The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "16"

จาก Demopædia
(161)
(163)
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 13: แถว 13:
 
=== 161 ===
 
=== 161 ===
  
ตัวอย่างซึ่งองค์ประกอบถูกเลือกมาโดยกระบวนการให้โอกาสที่จะถูกเลือกเรียกว่า{{TextTerm|กลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่ม|1|161}} หรือ{{TextTerm|กุ่มตัวอย่างด้วยหลักความน่าจะเป็น|1|161|2}} ถ้ามีบัญชีของหน่วยตัวอย่างที่สมบูรณ์จะเรียกบัญชีนี้ว่า{{TextTerm|กรอบตัวอย่าง|3|161|OtherIndexEntry=ตัวอย่าง, กรอบ}} ใน{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย|4|161|OtherIndexEntry=สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย, การ}} สัดส่วนของหน่วยตัวอย่างจะถูกเลือกจากกรอบตัวอย่างด้วย{{TextTerm|การสุ่ม|2|161}} สัดส่วนนี้เรียกว่า{{TextTerm|เศษส่วนตัวอย่าง|5|161|OtherIndexEntry=เศษส่วน, ตัวอย่าง}} หรือ{{TextTerm|อัตราส่วนตัวอย่าง|5|161|2|OtherIndexEntry=ตัวอย่าง, อัตราส่วน}} {{TextTerm|กลุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ|6|161|IndexEntry=กลุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ|OtherIndexEntry=อย่างเป็นระบบ, กลุ่มตัวอย่าง}}ถูก{{TextTerm|เลือกอย่างเป็นระบบ|7|161}}จากกรอบซึ่งหน่วยตัวอย่างถูกให้หมายเลขไว้ตามลำดับ ตัวอย่างถูกเลือกโดยเลือกหน่วยที่ {{NonRefTerm|n}}<sup>th</sup>, ({{NonRefTerm|n}} + {{NonRefTerm|s}})<sup>th</sup>, (n + 2s)<sup>th</sup>, ...., ฯลฯ เมื่อ {{NonRefTerm|n}} ไม่มากกว่า {{NonRefTerm|s}} และถูกเลือกมาโดยการสุ่ม ใน{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มรวม|8|161|OtherIndexEntry=สุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มรวม, การ}} องค์ประกอบประชากรไม่ได้ถูกเลือกมาทีละหน่วย แต่เลือกมาเป็นกลุ่มซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|กลุ่มรวม|9|161|IndexEntry=กลุ่มรวม|OtherIndexEntry=คลัสเตอร์}}
+
ตัวอย่างซึ่งองค์ประกอบถูกเลือกมาโดยกระบวนการให้โอกาสที่จะถูกเลือกเรียกว่า{{TextTerm|กลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่ม|1|161}} หรือ{{TextTerm|สุ่มตัวอย่างด้วยหลักความน่าจะเป็น|1|161|2}} ถ้ามีบัญชีของหน่วยตัวอย่างที่สมบูรณ์จะเรียกบัญชีนี้ว่า{{TextTerm|กรอบตัวอย่าง|3|161}} ใน{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย|4|161}} สัดส่วนของหน่วยตัวอย่างจะถูกเลือกจากกรอบตัวอย่างด้วย{{TextTerm|การสุ่ม|2|161}} สัดส่วนนี้เรียกว่า{{TextTerm|เศษส่วนตัวอย่าง|5|161}} หรือ{{TextTerm|อัตราส่วนตัวอย่าง|5|161|2}} {{TextTerm|กลุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ|6|161|IndexEntry=กลุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ}}ถูก{{TextTerm|เลือกอย่างเป็นระบบ|7|161}}จากกรอบซึ่งหน่วยตัวอย่างถูกให้หมายเลขไว้ตามลำดับ ตัวอย่างถูกเลือกโดยเลือกหน่วยที่ {{NonRefTerm|n}}<sup>th</sup>, ({{NonRefTerm|n}} + {{NonRefTerm|s}})<sup>th</sup>, (n + 2s)<sup>th</sup>, ...., ฯลฯ เมื่อ {{NonRefTerm|n}} ไม่มากกว่า {{NonRefTerm|s}} และถูกเลือกมาโดยการสุ่ม ใน{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มรวม|8|161}} องค์ประกอบประชากรไม่ได้ถูกเลือกมาทีละหน่วย แต่เลือกมาเป็นกลุ่มซึ่งเรียกว่า{{TextTerm|กลุ่มรวม|9|161|IndexEntry=กลุ่มรวม|OtherIndexEntry=คลัสเตอร์}}
  
 
=== 162 ===
 
=== 162 ===
  
ใน{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น|1|162|OtherIndexEntry=สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น, การ}} ประชากรจะถูกแบ่งออกเป็น{{TextTerm|ชั้น|2|162|IndexEntry=ชั้น}} ซึ่งมีความหมายไปในเชิงว่าในชั้นนั้นมีความ{{NonRefTerm|เหมือนกัน}} ({{RefNumber|13|4|4}})มากกว่าประชากรทั้งหมดในแง่ของลักษณะที่ศึกษา และ{{NonRefTerm|การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย}} ({{RefNumber|16|1|4}}) จะถูกเลือกในแต่ละชั้น {{NonRefTerm|เศษส่วนตัวอย่าง}} ({{RefNumber|16|1|5}}) ที่ผันแปรไปอาจใช้ในชั้นที่ต่างกัน {{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน|3|162|OtherIndexEntry=สุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน, การ}}เป็นวิธีการที่การเลือกตัวอย่างดำเนินไปในหลายขั้นตอน ตัวอย่างของ{{TextTerm|หน่วยปฐมภูมิ|4|162|IndexEntry=หน่วยปฐมภูมิ}}ถูกเลือกมาก่อนในขั้นแรก และหน่วยเหล่านี้จะถือเป็น{{NonRefTerm|ประชากร}} ({{RefNumber|10|1|3}}) ที่จะเลือกเป็น{{TextTerm|กลุ่มตัวอย่างย่อย|5|162}}ของ{{TextTerm|หน่วยทุติยภูมิ|6|162|IndexEntry=หน่วยทุติยภูมิ}}และกระบวนการเลือกตัวอย่างเช่นนั้นอาจทำซ้ำอีก เมื่อไม่มีกรอบตัวอย่างที่ดี อาจเลือกตัวอย่างของพื้นที่ที่กำหนดขอบเขตไว้บนแผนที่ กระบวนการนี้เรียกว่า{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างเชิงพื้นที่|7|162|OtherIndexEntry=สุ่มตัวอย่างเชิงพื้นที่, การ}}
+
ใน{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น|1|162}} ประชากรจะถูกแบ่งออกเป็น{{TextTerm|ชั้น|2|162|IndexEntry=ชั้น}} ซึ่งมีความหมายไปในเชิงว่าในชั้นนั้นมีความ{{NonRefTerm|เหมือนกัน}} ({{RefNumber|13|4|4}}) มากกว่าประชากรทั้งหมดในแง่ของลักษณะที่ศึกษา และ{{NonRefTerm|การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย}} ({{RefNumber|16|1|4}}) จะถูกเลือกในแต่ละชั้น {{NonRefTerm|เศษส่วนตัวอย่าง}} ({{RefNumber|16|1|5}}) ที่ผันแปรไปอาจใช้ในชั้นที่ต่างกัน {{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน|3|162}}เป็นวิธีการที่การเลือกตัวอย่างดำเนินไปในหลายขั้นตอน ตัวอย่างของ{{TextTerm|หน่วยปฐมภูมิ|4|162|IndexEntry=หน่วยปฐมภูมิ}}ถูกเลือกมาก่อนในขั้นแรก และหน่วยเหล่านี้จะถือเป็น{{NonRefTerm|ประชากร}} ({{RefNumber|10|1|3}}) ที่จะเลือกเป็น{{TextTerm|กลุ่มตัวอย่างย่อย|5|162}}ของ{{TextTerm|หน่วยทุติยภูมิ|6|162|IndexEntry=หน่วยทุติยภูมิ}} และกระบวนการเลือกตัวอย่างเช่นนั้นอาจทำซ้ำอีก เมื่อไม่มีกรอบตัวอย่างที่ดี อาจเลือกตัวอย่างของพื้นที่ที่กำหนดขอบเขตไว้บนแผนที่ กระบวนการนี้เรียกว่า{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างเชิงพื้นที่|7|162}}
  
 
=== 163 ===
 
=== 163 ===
  
ใน{{NonRefTerm|การสุ่มตัวอย่างด้วยหลักความน่าจะเป็น}} ({{RefNumber|16|1|1}}) วิธีการที่ให้โอกาสในการถูกเลือกถูกใช้เพื่อให้ได้{{TextTerm|กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทน|1|163}} ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างซึ่งสะท้อนภาพจริงๆ ของประชากรในแง่ของลักษณะทั้งหมดที่กำลังศึกษายกเว้นการผันแปรขึ้นๆ ลงๆ อย่างไม่จงใจ ต่างจาก{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า|2|163|OtherIndexEntry=สุ่มตัวอย่างแบบโควต้า, การ}} กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกโดยจงใจเพื่อสะท้อนภาพประชากรที่มีลักษณะเฉพาะบางอย่าง และ{{NonRefTerm|พนักงานสัมภาษณ์}} ({{RefNumber|20|4|2}}) แต่ละคนจะได้รับจำนวน{{TextTerm|โควต้า|3|163}}ของประเภทต่างๆ ของหน่วยตัวอย่างที่จะนำไปรวมไว้ในกลุ่มตัวอย่างของเขา ภายในขอบเขตจำกัดของจำนวนในโควต้านั้น พนักงานสัมภาษณ์จะเลือกหน่วยตัวอย่างใดก็ได้
+
ใน{{NonRefTerm|การสุ่มตัวอย่างด้วยหลักความน่าจะเป็น}} ({{RefNumber|16|1|1}}) วิธีการที่ให้โอกาสในการถูกเลือกถูกใช้เพื่อให้ได้{{TextTerm|กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทน|1|163}} ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างซึ่งสะท้อนภาพจริงๆ ของประชากรในแง่ของลักษณะทั้งหมดที่กำลังศึกษายกเว้นการผันแปรขึ้นๆ ลงๆ อย่างไม่จงใจ ต่างจาก{{TextTerm|การสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า|2|163}} กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกโดยจงใจเพื่อสะท้อนภาพประชากรที่มีลักษณะเฉพาะบางอย่าง และ{{NonRefTerm|พนักงานสัมภาษณ์}} ({{RefNumber|20|4|2}}) แต่ละคนจะได้รับจำนวน{{TextTerm|โควต้า|3|163}}ของประเภทต่างๆ ของหน่วยตัวอย่างที่จะนำไปรวมไว้ในกลุ่มตัวอย่างของเขา ภายในขอบเขตจำกัดของจำนวนในโควต้านั้น พนักงานสัมภาษณ์จะเลือกหน่วยตัวอย่างใดก็ได้
  
 
=== 164 ===
 
=== 164 ===

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 11:46, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


160

วิธีการสุ่มตัวอย่าง1ใช้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับประชากรจากเพียงบางส่วนของประชากร แทนที่จะต้องศึกษาทุกๆ คน (110-2) บางส่วนของประชากรที่ศึกษาเรียกว่า ตัวอย่าง2 ประชากรเป็นกลุ่มรวมของ องค์ประกอบ3ซึ่งเป็นเป้าหมายของการตรวจสอบศึกษา หน่วยตัวอย่าง4อาจเป็นองค์ประกอบหนึ่ง หรือกลุ่มขององค์ประกอบของประชากรและใช้สำหรับการเลือกตัวอย่าง ในตัวอย่างทางประชากรศาสตร์ โดยปรกติองค์ประกอบจะเป็นบุคคล (110-2) ครอบครัว (115-1) หรือครัวเรือน (110-3) และหน่วยตัวอย่างอาจเป็นบุคคล ครัวเรือน กลุ่มบ้าน เทศบาล หรือพื้นที่ ตัวอย่างจะประกอบด้วยจำนวนของหน่วยตัวอย่างที่เลือกให้เป็นไปตาม โครงการสุ่มตัวอย่าง5 หรือ แผนการสุ่มตัวอย่าง5

161

ตัวอย่างซึ่งองค์ประกอบถูกเลือกมาโดยกระบวนการให้โอกาสที่จะถูกเลือกเรียกว่า กลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่ม1 หรือ สุ่มตัวอย่างด้วยหลักความน่าจะเป็น1 ถ้ามีบัญชีของหน่วยตัวอย่างที่สมบูรณ์จะเรียกบัญชีนี้ว่า กรอบตัวอย่าง3 ใน การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย4 สัดส่วนของหน่วยตัวอย่างจะถูกเลือกจากกรอบตัวอย่างด้วย การสุ่ม2 สัดส่วนนี้เรียกว่า เศษส่วนตัวอย่าง5 หรือ อัตราส่วนตัวอย่าง5 กลุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ6ถูก เลือกอย่างเป็นระบบ7จากกรอบซึ่งหน่วยตัวอย่างถูกให้หมายเลขไว้ตามลำดับ ตัวอย่างถูกเลือกโดยเลือกหน่วยที่ nth, (n + s)th, (n + 2s)th, ...., ฯลฯ เมื่อ n ไม่มากกว่า s และถูกเลือกมาโดยการสุ่ม ใน การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มรวม8 องค์ประกอบประชากรไม่ได้ถูกเลือกมาทีละหน่วย แต่เลือกมาเป็นกลุ่มซึ่งเรียกว่า กลุ่มรวม9

162

ใน การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น1 ประชากรจะถูกแบ่งออกเป็น ชั้น2 ซึ่งมีความหมายไปในเชิงว่าในชั้นนั้นมีความเหมือนกัน (134-4) มากกว่าประชากรทั้งหมดในแง่ของลักษณะที่ศึกษา และการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (161-4) จะถูกเลือกในแต่ละชั้น เศษส่วนตัวอย่าง (161-5) ที่ผันแปรไปอาจใช้ในชั้นที่ต่างกัน การสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน3เป็นวิธีการที่การเลือกตัวอย่างดำเนินไปในหลายขั้นตอน ตัวอย่างของ หน่วยปฐมภูมิ4ถูกเลือกมาก่อนในขั้นแรก และหน่วยเหล่านี้จะถือเป็นประชากร (101-3) ที่จะเลือกเป็น กลุ่มตัวอย่างย่อย5ของ หน่วยทุติยภูมิ6 และกระบวนการเลือกตัวอย่างเช่นนั้นอาจทำซ้ำอีก เมื่อไม่มีกรอบตัวอย่างที่ดี อาจเลือกตัวอย่างของพื้นที่ที่กำหนดขอบเขตไว้บนแผนที่ กระบวนการนี้เรียกว่า การสุ่มตัวอย่างเชิงพื้นที่7

163

ในการสุ่มตัวอย่างด้วยหลักความน่าจะเป็น (161-1) วิธีการที่ให้โอกาสในการถูกเลือกถูกใช้เพื่อให้ได้ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทน1 ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างซึ่งสะท้อนภาพจริงๆ ของประชากรในแง่ของลักษณะทั้งหมดที่กำลังศึกษายกเว้นการผันแปรขึ้นๆ ลงๆ อย่างไม่จงใจ ต่างจาก การสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า2 กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกโดยจงใจเพื่อสะท้อนภาพประชากรที่มีลักษณะเฉพาะบางอย่าง และพนักงานสัมภาษณ์ (204-2) แต่ละคนจะได้รับจำนวน โควต้า3ของประเภทต่างๆ ของหน่วยตัวอย่างที่จะนำไปรวมไว้ในกลุ่มตัวอย่างของเขา ภายในขอบเขตจำกัดของจำนวนในโควต้านั้น พนักงานสัมภาษณ์จะเลือกหน่วยตัวอย่างใดก็ได้

164

พารามิเตอร์ประชากร1เป็นค่าตัวเลขที่บอกลักษณะประชากรกลุ่มหนึ่ง การคาดประมาณทางสถิติ2เป็นชื่อที่ให้แก่กระบวนการซึ่งค่าของพารามิเตอร์นั้นได้ถูกประมาณจากกลุ่มตัวอย่าง ค่าประมาณเหล่านั้นอาจมี ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่าง3 และมาตรวัดของขนาดของความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างโดยทั่วไปได้จาก ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐาน4 บางครั้ง ช่วงความเชื่อมั่น5ถูกโยงไปสัมพันธ์กับค่าคาดประมาณเพื่อแสดงขอบเขตซึ่งจำนวนที่คาดประมาณคาดว่าจะอยู่ในขอบเขตนั้นด้วยความน่าจะเป็นที่กำหนดไว้ก่อน ความแตกต่างระหว่างสองค่าเรียกว่า ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ6เมื่อความน่าจะเป็นที่เกิดจากโอกาสมีน้อยกว่าค่าที่กำหนดไว้ซึ่งเรียกว่า ระดับนัยสำคัญ7 ฉะนั้น ความแตกต่างจะมีนัยสำคัญที่ระดับร้อยละ 5 ถ้าความน่าจะเป็นที่มันจะเกิดขึ้นโดยโอกาสน้อยกว่า 0.05 นอกจากความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างแล้ว ความคลาดเคลื่อนของข้อมูล8 หรือ ความคลาดเคลื่อนของการตอบคำถาม8 ก็มีผลต่อค่าประมาณด้วย ปรกติความคลาดเคลื่อนเหล่านี้รวม ความลำเอียงของพนักงานสัมภาษณ์9 ซึ่งเป็นความคลาดเคลื่อนอย่างเป็นระบบที่เกิดจากตัวพนักงานสัมภาษณ์ในขณะที่ทำการรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=16&oldid=741"