The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "15"

จาก Demopædia
(155)
(no NewTextTerm)
แถว 22: แถว 22:
 
=== 153 ===
 
=== 153 ===
  
ค่าตัวเลขของฟังก์ชันทางประชากรต่างๆ โดยทั่วไปจะใส่ไว้ใน{{TextTerm|ตาราง|1|153|IndexEntry=ตาราง}} อย่างเช่น {{NonRefTerm|ตารางชีพ}} ({{RefNumber|43|1|1}}) {{NonRefTerm|ตารางภาวะเจริญพันธุ์}} ({{RefNumber|63|4|1}}) หรือ{{NonRefTerm|ตารางภาวะสมรส}} ({{RefNumber|52|2|1}}) ปรกติจะทำให้เห็นความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ตารางตามปีปฏิทิน|2|153|IndexEntry=ตารางตามปีปฏิทิน|OtherIndexEntry=ตามปีปฏิทิน, ตาราง}} หรือ{{TextTerm|ตารางตามช่วงเวลา|2|153|2|IndexEntry=ตารางตามช่วงเวลา|OtherIndexEntry=ตามช่วงเวลา, ตาราง}}ซึ่งแสดงข้อมูลที่รวบรวมในช่วงเวลาที่จำกัด และ{{TextTerm|ตารางตามรุ่น|3|153|IndexEntry=ตารางตามรุ่น|OtherIndexEntry=ตามรุ่น, ตาราง}} หรือ{{TextTerm|ตารางตามรุ่นวัย|3|153|2|IndexEntry=ตารางตามรุ่นวัย|OtherIndexEntry=ตามรุ่นวัย, ตาราง}}ซึ่งเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ตลอดชั่วชีวิตของคนรุ่นหนึ่ง {{TextTerm|ตารางแบบลดลงหลายทาง|4|153|OtherIndexEntry=แบบลดลงหลายทาง, ตาราง}}แสดงผลพร้อมๆ กันของเหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่หลายๆ อย่าง อย่างเช่นผลของการแต่งงานครั้งแรกและการตายต่อประชากรกลุ่มเดียว ตารางที่ใช้กันมากที่สุดคือ{{TextTerm|ตารางแบบลดลงสองทาง|4|153|2|IndexEntry=ตารางแบบลดลงสองทาง|OtherIndexEntry=แบบลดลงสองทาง, ตาราง}} {{NewTextTerm|ตารางพยากรณ์|5|153|IndexEntry=ตารางพยากรณ์|OtherIndexEntry=พยากรณ์. ตาราง}}ให้ค่าตัวเลขของฟังก์ชันทางประชากร เช่น{{NonRefTerm|ฟังก์ชันการรอดชีพ}} ({{RefNumber|43|1|6}}) ซึ่งสามารถนำไปใช้เพื่อ{{NonRefTerm|พยากรณ์ประชากร}} (cf. {{RefNumber|72|0|2}})ได้โดยตรง เมื่อประชากรถูกจำแนกออกเป็นสองหรือมากกว่าสองกลุ่มอายุ ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจ (เช่น สตรีในหรือนอกกำลังแรงงาน) สถานภาพสมรส ภาค ฯลฯ และเมื่อมีความเป็นไปได้ของทิศทางที่ต่อเนื่องระหว่างกลุ่มเกิดขึ้นตลอดเวลาแม้ว่าสถานะแตละบุคคลสามารถวัดได้ในเวลาที่แยกๆ กันเท่านั้น (คลื่นของการศึกษาระยะยาว การสอบถามถึงการจดทะเบียนประชากร ฯลฯ) {{NewTextTerm|วิธีเพิ่มขึ้น-ลดลง|6|153}} หรือ{{NewTextTerm|วิธีหลายสถานะ|6|153}}ถูกพัฒนาและนำมาใช้
+
ค่าตัวเลขของฟังก์ชันทางประชากรต่างๆ โดยทั่วไปจะใส่ไว้ใน{{TextTerm|ตาราง|1|153|IndexEntry=ตาราง}} อย่างเช่น {{NonRefTerm|ตารางชีพ}} ({{RefNumber|43|1|1}}) {{NonRefTerm|ตารางภาวะเจริญพันธุ์}} ({{RefNumber|63|4|1}}) หรือ{{NonRefTerm|ตารางภาวะสมรส}} ({{RefNumber|52|2|1}}) ปรกติจะทำให้เห็นความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ตารางตามปีปฏิทิน|2|153|IndexEntry=ตารางตามปีปฏิทิน|OtherIndexEntry=ตามปีปฏิทิน, ตาราง}} หรือ{{TextTerm|ตารางตามช่วงเวลา|2|153|2|IndexEntry=ตารางตามช่วงเวลา|OtherIndexEntry=ตามช่วงเวลา, ตาราง}}ซึ่งแสดงข้อมูลที่รวบรวมในช่วงเวลาที่จำกัด และ{{TextTerm|ตารางตามรุ่น|3|153|IndexEntry=ตารางตามรุ่น|OtherIndexEntry=ตามรุ่น, ตาราง}} หรือ{{TextTerm|ตารางตามรุ่นวัย|3|153|2|IndexEntry=ตารางตามรุ่นวัย|OtherIndexEntry=ตามรุ่นวัย, ตาราง}}ซึ่งเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ตลอดชั่วชีวิตของคนรุ่นหนึ่ง {{TextTerm|ตารางแบบลดลงหลายทาง|4|153|OtherIndexEntry=แบบลดลงหลายทาง, ตาราง}}แสดงผลพร้อมๆ กันของเหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่หลายๆ อย่าง อย่างเช่นผลของการแต่งงานครั้งแรกและการตายต่อประชากรกลุ่มเดียว ตารางที่ใช้กันมากที่สุดคือ{{TextTerm|ตารางแบบลดลงสองทาง|4|153|2|IndexEntry=ตารางแบบลดลงสองทาง|OtherIndexEntry=แบบลดลงสองทาง, ตาราง}} {{TextTerm|ตารางพยากรณ์|5|153|IndexEntry=ตารางพยากรณ์|OtherIndexEntry=พยากรณ์. ตาราง}}ให้ค่าตัวเลขของฟังก์ชันทางประชากร เช่น{{NonRefTerm|ฟังก์ชันการรอดชีพ}} ({{RefNumber|43|1|6}}) ซึ่งสามารถนำไปใช้เพื่อ{{NonRefTerm|พยากรณ์ประชากร}} (cf. {{RefNumber|72|0|2}})ได้โดยตรง เมื่อประชากรถูกจำแนกออกเป็นสองหรือมากกว่าสองกลุ่มอายุ ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจ (เช่น สตรีในหรือนอกกำลังแรงงาน) สถานภาพสมรส ภาค ฯลฯ และเมื่อมีความเป็นไปได้ของทิศทางที่ต่อเนื่องระหว่างกลุ่มเกิดขึ้นตลอดเวลาแม้ว่าสถานะแตละบุคคลสามารถวัดได้ในเวลาที่แยกๆ กันเท่านั้น (คลื่นของการศึกษาระยะยาว การสอบถามถึงการจดทะเบียนประชากร ฯลฯ) {{TextTerm|วิธีเพิ่มขึ้น-ลดลง|6|153}} หรือ{{TextTerm|วิธีหลายสถานะ|6|153}}ถูกพัฒนาและนำมาใช้
  
 
=== 154 ===
 
=== 154 ===

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 21:26, 11 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


150

เมื่อพิจารณาการเคลื่อนไหวของตัวแปรทางประชากรตามเวลาที่เปลี่ยนไป ก็จะได้ อนุกรมเวลา1ทางประชากร บางครั้งเป็นไปได้ที่จะแยกส่วนประกอบของอนุกรมเวลาออกเป็น แนวโน้ม2 ซึ่งจะมี การขึ้นๆ ลงๆ3 ความผันแปร3หรือ ความเบี่ยงเบน3 (141-2) เมื่อการขึ้นๆ ลงๆ เช่นนั้นมักจะเกิดขึ้นหลังจากระยะเลาหนึ่ง โดยปรกติเป็นเวลาหลายๆ ปีก็เรียกว่าเป็น การขึ้นๆ ลงๆ ตามรอบ4 หรือให้มีความหมายทั่วไปยิ่งขึ้น การขึ้นๆ ลงๆ ตามช่วงเวลา4 ในวิชาประชากรศาสตร์ ระยะเวลาที่ใช้กันมากที่สุดในการรวบรวมข้อมูลคือหนึ่งปี และการขึ้นๆ ลงๆ ในช่วงเวลาย่อยของปีจะเรียกว่า การขึ้นๆ ลงๆ ตามฤดูกาล5 การขึ้นๆ ลงๆ ที่ยังคงอยู่หลังจากแนวโน้มการขึ้นๆ ลงๆ ตามฤดูกาลและตามรอบได้ถูกขจัดออกไปแล้วเรียกว่า การขึ้นๆ ลงๆ ผิดปรกติ6 การขึ้นๆ ลงๆ ผิดปรกติอาจเนื่องมาจากปัจจัยที่เป็นข้อยกเว้นอย่างเช่น การเคลื่อนย้ายคนในช่วงสงคราม หรือบางครั้งอาจเป็น การขึ้นๆ ลงๆ ตามโอกาส7หรือ การขึ้นๆ ลงๆ โดยบังเอิญ7

  • 3. ในความหมายทั่วไปคำว่าความผันแปรอาจใช้เพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงในค่าใดหรือชุดของค่าของตัวแปรหนึ่ง

151

บางครั้งเป็นสิ่งที่ดีกว่าที่จะแทนอนุกรมของตัวเลขชุดหนึ่งด้วยอนุกรมอีกชุดหนึ่งที่แสดงว่ามีความสม่่ำเสมอกว่า กระบวนการนี้รู้จักกันว่าเป็น การปรับให้ค่อยๆ เปลี่ยน1หรือ การปรับให้เรียบ1 และกระบวนการนี้ประกอบด้วยการพาดเส้นโค้งเรียบเส้นหนึ่งผ่านจุดต่างๆ ในอนุกรมเวลาหรืออนุกรมอื่นๆ เช่น จำนวนของบุคคลที่กระจายตามอายุที่รายงาน ถ้าเส้นโค้งเกิดจากการลากด้วยมือ กระบวนการนี้เรียกว่า การปรับให้ค่อยๆ เปลี่ยนโดยกราฟ2 เมื่อใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ในการปรับข้อมูล จะเรียกว่า การปรับเส้นโค้ง3 เส้นโค้งทางคณิตศาสตร์จะปรับให้สอดคล้องกับข้อมูลอาจจะด้วย วิธีกำลังสองน้อยที่สุด4ซึ่งจะทำให้ผลรวมของค่ายกกำลังสองของความแตกต่างระหว่างอนุกรมข้อมูลก่อนและหลังปรับมีค่าน้อยที่สุด วิธีการอื่นๆ เช่น การเลื่อนค่าเฉลี่ย5 หรือวิธีการที่เกี่ยวข้องกับ แคลคูลัสของค่าความแตกต่างที่ไม่เป็นศูนย์6 อาจใช้กระบวนการบางอย่างเพื่อ การประมาณค่าระหว่างช่วง7 การประมาณค่าของอนุกรมที่จุดระหว่างกลางค่าที่ให้มา หรือเพื่อ การประมาณค่านอกช่วง8 การประมาณค่าที่จุดภายนอกของพิสัยของค่าที่ให้มา

152

บ่อยครั้งที่เราจำเป็นต้องปรับการกระจายของข้อมูลให้ค่อยๆ เปลี่ยนเพื่อแก้ความโน้มเอียงที่ผู้คนจะให้คำตอบเป็น จำนวนกลม1 การกองข้อมูล2 หรือ การนิยมตัวเลข2เกิดขึ้นบ่อยๆ โดยเฉพาะในการกระจายอายุ และสะท้อนความโน้มเอียงของผู้คนที่จะบอกอายุของตนด้วยจำนวนที่ลงท้ายด้วย 0 5 หรือเลขอื่นๆ ที่นิยม การกองอายุ3บางครั้งวัดได้ด้วย ดัชนีการนิยมอายุ4 ข้อมูลอายุมักต้องปรับเพื่อแก้รูปแบบอื่นๆ ของ การรายงานอายุผิดพลาด5 หรือ ความลำเอียงในการรายงานอายุ5

153

ค่าตัวเลขของฟังก์ชันทางประชากรต่างๆ โดยทั่วไปจะใส่ไว้ใน ตาราง1 อย่างเช่น ตารางชีพ (431-1) ตารางภาวะเจริญพันธุ์ (634-1) หรือตารางภาวะสมรส (522-1) ปรกติจะทำให้เห็นความแตกต่างระหว่าง ตารางตามปีปฏิทิน2 หรือ ตารางตามช่วงเวลา2ซึ่งแสดงข้อมูลที่รวบรวมในช่วงเวลาที่จำกัด และ ตารางตามรุ่น3 หรือ ตารางตามรุ่นวัย3ซึ่งเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ตลอดชั่วชีวิตของคนรุ่นหนึ่ง ตารางแบบลดลงหลายทาง4แสดงผลพร้อมๆ กันของเหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่หลายๆ อย่าง อย่างเช่นผลของการแต่งงานครั้งแรกและการตายต่อประชากรกลุ่มเดียว ตารางที่ใช้กันมากที่สุดคือ ตารางแบบลดลงสองทาง4 ตารางพยากรณ์5ให้ค่าตัวเลขของฟังก์ชันทางประชากร เช่นฟังก์ชันการรอดชีพ (431-6) ซึ่งสามารถนำไปใช้เพื่อพยากรณ์ประชากร (cf. 720-2)ได้โดยตรง เมื่อประชากรถูกจำแนกออกเป็นสองหรือมากกว่าสองกลุ่มอายุ ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจ (เช่น สตรีในหรือนอกกำลังแรงงาน) สถานภาพสมรส ภาค ฯลฯ และเมื่อมีความเป็นไปได้ของทิศทางที่ต่อเนื่องระหว่างกลุ่มเกิดขึ้นตลอดเวลาแม้ว่าสถานะแตละบุคคลสามารถวัดได้ในเวลาที่แยกๆ กันเท่านั้น (คลื่นของการศึกษาระยะยาว การสอบถามถึงการจดทะเบียนประชากร ฯลฯ) วิธีเพิ่มขึ้น-ลดลง6 หรือ วิธีหลายสถานะ6ถูกพัฒนาและนำมาใช้

154

เมื่อข้อมูลที่มีอยู่ไม่เพียงพอที่จะให้ค่าของตัวแปรหนึ่งได้อย่างถูกต้องแม่นยำ อาจต้องมีการ ประมาณ1ค่านี้ กระบวนการนี้เรียกว่า การประมาณ2 และค่าที่เป็นผลลัพธ์จะเรียกว่า ค่าประมาณ3 ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลอยู่เลย บางครั้งอาจต้องทำ การคาดคะเน4เพื่อให้ได้ ลำดับของขนาด5

155

วิธี การแสดงด้วยกราฟ1 หรือ การแสดงด้วยแผนภาพ1อาจใช้เพื่อแสดงข้อสรุปที่ได้รับ ข้อมูลจะนำออกแสดงในรูปของ ตัวเลข2 กราฟ2 แผนภูมิสถิติ3 หรือ แผนที่3 การนำออกแสดงอย่างมีแบบแผนของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรมักจะเรียกว่า แผนภาพ4 ตัวอย่างเช่นแผนภาพเล็กซิส (cf. 437) กราฟซึ่งแกนหนึ่งมีค่าเปลี่ยนไปเชิงล็อกการิทม์และอีกแกนหนึ่งค่าเปลี่ยนไปเชิงคณิตศาสตร์จะเรียกว่า กราฟกึ่งล็อกการิทม์5แม้ว่ากราฟเช่นนั้นถูกเรียกผิดอยู่บ่อยๆ ว่า กราฟล็อกการิทม์5 กราฟล็อกการิทม์6ที่แท้จริงทั้งสองแกนจะมีค่าเปลี่ยนไปเชิงล็อกการิทม์ บางครั้งจึงเรียกกราฟชนิดนี้ว่า กราฟล็อกการิทม์สองแกน6 การกระจายความถึ่อาจนำแสดงเป็นรูปภาพโดย รูปหลายเหลี่ยมความถี่7ซึ่งได้จากการเชื่อมจุดที่แสดงความถี่ชั้นต่างๆ ด้วยเส้นตรง โดย กราฟแสดงความถึ่8 ซึ่งความถึ่ชั้นต่างๆ แสดงด้วยพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีช่วงชองชั้นนั้นเป็นฐาน โดย แผนภูมิแท่ง9ซึ่งความถี่ของชั้นเป็นสัดส่วนกับความยาวของแท่ง หรือโดย รูปยอดแหลม10ซึ่งแสดงการกระจายความถี่สะสม

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=15&oldid=637"