|1| {{NoteTerm|Census}}, n. - {{NoteTerm|censal}}, adj. The {{NoteTerm|intercensal period}} is the time elapsing between two successive censuses.<br />Modern censuses correspond to what used to be called {{NoteTerm|head counts}}. {{NoteTerm|Population counts}} included any estimation procedure, however imprecise, based for example on the counting of {{NonRefTerm|baptisms}} ({{RefNumber|21|4|2}}) registered for a number of years, or of {{NonRefTerm|hearths}} ({{RefNumber|11|0|3}}) or even {{NonRefTerm|parishes}} ({{RefNumber|21|4|1}}).}}
+
{{Note|1| {{NoteTerm|ช่วงเวลาระหว่างสำมะโน}}เป็นเวลาระหว่างสำมะโนสองครั้งติดต่อกัน <br />สำมะโนสมัยใหม่สอดคล้องกับสิ่งที่เคยเรียกว่า{{NoteTerm|การนับหัว}} คำว่า{{NoteTerm|การนับประชากร}}รวมกระบวนการคาดประมาณซึ่งใช้วิธีนับคนที่มา{{NonRefTerm|รับศีลมหาสนิท}} ({{RefNumber|21|4|2}}) ที่จดทะเบียนไว้หลายๆ ปี หรือนับ{{NonRefTerm|ครอบครัว}} ({{RefNumber|11|0|3}}) หรือแม้กระทั่ง{{NonRefTerm|แพริช}} ({{RefNumber|21|4|1}})}}
  
 
=== 203 ===
 
=== 203 ===
  
An {{TextTerm|enumeration|1|203}} is any operation which is designed to yield a population total. It differs from a simple {{TextTerm|count|2|203}} in that a {{TextTerm|list|3|203}} is generally prepared. An {{TextTerm|inquiry|4|203}} or {{TextTerm|survey|4|203|2}} on the other hand, is generally an operation which is designed to furnish information on a special subject (e.g. the labor force) and which has limited aims. A {{TextTerm|field inquiry|5|203|OtherIndexEntry=inquiry, field}} or {{TextTerm|field survey|5|203|2|OtherIndexEntry=survey, field}} is an inquiry in which information is obtained by {{TextTerm|personal interview|6|203|OtherIndexEntry=interview, personal}}. In {{TextTerm|postal inquiries|7|203|IndexEntry=postal inquiry|OtherIndexEntry=inquiry, postal}} or {{TextTerm|mailback surveys|7|203|2|IndexEntry=mailback survey|OtherIndexEntry=survey mailback}} {{NonRefTerm|questionnaires}} ({{RefNumber|20|6|3}}) are sent out by post with a request to return them completed. A {{TextTerm|retrospective survey|8|203|OtherIndexEntry=survey, retrospective}} focuses on past demographic events; in a {{TextTerm|multiround survey|9|203|OtherIndexEntry=survey, multiround}} those events that occurred since the previous survey are noted from the second round on. This type of survey should not be confused with a {{TextTerm|call back|10|203|OtherIndexEntry=back, call}}, a term used to describe the instance where the interviewer is obliged to make several attempts to reach a respondent. In censuses, information may be obtained by either {{TextTerm|direct interview|11|203|OtherIndexEntry=interview, direct}}, or by {{TextTerm|self-enumeration|12|203}}. In the first method, also called {{TextTerm|canvasser method|11|203|2|OtherIndexEntry=method, canvasser}} the enumerator ({{RefNumber|20|4|2}}) notes the information provided by or about the respondents; in the second method, also called {{TextTerm|householder method|12|203|2|OtherIndexEntry=method, householder}}, the questionnaire is completed by the {{NonRefTerm|respondents}} ({{RefNumber|20|4|1}}) themselves. Self-enumeration may take the form of a {{TextTerm|mail census|13|203|OtherIndexEntry=census, mail}}.
+
{{TextTerm|การแจงนับ|1|203}}คือปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้จำนวนรวมประชากร การแจงนับแตกต่างจาก{{TextTerm|การนับ|2|203}}ธรรมดา ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการเตรียม{{TextTerm|บัญชีรายชื่อ|3|203}}ไว้ก่อน ในอีกด้านหนึ่ง{{TextTerm|การสอบถาม|4|203}}หรือ{{TextTerm|การสำรวจ|4|203|2}}โดยทั่วไปเป็นปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้ข้อมูลเฉพาะเรื่อง (เช่น แรงงาน) และมีวัตถุประสงค์จำกัด {{TextTerm|การสอบถามภาคสนาม|5|203}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจภาคสนาม|5|203|2}}เป็นการตรวจสอบศึกษาซึ่งข้อมูลได้มาจาก{{TextTerm|การสัมภาษณ์ส่วนตัว|6|203}} ใน{{TextTerm|การสอบถามทางไปรษณีย์|7|203|IndexEntry=การสอบถามทางไปรษณีย์}} หรือ{{TextTerm|การสำรวจแบบส่งกลับทางไปรษณีย์|7|203|2|IndexEntry=การสำรวจแบบส่งกลับทางไปรษณีย์}} {{NonRefTerm|แบบสอบถาม}} ({{RefNumber|20|6|3}})จะส่งไปทางไปรษณีย์โดยขอให้ผู้ตอบส่งกลับเมื่อทำเสร็จ {{TextTerm|การสำรวจย้อนเวลา|8|203}}มุ่งสนใจต่อเหตุการณ์ทางประชากรในอดีต ใน{{TextTerm|การสำรวจหลายรอบ|9|203}} เหตุการณ์ทางประชากรที่เกิดขึ้นตั้งแต่การสำรวจรอบก่อนจะถูกบันทึกไว้จากรอบที่สองเป็นต้นมา การสำรวจประเภทนี้จะต้องไม่นำไปปะปนกับ{{TextTerm|การย้อนตามแบบสอบถาม|10|203}} ศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบายกรณีที่พนักงานสัมภาษณ์ต้องใช้ความพยายามหลายครั้งเพื่อเข้าถึงตัวผู้ตอบคำถาม ในสำมะโน อาจได้ข้อมูลโดย{{TextTerm|การสัมภาษณ์ตรง|11|203}} หรือโดย{{TextTerm|การแจงนับด้วยตนเอง|12|203}} ในการสัมภาษณ์ตรงซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|วิธีสอบถามอย่างละเอียด|11|203|2}}ก็ได้ {{NonRefTerm|พนักงานสัมภาษณ์}} ({{RefNumber|20|4|2}}) บันทึกข้อมูลที่ผู้ตอบคำถามให้เกี่ยวกับตัวเขา ในการแจงนับด้วยตนเองซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|วิธีคนในครัวเรือนตอบเอง|12|203|2}} แบบสอบถามจะถูกกรอกโดย{{NonRefTerm|ผู้ตอบ}} ({{RefNumber|20|4|1}}) เอง การแจงนับด้วยตนเองอาจอยู่ในรูปแบบของ{{TextTerm|สำมะโนทางไปรษณีย์|13|203}}
{{Note|1| {{NoteTerm|Enumeration}}, n. - {{NoteTerm|enumerate}}, v.}}
 
{{Note|2| {{NoteTerm|Count}}, n. - {{NoteTerm|count}}, v.}}
 
{{Note|3| {{NoteTerm|List}}, n. - {{NoteTerm|list}}, v.}}
 
{{Note|4| {{NoteTerm|Survey}}, n. - {{NoteTerm|survey}}, v.}}
 
  
 
=== 204 ===
 
=== 204 ===
  
Persons who answer questions in a {{NonRefTerm|census}} ({{RefNumber|20|2|1}}) or a {{NonRefTerm|survey}} ({{RefNumber|20|3|4}}) are called {{TextTerm|respondents|1|204|IndexEntry=respondent}} or {{TextTerm|informants|1|204|2|IndexEntry=informant}}. Persons who {{NonRefTerm|collect}} ({{RefNumber|13|0|4}}) the information are called {{TextTerm|interviewers|2|204|IndexEntry=interviewer}}, {{TextTerm|field workers|2|204|2|IndexEntry=field worker|OtherIndexEntry=worker, field}} or {{TextTerm|enumerators|2|204|3|IndexEntry=enumerator}}, the last term being usually reserved for persons collecting information in a census. Enumerators usually work under the control of {{TextTerm|supervisors|3|204|IndexEntry=supervisor}} or {{TextTerm|inspectors|3|204|2|IndexEntry=inspector}}. {{NonRefTerm|General censuses}} ({{RefNumber|20|2|2}}) are usually taken by the {{TextTerm|statistical departments|4|204|IndexEntry=statistical department|OtherIndexEntry=department, statistical}} of individual countries.
+
บุคคลผู้ตอบคำถามใน{{NonRefTerm|สำมะโน}} ({{RefNumber|20|2|1}}) หรือ{{NonRefTerm|การสำรวจ}} ({{RefNumber|20|3|4}}) เรียกว่า{{TextTerm|ผู้ตอบ|1|204|IndexEntry=ผู้ตอบ}} หรือ{{TextTerm|ผู้ให้ข้อมูล|1|204|2|IndexEntry=ผู้ให้ข้อมูล}} บุคคลผู้{{NonRefTerm|รวบรวม}} ({{RefNumber|13|0|4}}) ข้อมูลเรียกว่า{{TextTerm|พนักงานสัมภาษณ์|2|204|IndexEntry=พนักงานสัมภาษณ์}} {{TextTerm|พนักงานสนาม|2|204|2|IndexEntry=พนักงานสนาม}} หรือ{{TextTerm|พนักงานแจงนับ|2|204|3|IndexEntry=พนักงานแจงนับ}} ศัพท์คำว่าพนักงานแจงนับปรกติจะสงวนไว้ใช้กับบุคคลที่รวบรวมข้อมูลในการทำสำมะโน ปรกติพนักงานแจงนับทำงานภายใต้การควบคุมของ{{TextTerm|ผู้ควบคุมงานสนาม|3|204|IndexEntry=ผู้ควบคุมงานสนาม}} หรือ{{TextTerm|ผู้ตรวจสอบงานสนาม|3|204|2|IndexEntry=ผู้ตรวจสอบงานสนาม}} {{NonRefTerm|สำมะโนทั่วไป}} ({{RefNumber|20|2|2}}) ปรกติจะดำเนินการโดย{{TextTerm|หน่วยงานสถิติ|4|204|IndexEntry=หน่วยงานสถิติ}}ของแต่ละประเทศ
{{Note|4| In the United States of America the office responsible for the census is called the {{NoteTerm|Bureau of}} the {{NoteTerm|Census;}} in England and Wales it is the {{NoteTerm|General}} Register Office, in Scotland the {{NoteTerm|General Registry Office}}; both are headed by a {{NoteTerm|Registrar General}}.}}
+
{{Note|4| ในประเทศสหรัฐอเมริกา หน่วยงานที่รับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรได้แก่ {{NoteTerm|Bureau of the Census}} ในอังกฤษและเวลส์ {{NoteTerm|General Register Office}} ในสก๊อตแลนด์คือ{{NoteTerm|General Registry Office}} สำหรับประเทศไทย {{NoteTerm|สำนักงานสถิติแห่งชาติ}}รับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรตั้งแต่สำมะโนครั้งที่ 6 (พ.ศ.2503) เป็นต้นมา}}
  
 
=== 205 ===
 
=== 205 ===
  
Censuses are usually {{TextTerm|compulsory|1|205}}, i.e. {{NonRefTerm|respondents}} ({{RefNumber|20|4|1}}) are under a legal obligation to provide the required information; in this respect they are different from {{TextTerm|voluntary inquiries|2|205|IndexEntry=voluntary inquiry|OtherIndexEntry=inquiry, voluntary}} (cf. {{RefNumber|20|3|4}}), where the problem of {{TextTerm|non-response|3|205}} may become important This is particularly the case in {{NonRefTerm|postal inquiries}} ({{RefNumber|20|3|7}}), where it is often necessary to {{TextTerm|follow-up|4|205}} the first questionnaire by a second, or sometimes by a visit. {{TextTerm|Non-respondents|5|205|IndexEntry=non-respondent}} are frequently divided into those who {{TextTerm|refuse|6|205}}, i.e. who are unwilling to cooperate in the inquiry, and those who could not be found by the {{NonRefTerm|interviewer}} ({{RefNumber|20|4|2}}). The latter are counted as {{TextTerm|absentees|7|205|IndexEntry=absentee}} or {{TextTerm|no contacts|7|205|2|IndexEntry=no contact}}. The {{TextTerm|proportion of refusals|8|205|OtherIndexEntry=refusals, proportion of}} in response to a given question is an useful index of the reactions of the respondents. The replacement of an unusable sample unit with another unit is referred to as {{TextTerm|substitution|9|205}}. j
+
ปรกติสำมะโนมี{{TextTerm|ลักษณะบังคับ|1|205}} กล่าวคือ{{NonRefTerm|ผู้ตอบ}} ({{RefNumber|20|4|1}}) อยู่ภายใต้ข้อผูกมัดทางกฎหมายที่จะต้องให้ข้อมูลตามที่ขอ ในแง่นี้ สำมะโนแตกต่างจาก{{TextTerm|การสอบถามโดยสมัครใจ|2|205|IndexEntry=การสอบถามโดยสมัครใจ}} (cf.{{RefNumber|20|3|4}}) ซึ่ง{{TextTerm|การไม่ตอบ|3|205}}อาจเป็นปัญหาสำคัญ การไม่ตอบเป็นปัญหาสำคัญโดยเฉพาะกับ{{NonRefTerm|การสอบถามทางไปรษณีย์}} ({{RefNumber|20|3|7}}) ซึ่งจำเป็นต้อง{{TextTerm|ติดตามผล|4|205}}แบบสอบถามชุดแรกด้วยการส่งชุดที่สอง และบางครั้งด้วยการตามไปพบตัว {{TextTerm|ผู้ไม่ตอบ|5|205|IndexEntry=ผู้ไม่ตอบ}}มักจะแบ่งออกเป็น{{TextTerm|ผู้ปฏิเสธ|6|205}} ได้แก่ ผู้ที่ไม่เต็มใจจะร่วมมือในการศึกษา และผู้ที่{{NonRefTerm|พนักงานสัมภาษณ์}} ({{RefNumber|20|4|2}}) ไม่สามารถพบตัวได้ ผู้ไม่สามารถพบตัวได้จะถูกนับว่าเป็น{{TextTerm|ผู้ไม่อยู่|7|205|IndexEntry=ผู้ไม่อยู่}} หรือ{{TextTerm|ติดต่อไม่ได้|7|205|2|IndexEntry=ติดต่อไม่ได้}} {{TextTerm|สัดส่วนของการปฏิเสธ|8|205}}ในการตอบคำถามหนึ่งเป็นดัชนีที่มีประโยชน์ของปฏิกิริยาของผู้ตอบ การแทนที่ของหน่วยตัวอย่างที่ใช้ไม่ได้ด้วยหน่วยอื่นจะอ้างถึงว่าเป็น{{TextTerm|การแทนที่|9|205}}
{{Note|6| {{NoteTerm|Refuse}}, v. - {{NoteTerm|refusal}}, n.}}
 
{{Note|7| {{NoteTerm|Absentee}}, n. - {{NoteTerm|absent}}, v. - {{NoteTerm|absence}}, n.}}
 
  
 
=== 206 ===
 
=== 206 ===
  
The {{TextTerm|forms|1|206|IndexEntry=form}} used for the collection of information have a number of different names. The term {{TextTerm|schedule|2|206|OtherIndexEntry=census schedule}} is frequently used, especially the term {{TextTerm|census schedule|2|206|2|IndexEntry=schedule, census}}. Most of the {{NonRefTerm|forms}} are {{TextTerm|questionnaires|3|206|IndexEntry=questionnaire}}, particularly when they are designed for {{TextTerm|completion|4|206}} by the respondents themselves. At other times, officials obtain {{TextTerm|statements|5|206|IndexEntry=statement}}, or {{TextTerm|particulars|6|206}} which they {{TextTerm|extract|7|206}} from documents primarily used for non-statistical purposes. The questions are usually of two basic types: {{TextTerm|closed ended questions|8|206|OtherIndexEntry=questions, closed ended}} in which a respondent replies by selecting one out of a limited number of responses listed on the questionnaire or {{TextTerm|open ended questions|9|206|OtherIndexEntry=questions, open ended}} to which the respondent may give a spontaneous answer.
+
{{TextTerm|แบบฟอร์ม|1|206|IndexEntry=แบบฟอร์ม}}ที่ใช้สำหรับการรวบรวมข้อมูลมีชื่อเรียกแตกต่างกันหลายชื่อ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|รายการคำถาม|2|206}}ใช้กันบ่อยโดยเฉพาะในคำว่า{{TextTerm|รายการคำถามสำมะโน|2|206|2|IndexEntry=รายการคำถามสำมะโน}} {{NonRefTerm|แบบฟอร์ม}}ส่วนมากเป็น{{TextTerm|แบบสอบถาม|3|206|IndexEntry=แบบสอบถาม}} โดยเฉพาะเมื่อออกแบบมาให้{{TextTerm|กรอกให้สมบูรณ์|4|206}}โดยตัวผู้ตอบเอง ณ เวลาอื่น เจ้าหน้าที่ได้รับ{{TextTerm|ข้อความ|5|206|IndexEntry=ข้อความ}}หรือ{{TextTerm|รายละเอียด|6|206}}ซึ่ง{{TextTerm|สกัดออก|7|206}}จากเอกสารที่เบื้องต้นไม่ได้ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางสถิติ ปรกติคำถามมีสองประเภท {{TextTerm|คำถามปลายปิด|8|206}}ที่ผู้ตอบตอบโดยเลือกหนึ่งคำตอบจากคำตอบจำนวนจำกัดที่ใส่เป็นรายการไว้ในแบบสอบถาม หรือ{{TextTerm|คำถามปลายเปิด|9|206}}ซึ่งผู้ตอบอาจให้คำตอบเอง
  
 
=== 207 ===
 
=== 207 ===
  
A census {{NonRefTerm|schedule}} ({{RefNumber|20|6|2}}) may be an {{TextTerm|individual schedule|1|207|OtherIndexEntry=schedule, individual}} containing information relating only to a single individual, a {{TextTerm|household schedule|2|207|OtherIndexEntry=schedule, household}} containing information relating to each of the members of the {{NonRefTerm|household}} ({{RefNumber|11|0|3}}), or a {{TextTerm|collective schedule|3|207|OtherIndexEntry=schedule, collective}}, {{TextTerm|nominal list|3|207|2|OtherIndexEntry=list, nominal}} or {{TextTerm|enumerator’s schedule|3|207|3|IndexEntry=enumerator's schedule|OtherIndexEntry=schedule, enumerator's}} on which the enumerator ({{RefNumber|20|4|2}}) enters {{NoteTerm|34}} successively data for all the persons he enumerates. There may be special schedules for the {{NonRefTerm|institutional population}} ({{RefNumber|31|0|7}}), which are called {{TextTerm|institutional schedules|4|207|IndexEntry=institutional schedule|OtherIndexEntry=schedule, institutional}}.
+
{{NonRefTerm|รายการคำถาม}} ({{RefNumber|20|6|2}}) สำมะโน อาจเป็น{{TextTerm|รายการคำถามส่วนบุคคล|1|207}}ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลเดียวเท่านั้น {{TextTerm|รายการคำถามครัวเรือน|2|207}} ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกแต่ละคนของ{{NonRefTerm|ครัวเรือน}} ({{RefNumber|11|0|3}}) หรือ{{TextTerm|รายการคำถามรวม|3|207}} {{TextTerm|บัญชีรายชื่อ|3|207|2}} หรือ{{TextTerm|รายการคำถามของพนักงานแจงนับ|3|207|3|IndexEntry=รายการคำถามของพนักงานแจงนับ}}ซึ่ง{{NonRefTerm|พนักงานแจงนับ}} ({{RefNumber|20|4|2}}) ใส่ข้อมูลเป็นลำดับต่อเนื่องกันสำหรับทุกคนที่เขาแจงนับ อาจมีรายการคำถามพิเศษสำหรับ{{NonRefTerm|ประชากรสถาบัน}} ({{RefNumber|31|0|7}}) ซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|รายการคำถามสถาบัน|4|207|IndexEntry=รายการคำถามสถาบัน}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 10:52, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


201

สถิติประชากรปัจจุบัน1อาจแยกออกจาก สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร2 สถิติประชากรปัจจุบันเกี่ยวข้องกับลักษณะคงที่ของเรื่องและให้ภาพฉับพลันของประชากร ณ เวลาหนึ่ง หน่วยสถิติ (110-1) ที่ใช้โดยทั่วไปเป็นครัวเรือน (110-3) บุคคล (110-2) ฯลฯ สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่อเนื่องของการเปลี่ยนแปลงซึ่งกระทบต่อประชากร และเกี่ยวข้องอย่างมากกับ เหตุการณ์ชีพ3 อย่างเช่นการเกิด การแต่งงาน และการย้ายถิ่น (801-1) เหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่4 (ได้แก่การตาย) อาจแยกออกจาก เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้5 อย่างเช่น การตั้งครรภ์ การเกิด หรือการเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ได้จะได้รับ ลำดับ6ขึ้นอยู่กับจำนวนของเหตุการณ์ลักษณะเดียวกันที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้นกับบุคคลเดียวกัน สถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากรเป็นแหล่งข้อมูลหลักสำหรับการศึกษา กระบวนการทางประชากร7ที่บางครั้งเรียกว่า พลวัตประชากร7 สำมะโน (cf. 202) เป็นแหล่งข้อมูลหลักในเรื่อง สภาพของประชากร8 สถิติชีพ (212-1) เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการศึกษาเรื่อง การเพิ่มประชากร9 (cf.701) บางครั้งสถิติชีพเกี่ยวข้องกับ การเพิ่มตามธรรมชาติ10เท่านั้น กล่าวคือ สถิติชีพไม่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายระหว่างประชากรที่ศึกษากับประชากรอื่น แต่กล่าวตามหลักเหตุผลแล้วสถิติการย้ายถิ่น (812-1) เป็นส่วนหนึ่งของสถิติของการเปลี่ยนแปลงประชากร ศัพท์คำว่า การเคลื่อนย้ายประชากร11ใช้เพื่อหมายถึงการเคลื่อนย้ายทางภูมิศาสตร์ของประชากร

202

สำมะโนประชากร1ทำขึ้นเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพของประชากร (201-8) ณ เวลาหนึ่ง ในสำมะโนประชากรส่วนมาก ผู้อยู่อาศัยทั้งหมดของประเทศหนึ่งจะถูกนับพร้อมๆ กัน สำมะโนอย่างนี้เรียกว่า สำมะโนทั่วไป2 อย่างไรก็ตาม บางครั้งจะนับเพียงบางส่วนของประชากร ได้แก่ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่หนึ่ง ในกรณีนี้จะเรียกว่า สำมะโนบางส่วน3 อย่างไรก็ตาม ศัพท์คำว่า "สำมะโน" สื่อแสดงถึงความพยายามที่จะแจงนับสมาชิกทุกคนของประชากรที่เกี่ยวข้องและเพื่อที่จะได้ การคุ้มรวมสมบูรณ์4ของประชากร จุลสำมะโน5จำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มตัวอย่างของประชากร ปรกติมีขนาดใหญ่และจัดอยู่ในประเภทของ การสำรวจตัวอย่าง6 สำมะโนหรือการสำรวจบางครั้งนำมาก่อนด้วย การทดสอบก่อน7 หรือ การสำรวจนำร่อง7 เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการแจงนับ (230-2) การตรวจสอบหลังการแจงนับ8ด้วย การสำรวจหลังการแจงนับ9จะทำขึ้นหลังจากสำมะโน

  • 1. ช่วงเวลาระหว่างสำมะโนเป็นเวลาระหว่างสำมะโนสองครั้งติดต่อกัน
    สำมะโนสมัยใหม่สอดคล้องกับสิ่งที่เคยเรียกว่าการนับหัว คำว่าการนับประชากรรวมกระบวนการคาดประมาณซึ่งใช้วิธีนับคนที่มารับศีลมหาสนิท (214-2) ที่จดทะเบียนไว้หลายๆ ปี หรือนับครอบครัว (110-3) หรือแม้กระทั่งแพริช (214-1)

203

การแจงนับ1คือปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้จำนวนรวมประชากร การแจงนับแตกต่างจาก การนับ2ธรรมดา ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการเตรียม บัญชีรายชื่อ3ไว้ก่อน ในอีกด้านหนึ่ง การสอบถาม4หรือ การสำรวจ4โดยทั่วไปเป็นปฏิบัติการซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ได้ข้อมูลเฉพาะเรื่อง (เช่น แรงงาน) และมีวัตถุประสงค์จำกัด การสอบถามภาคสนาม5 หรือ การสำรวจภาคสนาม5เป็นการตรวจสอบศึกษาซึ่งข้อมูลได้มาจาก การสัมภาษณ์ส่วนตัว6 ใน การสอบถามทางไปรษณีย์7 หรือ การสำรวจแบบส่งกลับทางไปรษณีย์7 แบบสอบถาม (206-3)จะส่งไปทางไปรษณีย์โดยขอให้ผู้ตอบส่งกลับเมื่อทำเสร็จ การสำรวจย้อนเวลา8มุ่งสนใจต่อเหตุการณ์ทางประชากรในอดีต ใน การสำรวจหลายรอบ9 เหตุการณ์ทางประชากรที่เกิดขึ้นตั้งแต่การสำรวจรอบก่อนจะถูกบันทึกไว้จากรอบที่สองเป็นต้นมา การสำรวจประเภทนี้จะต้องไม่นำไปปะปนกับ การย้อนตามแบบสอบถาม10 ศัพท์ที่ใช้เพื่ออธิบายกรณีที่พนักงานสัมภาษณ์ต้องใช้ความพยายามหลายครั้งเพื่อเข้าถึงตัวผู้ตอบคำถาม ในสำมะโน อาจได้ข้อมูลโดย การสัมภาษณ์ตรง11 หรือโดย การแจงนับด้วยตนเอง12 ในการสัมภาษณ์ตรงซึ่งเรียกว่า วิธีสอบถามอย่างละเอียด11ก็ได้ พนักงานสัมภาษณ์ (204-2) บันทึกข้อมูลที่ผู้ตอบคำถามให้เกี่ยวกับตัวเขา ในการแจงนับด้วยตนเองซึ่งเรียกว่า วิธีคนในครัวเรือนตอบเอง12 แบบสอบถามจะถูกกรอกโดยผู้ตอบ (204-1) เอง การแจงนับด้วยตนเองอาจอยู่ในรูปแบบของ สำมะโนทางไปรษณีย์13

204

บุคคลผู้ตอบคำถามในสำมะโน (202-1) หรือการสำรวจ (203-4) เรียกว่า ผู้ตอบ1 หรือ ผู้ให้ข้อมูล1 บุคคลผู้รวบรวม (130-4) ข้อมูลเรียกว่า พนักงานสัมภาษณ์2 พนักงานสนาม2 หรือ พนักงานแจงนับ2 ศัพท์คำว่าพนักงานแจงนับปรกติจะสงวนไว้ใช้กับบุคคลที่รวบรวมข้อมูลในการทำสำมะโน ปรกติพนักงานแจงนับทำงานภายใต้การควบคุมของ ผู้ควบคุมงานสนาม3 หรือ ผู้ตรวจสอบงานสนาม3 สำมะโนทั่วไป (202-2) ปรกติจะดำเนินการโดย หน่วยงานสถิติ4ของแต่ละประเทศ

  • 4. ในประเทศสหรัฐอเมริกา หน่วยงานที่รับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรได้แก่ Bureau of the Census ในอังกฤษและเวลส์ General Register Office ในสก๊อตแลนด์คือGeneral Registry Office สำหรับประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติรับผิดชอบในการทำสำมะโนประชากรตั้งแต่สำมะโนครั้งที่ 6 (พ.ศ.2503) เป็นต้นมา

205

ปรกติสำมะโนมี ลักษณะบังคับ1 กล่าวคือผู้ตอบ (204-1) อยู่ภายใต้ข้อผูกมัดทางกฎหมายที่จะต้องให้ข้อมูลตามที่ขอ ในแง่นี้ สำมะโนแตกต่างจาก การสอบถามโดยสมัครใจ2 (cf.203-4) ซึ่ง การไม่ตอบ3อาจเป็นปัญหาสำคัญ การไม่ตอบเป็นปัญหาสำคัญโดยเฉพาะกับการสอบถามทางไปรษณีย์ (203-7) ซึ่งจำเป็นต้อง ติดตามผล4แบบสอบถามชุดแรกด้วยการส่งชุดที่สอง และบางครั้งด้วยการตามไปพบตัว ผู้ไม่ตอบ5มักจะแบ่งออกเป็น ผู้ปฏิเสธ6 ได้แก่ ผู้ที่ไม่เต็มใจจะร่วมมือในการศึกษา และผู้ที่พนักงานสัมภาษณ์ (204-2) ไม่สามารถพบตัวได้ ผู้ไม่สามารถพบตัวได้จะถูกนับว่าเป็น ผู้ไม่อยู่7 หรือ ติดต่อไม่ได้7 สัดส่วนของการปฏิเสธ8ในการตอบคำถามหนึ่งเป็นดัชนีที่มีประโยชน์ของปฏิกิริยาของผู้ตอบ การแทนที่ของหน่วยตัวอย่างที่ใช้ไม่ได้ด้วยหน่วยอื่นจะอ้างถึงว่าเป็น การแทนที่9

206

แบบฟอร์ม1ที่ใช้สำหรับการรวบรวมข้อมูลมีชื่อเรียกแตกต่างกันหลายชื่อ ศัพท์คำว่า รายการคำถาม2ใช้กันบ่อยโดยเฉพาะในคำว่า รายการคำถามสำมะโน2 แบบฟอร์มส่วนมากเป็น แบบสอบถาม3 โดยเฉพาะเมื่อออกแบบมาให้ กรอกให้สมบูรณ์4โดยตัวผู้ตอบเอง ณ เวลาอื่น เจ้าหน้าที่ได้รับ ข้อความ5หรือ รายละเอียด6ซึ่ง สกัดออก7จากเอกสารที่เบื้องต้นไม่ได้ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางสถิติ ปรกติคำถามมีสองประเภท คำถามปลายปิด8ที่ผู้ตอบตอบโดยเลือกหนึ่งคำตอบจากคำตอบจำนวนจำกัดที่ใส่เป็นรายการไว้ในแบบสอบถาม หรือ คำถามปลายเปิด9ซึ่งผู้ตอบอาจให้คำตอบเอง

207

รายการคำถาม (206-2) สำมะโน อาจเป็น รายการคำถามส่วนบุคคล1ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลเดียวเท่านั้น รายการคำถามครัวเรือน2 ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกแต่ละคนของครัวเรือน (110-3) หรือ รายการคำถามรวม3 บัญชีรายชื่อ3 หรือ รายการคำถามของพนักงานแจงนับ3ซึ่งพนักงานแจงนับ (204-2) ใส่ข้อมูลเป็นลำดับต่อเนื่องกันสำหรับทุกคนที่เขาแจงนับ อาจมีรายการคำถามพิเศษสำหรับประชากรสถาบัน (310-7) ซึ่งเรียกว่า รายการคำถามสถาบัน4

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=20&oldid=726"