The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "14"

จาก Demopædia
(143)
(141)
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 9: แถว 9:
  
 
{{TextTerm|ค่าเฉลี่ย|1|140}} หรือ{{TextTerm|ค่ามัชฌิม|1|140|2|IndexEntry=ค่ามัชฌิม}}ที่มีการใช้บ่อยมากในวิชาประชากรศาสตร์ เป็น{{TextTerm|ค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์|2|140}} หรือ{{TextTerm|ค่ามัชฌิมทางคณิตศาสตร์|2|140|2}} ซึ่งประกอบด้วยผลรวมของค่าทั้งหมดหารด้วยจำนวนของค่าเหล่านั้น เมื่อคำว่าค่าเฉลี่ยหรือค่ามัชฌิมใช้โดยไม่มีการบอกลักษณะอย่างอื่นจะมีความหมายถึงค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์ {{TextTerm|ค่ามัชฌิมเรขาคณิต|3|140}} หรือ{{TextTerm|ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต|3|140|2}}บางครั้งนำมาใช้เมื่อค่าที่สังเกตได้ทั้งหมดเป็นบวก ค่านี้เป็นรากที่ N ของผลคูณของค่า N เหล่านั้น {{TextTerm|ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก|4|140}} หรือ{{TextTerm|ค่ามัชฌิมถ่วงน้ำหนัก|4|140|2}} นำมาใช้เมื่อรายการต่างๆ ได้รับความสำคัญไม่เท่ากัน คำนวณได้โดยการคูณแต่ละรายการด้วย{{TextTerm|ปัจจัยถ่วงน้ำหนัก|5|140}} หรือ{{TextTerm|น้ำหนัก|5|140|2}} {{TextTerm|ค่ามัธยฐาน|6|140}}เป็นค่าขององค์ประกอบซึ่งแบ่ง{{TextTerm|ชุด|7|140}}ของหน่วยสังเกตออกเป็นสองครึ่ง {{TextTerm|ฐานนิยม|8|140}}เป็นค่าที่มีมากที่สุดหรือมีความถี่สูงสุดในชุดของหน่วยสังเกตนั้น
 
{{TextTerm|ค่าเฉลี่ย|1|140}} หรือ{{TextTerm|ค่ามัชฌิม|1|140|2|IndexEntry=ค่ามัชฌิม}}ที่มีการใช้บ่อยมากในวิชาประชากรศาสตร์ เป็น{{TextTerm|ค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์|2|140}} หรือ{{TextTerm|ค่ามัชฌิมทางคณิตศาสตร์|2|140|2}} ซึ่งประกอบด้วยผลรวมของค่าทั้งหมดหารด้วยจำนวนของค่าเหล่านั้น เมื่อคำว่าค่าเฉลี่ยหรือค่ามัชฌิมใช้โดยไม่มีการบอกลักษณะอย่างอื่นจะมีความหมายถึงค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์ {{TextTerm|ค่ามัชฌิมเรขาคณิต|3|140}} หรือ{{TextTerm|ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต|3|140|2}}บางครั้งนำมาใช้เมื่อค่าที่สังเกตได้ทั้งหมดเป็นบวก ค่านี้เป็นรากที่ N ของผลคูณของค่า N เหล่านั้น {{TextTerm|ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก|4|140}} หรือ{{TextTerm|ค่ามัชฌิมถ่วงน้ำหนัก|4|140|2}} นำมาใช้เมื่อรายการต่างๆ ได้รับความสำคัญไม่เท่ากัน คำนวณได้โดยการคูณแต่ละรายการด้วย{{TextTerm|ปัจจัยถ่วงน้ำหนัก|5|140}} หรือ{{TextTerm|น้ำหนัก|5|140|2}} {{TextTerm|ค่ามัธยฐาน|6|140}}เป็นค่าขององค์ประกอบซึ่งแบ่ง{{TextTerm|ชุด|7|140}}ของหน่วยสังเกตออกเป็นสองครึ่ง {{TextTerm|ฐานนิยม|8|140}}เป็นค่าที่มีมากที่สุดหรือมีความถี่สูงสุดในชุดของหน่วยสังเกตนั้น
{{Note|1| {{NoteTerm|Average}}, n., can be used as an adjective. {{NoteTerm|Mean}}, n., can be used as an adjective.}}
 
{{Note|5| {{NoteTerm|Weight}}, n. - {{NoteTerm|weigh}}, v.}}
 
{{Note|6| {{NoteTerm|Median}}, n., can be used as an adjective.}}
 
{{Note|8| {{NoteTerm|Mode}}, n., {{NoteTerm|modal}}, adj.}}
 
  
 
=== 141 ===
 
=== 141 ===
  
 
{{TextTerm|การกระจาย|1|141}} {{TextTerm|การกระจัดกระจาย|1|141|2}} {{TextTerm|การผันแปร|1|141|3}} หรือ{{TextTerm|ความแปรปรวน|1|141|4}} ของชุดของหน่วยสังเกตขึ้นอยู่กับ{{TextTerm|ความแตกต่าง|2|141|IndexEntry=ความแตกต่าง}} หรือ{{TextTerm|ความเบี่ยงเบน|2|141|2|IndexEntry=ความเบี่ยงเบน}} ระหวางองค์ประกอบ ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะ{{TextTerm|มาตรวัดการกระจาย|3|141|IndexEntry=มาตรวัดการกระจาย}}เท่านั้น {{TextTerm|พิสัย|4|141}}หมายถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่มากที่สุดกับค่าที่น้อยที่สุดของชุดขององค์ประกอบเหล่านั้น  {{TextTerm|พิสัยอินเทอร์ควอไทล์|5|141|OtherIndexEntry=พิสัยระหว่างควอไทล์}}เป็นความแตกต่างระหว่าง{{NonRefTerm|ควอไทล์}} ({{RefNumber|14|2|2}})ที่หนึ่งและที่สาม และจะมีหน่วยสังเกตครึ่งหนึ่งในชุดนั้น {{TextTerm|พิสัยกึ่งอินเทอร์ควอไทล์|6|141|OtherIndexEntry=พิสัยกึ่งระหว่างควอไทล์}} บางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ความเบี่ยงเบนควอไทล์|6|141|2}} ซึ่งหมายถึงครึ่งหนึ่งของพิสัยอินเทอร์ควอไทล์ มีการใช้บ่อยๆ ในการวัดการกระจาย {{TextTerm|ความเบี่ยงเบนมัชฌิม|7|141}} หรือ{{TextTerm|ความเบี่ยงเบนเฉลี่ย|7|141|2}}หมายถึงค่ามัชฌิมคณิตศาสตร์({{RefNumber|14|0|2}})ของค่าบวกของความเบี่ยงเบนของแต่ละรายการจากค่าเฉลี่ย {{TextTerm|ค่าแปรปรวน|8|141}}หมายถึงค่ามัชฌิมคณิตศาสตร์ของกำลังสองของค่าเบี่ยงเบนเหล่านี้ และ{{TextTerm|ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน|9|141}}หมายถึงรากที่สองของค่าความแปรปรวน
 
{{TextTerm|การกระจาย|1|141}} {{TextTerm|การกระจัดกระจาย|1|141|2}} {{TextTerm|การผันแปร|1|141|3}} หรือ{{TextTerm|ความแปรปรวน|1|141|4}} ของชุดของหน่วยสังเกตขึ้นอยู่กับ{{TextTerm|ความแตกต่าง|2|141|IndexEntry=ความแตกต่าง}} หรือ{{TextTerm|ความเบี่ยงเบน|2|141|2|IndexEntry=ความเบี่ยงเบน}} ระหวางองค์ประกอบ ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะ{{TextTerm|มาตรวัดการกระจาย|3|141|IndexEntry=มาตรวัดการกระจาย}}เท่านั้น {{TextTerm|พิสัย|4|141}}หมายถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่มากที่สุดกับค่าที่น้อยที่สุดของชุดขององค์ประกอบเหล่านั้น  {{TextTerm|พิสัยอินเทอร์ควอไทล์|5|141|OtherIndexEntry=พิสัยระหว่างควอไทล์}}เป็นความแตกต่างระหว่าง{{NonRefTerm|ควอไทล์}} ({{RefNumber|14|2|2}})ที่หนึ่งและที่สาม และจะมีหน่วยสังเกตครึ่งหนึ่งในชุดนั้น {{TextTerm|พิสัยกึ่งอินเทอร์ควอไทล์|6|141|OtherIndexEntry=พิสัยกึ่งระหว่างควอไทล์}} บางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ความเบี่ยงเบนควอไทล์|6|141|2}} ซึ่งหมายถึงครึ่งหนึ่งของพิสัยอินเทอร์ควอไทล์ มีการใช้บ่อยๆ ในการวัดการกระจาย {{TextTerm|ความเบี่ยงเบนมัชฌิม|7|141}} หรือ{{TextTerm|ความเบี่ยงเบนเฉลี่ย|7|141|2}}หมายถึงค่ามัชฌิมคณิตศาสตร์({{RefNumber|14|0|2}})ของค่าบวกของความเบี่ยงเบนของแต่ละรายการจากค่าเฉลี่ย {{TextTerm|ค่าแปรปรวน|8|141}}หมายถึงค่ามัชฌิมคณิตศาสตร์ของกำลังสองของค่าเบี่ยงเบนเหล่านี้ และ{{TextTerm|ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน|9|141}}หมายถึงรากที่สองของค่าความแปรปรวน
{{Note|9| The common notation for the standard deviation is {{NonRefTerm|\u03c3}} }}
+
{{Note|9| สัญญลักษณ์ที่ใช้กันทั่วไปสำหรับค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคือ {{NonRefTerm|σ}} }}
  
 
=== 142 ===
 
=== 142 ===
แถว 29: แถว 25:
 
=== 144 ===
 
=== 144 ===
  
The arrangement of members of a population in various categories or classes of a specified attribute or variable produces a {{TextTerm|frequency distribution|1|144|OtherIndexEntry=distribution, frequency}}, often called a {{TextTerm|distribution|1|144|2}} for short. The ratio of the number in the individual group or cell — the {{TextTerm|absolute frequency|2|144|OtherIndexEntry=frequency, absolute}} or {{TextTerm|class frequency|2|144|2|OtherIndexEntry=frequency, class}} — to the total number in all groups is called the {{TextTerm|relative frequency|3|144|OtherIndexEntry=frequency, relative}} in that group. In demography the terms {{TextTerm|structure|4|144}} and {{TextTerm|composition|4|144|2}} are often used interchangeably to describe the distribution of characteristics such as age, sex, marital status, occupation, etc. Structure is sometimes used in a more restricted sense to describe the distribution of the population according to age and sex only.
+
การจัดเรียงสมาชิกของประชากรในประเภทหรือชั้นต่างๆ ของคุณลักษณะหรือตัวแปรเฉพาะทำให้เกิด{{TextTerm|การกระจายความถี่|1|144}}ซึ่งมักเรียกสั้นๆ ว่า{{TextTerm|การกระจาย|1|144|2}} อัตราส่วนของจำนวนในแต่ละกลุ่มหรือเซลล์—{{TextTerm|ความถี่สัมบูรณ์|2|144}}หรือ{{TextTerm|ความถี่ชั้น|2|144|2}}— ต่อจำนวนรวมในกลุ่มทั้งหมดเรียกว่า{{TextTerm|ความถี่สัมพัทธ์|3|144}}ในกลุ่มนั้น ในวิชาประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|โครงสร้าง|4|144}}และ{{TextTerm|องค์ประกอบ|4|144|2}}มักจะใช้แทนกันได้ เพื่ออธิบายลักษณะอย่างเช่น อายุ เพศ สถานภาพสมรส อาชีพ ฯลฯ บางครั้งโครงสร้างใช้ในความหมายที่แคบกว่าเพื่ออธิบายการกระจายของประชากรตามอายุและเพศเท่านั้น
{{Note|4| The term {{NonRefTerm|population distribution}} usually refers to its spatial distribution. However, when used with the name of the characteristic or attribute that is analyzed, the word distribution is a synonym for structure or composition. Thus one finds references to age distribution, age and sex composition, and age and sex structure.}}
+
{{Note|4| คำว่า{{NonRefTerm|การกระจายตัวประชากร}}ปรกติหมายถึงการกระจายตัวเชิงพื้นที่  อย่างไรก็ตามเมื่อใช้ควบกับชื่อของคุณลักษณะหรือลักษณะที่ทำการวิเคราะห์ คำว่าการกระจายตัวจะมีความหมายเหมือนกับคำว่าโครงสร้างหรือส่วนประกอบ  ดังนั้นในการอ้างอิงจึงพบคำว่า การกระจายอายุ ส่วนประกอบอายุและเพศ และโครงสร้าอายุและเพศ}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 01:32, 16 พฤษภาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


140

ค่าเฉลี่ย1 หรือ ค่ามัชฌิม1ที่มีการใช้บ่อยมากในวิชาประชากรศาสตร์ เป็น ค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์2 หรือ ค่ามัชฌิมทางคณิตศาสตร์2 ซึ่งประกอบด้วยผลรวมของค่าทั้งหมดหารด้วยจำนวนของค่าเหล่านั้น เมื่อคำว่าค่าเฉลี่ยหรือค่ามัชฌิมใช้โดยไม่มีการบอกลักษณะอย่างอื่นจะมีความหมายถึงค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์ ค่ามัชฌิมเรขาคณิต3 หรือ ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต3บางครั้งนำมาใช้เมื่อค่าที่สังเกตได้ทั้งหมดเป็นบวก ค่านี้เป็นรากที่ N ของผลคูณของค่า N เหล่านั้น ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก4 หรือ ค่ามัชฌิมถ่วงน้ำหนัก4 นำมาใช้เมื่อรายการต่างๆ ได้รับความสำคัญไม่เท่ากัน คำนวณได้โดยการคูณแต่ละรายการด้วย ปัจจัยถ่วงน้ำหนัก5 หรือ น้ำหนัก5 ค่ามัธยฐาน6เป็นค่าขององค์ประกอบซึ่งแบ่ง ชุด7ของหน่วยสังเกตออกเป็นสองครึ่ง ฐานนิยม8เป็นค่าที่มีมากที่สุดหรือมีความถี่สูงสุดในชุดของหน่วยสังเกตนั้น

141

การกระจาย1 การกระจัดกระจาย1 การผันแปร1 หรือ ความแปรปรวน1 ของชุดของหน่วยสังเกตขึ้นอยู่กับ ความแตกต่าง2 หรือ ความเบี่ยงเบน2 ระหวางองค์ประกอบ ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะ มาตรวัดการกระจาย3เท่านั้น พิสัย4หมายถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่มากที่สุดกับค่าที่น้อยที่สุดของชุดขององค์ประกอบเหล่านั้น พิสัยอินเทอร์ควอไทล์5เป็นความแตกต่างระหว่างควอไทล์ (142-2)ที่หนึ่งและที่สาม และจะมีหน่วยสังเกตครึ่งหนึ่งในชุดนั้น พิสัยกึ่งอินเทอร์ควอไทล์6 บางครั้งเรียกว่า ความเบี่ยงเบนควอไทล์6 ซึ่งหมายถึงครึ่งหนึ่งของพิสัยอินเทอร์ควอไทล์ มีการใช้บ่อยๆ ในการวัดการกระจาย ความเบี่ยงเบนมัชฌิม7 หรือ ความเบี่ยงเบนเฉลี่ย7หมายถึงค่ามัชฌิมคณิตศาสตร์(140-2)ของค่าบวกของความเบี่ยงเบนของแต่ละรายการจากค่าเฉลี่ย ค่าแปรปรวน8หมายถึงค่ามัชฌิมคณิตศาสตร์ของกำลังสองของค่าเบี่ยงเบนเหล่านี้ และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน9หมายถึงรากที่สองของค่าความแปรปรวน

  • 9. สัญญลักษณ์ที่ใช้กันทั่วไปสำหรับค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคือ σ

142

ถ้าอนุกรมของหน่วยสังเกตถูกจัดเรียงลำดับให้สูงขึ้น ค่าซึ่งมีต่ำกว่าสัดส่วนหนึ่งของหน่วยสังเกตนั้นจะเรียกว่า ควอนไทล์1 หรือ สถิติลำดับ1 ค่ามัธยฐาน (140-6)ได้เอ่ยถึงมาก่อนนี้แล้ว สถิติลำดับที่สำคัญอื่นๆ ได้แก่ ควอไทล์2 เดไซล์3 และ เปอร์เซ็นไทล์4 หรือ เซ็นไทล์4 ซึ่งแบ่งหน่วยสังเกตออกเป็นสี่ส่วน สิบส่วน และร้อยส่วนตามลำดับ

143

ตัวแปรเป็นค่า ต่อเนื่อง1ในช่วงชั้นหนึ่งที่กำหนดให้ เมื่อตัวแปรนั้นสามารถมีจำนวนไม่สิ้นสุด (infinite number) ของค่าระหว่างสองจุดที่อยู่ในช่วงชั้นนั้น ในกรณีตรงกันข้ามจะเรียกว่าเป็นค่า ไม่ต่อเนื่อง2 เมื่อตัวแปรสามารถมีค่าเพียงค่าที่แยกๆ ออกมาเท่านั้น จะเรียกว่าตัวแปร แยก3

144

การจัดเรียงสมาชิกของประชากรในประเภทหรือชั้นต่างๆ ของคุณลักษณะหรือตัวแปรเฉพาะทำให้เกิด การกระจายความถี่1ซึ่งมักเรียกสั้นๆ ว่า การกระจาย1 อัตราส่วนของจำนวนในแต่ละกลุ่มหรือเซลล์— ความถี่สัมบูรณ์2หรือ ความถี่ชั้น2— ต่อจำนวนรวมในกลุ่มทั้งหมดเรียกว่า ความถี่สัมพัทธ์3ในกลุ่มนั้น ในวิชาประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า โครงสร้าง4และ องค์ประกอบ4มักจะใช้แทนกันได้ เพื่ออธิบายลักษณะอย่างเช่น อายุ เพศ สถานภาพสมรส อาชีพ ฯลฯ บางครั้งโครงสร้างใช้ในความหมายที่แคบกว่าเพื่ออธิบายการกระจายของประชากรตามอายุและเพศเท่านั้น

  • 4. คำว่าการกระจายตัวประชากรปรกติหมายถึงการกระจายตัวเชิงพื้นที่ อย่างไรก็ตามเมื่อใช้ควบกับชื่อของคุณลักษณะหรือลักษณะที่ทำการวิเคราะห์ คำว่าการกระจายตัวจะมีความหมายเหมือนกับคำว่าโครงสร้างหรือส่วนประกอบ ดังนั้นในการอ้างอิงจึงพบคำว่า การกระจายอายุ ส่วนประกอบอายุและเพศ และโครงสร้าอายุและเพศ

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=14&oldid=459"