The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

14

จาก Demopædia


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


140

ค่าเฉลี่ย1 หรือ ค่ามัชฌิม1ที่มีการใช้บ่อยมากในวิชาประชากรศาสตร์ เป็น ค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์2 หรือ ค่ามัชฌิมทางคณิตศาสตร์2 ซึ่งประกอบด้วยผลรวมของค่าทั้งหมดหารด้วยจำนวนของค่าเหล่านั้น เมื่อคำว่าค่าเฉลี่ยหรือค่ามัชฌิมใช้โดยไม่มีการบอกลักษณะอย่างอื่นจะมีความหมายถึงค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์ ค่ามัชฌิมเรขาคณิต3 หรือ ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต3บางครั้งนำมาใช้เมื่อค่าที่สังเกตได้ทั้งหมดเป็นบวก ค่านี้เป็นรากที่ N ของผลคูณของค่า N เหล่านั้น ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก4 หรือ ค่ามัชฌิมถ่วงน้ำหนัก4 นำมาใช้เมื่อรายการต่างๆ ได้รับความสำคัญไม่เท่ากัน คำนวณได้โดยการคูณแต่ละรายการด้วย ปัจจัยถ่วงน้ำหนัก5 หรือ น้ำหนัก5 ค่ามัธยฐาน6เป็นค่าขององค์ประกอบซึ่งแบ่ง ชุด7ของหน่วยสังเกตออกเป็นสองครึ่ง ฐานนิยม8เป็นค่าที่มีมากที่สุดหรือมีความถี่สูงสุดในชุดของหน่วยสังเกตนั้น

  • 1. Average, n., can be used as an adjective. Mean, n., can be used as an adjective.
  • 5. Weight, n. - weigh, v.
  • 6. Median, n., can be used as an adjective.
  • 8. Mode, n., modal, adj.

141

การกระจาย1 การกระจัดกระจาย1 การผันแปร1 หรือ ความแปรปรวน1 ของชุดของหน่วยสังเกตขึ้นอยู่กับ ความแตกต่าง2 หรือ ความเบี่ยงเบน2 ระหวางองค์ประกอบ ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะ มาตรวัดการกระจาย3เท่านั้น พิสัย4หมายถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่มากที่สุดกับค่าที่น้อยที่สุดของชุดขององค์ประกอบเหล่านั้น พิสัยอินเทอร์ควอไทล์5เป็นความแตกต่างระหว่างควอไทล์ (142-2)ที่หนึ่งและที่สาม และจะมีหน่วยสังเกตครึ่งหนึ่งในชุดนั้น พิสัยกึ่งอินเทอร์ควอไทล์6 บางครั้งเรียกว่า ความเบี่ยงเบนควอไทล์6 ซึ่งหมายถึงครึ่งหนึ่งของพิสัยอินเทอร์ควอไทล์ มีการใช้บ่อยๆ ในการวัดการกระจาย ความเบี่ยงเบนมัชฌิม7 หรือ ความเบี่ยงเบนเฉลี่ย7หมายถึงค่ามัชฌิมคณิตศาสตร์(140-2)ของค่าบวกของความเบี่ยงเบนของแต่ละรายการจากค่าเฉลี่ย ค่าแปรปรวน8หมายถึงค่ามัชฌิมคณิตศาสตร์ของกำลังสองของค่าเบี่ยงเบนเหล่านี้ และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน9หมายถึงรากที่สองของค่าความแปรปรวน

  • 9. The common notation for the standard deviation is \u03c3

142

If a series of observations is arranged in ascending order, values which have below them a certain proportion of the observations are referred to as quantiles1 or order statistics1 . The median (140-6) has been previously mentioned. Other important order statistics are the quartiles2, the deciles3, and the percentiles4 or centiles4, which divide the observations into four, ten and a hundred equal parts respectively.

143

A variable is continuous1 in a given interval when it can take on an infinite number of values between any two points contained in the interval. In the opposite case it is said to be discontinuous2. Where a variable can take only certain isolated values it is called a discrete3 variable.

  • 1. Continuous, adj. - continuity, n.
  • 2. Discontinuous, adj. - discontinuity, n.

144

The arrangement of members of a population in various categories or classes of a specified attribute or variable produces a frequency distribution1, often called a distribution1 for short. The ratio of the number in the individual group or cell — the absolute frequency2 or class frequency2 — to the total number in all groups is called the relative frequency3 in that group. In demography the terms structure4 and composition4 are often used interchangeably to describe the distribution of characteristics such as age, sex, marital status, occupation, etc. Structure is sometimes used in a more restricted sense to describe the distribution of the population according to age and sex only.

  • 4. The term population distribution usually refers to its spatial distribution. However, when used with the name of the characteristic or attribute that is analyzed, the word distribution is a synonym for structure or composition. Thus one finds references to age distribution, age and sex composition, and age and sex structure.

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=14&oldid=134"