The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "11"

จาก Demopædia
(110)
(110)
แถว 8: แถว 8:
 
=== 110 ===
 
=== 110 ===
  
{{TextTerm|หน่วยสถิติ|1|110}} พื้นฐานที่ใช้ในวิชาประชากรศาสตร์คือ{{TextTerm|บุคคล|2|110}} หรือ{{TextTerm|คน|2|110|2}}  คำว่า{{TextTerm|หัว|2|110|3}} ที่เคยใช้กันในอดีต เดี๋ยวนี้กลายเป็นคำล้าสมัยไปเสียแล้ว  {{TextTerm|ครัวเรือน|3|110}} ซึ่งเป็นหน่วยเศรษฐกิจ-สังคม ประกอบด้วยบุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน  มีการให้นิยามทางสถิติของคำว่าครัวเรือนต่างกันไป ตามนิยามซึ่งแนะนำให้ใช้เป็นมาตรฐานสากล คำว่าครัวเรือนจะประกอบด้วยกลุ่มของบุคคลซึ่งใช้{{NonRefTerm|ที่อยู่อาศัย}} ({{RefNumber|12|0|1}}) เดียวกันและกินอาหารมื้อหลักด้วยกัน  ในอดีต เคยมีการใช้คำว่า{{TextTerm|ครัว|3|110|2}} ซึ่งแสดงว่าในอตีต สมาชิกของครัวเรือนเคยใช้กองไผกองเดียวกัน  การจำแนกประเภทครัวเรือนก็แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและแต่ละการศึกษา  การจำแนกประเภทส่วนมากจะแยกความแตกต่างระหว่างครัวเรือนสองประเภท {{TextTerm|ครัวเรือนส่วนบุคคล|4|110|IndexEntry=ครัวเรือนส่วนบุคคล}} และ{{TextTerm|ครัวเรือนกลุ่มรวม|5|110|IndexEntry=ครัวเรือนกลุ่มรวม}}     บุคคลเดียวอาศัยอยู่ตามลำพังเรียกว่าเป็น{{TextTerm|ครัวเรือนคนเดียว|6|110}}  {{TextTerm|ผู้อาศัย|7|110}}คือบุคคลที่ไม่ได้เป็นคนรับใช้ในบ้านและไม่สัมพันธ์เป็นญาติกับสมาชิกคนอื่นๆ ในครัวเรือน และกินอาหารเป็นประจำกับครัวเรือน ต่างจาก{{TextTerm|ผู้พัก|8|110}} หรือ{{TextTerm|ผู้เช่าห้อง|8|110|2}} ที่ไม่ได้กินอาหารมื้อประจำกับครัวเรือน ทั้งผู้อาศัยและผู้พักอาจจะรวมหรือไม่รวมไว้ในครัวเรือนเพื่อวัตถุประสงค์ทางสถิติ
+
{{TextTerm|หน่วยสถิติ|1|110}} พื้นฐานที่ใช้ในวิชาประชากรศาสตร์คือ{{TextTerm|บุคคล|2|110}} หรือ{{TextTerm|คน|2|110|2}}  คำว่า{{TextTerm|หัว|2|110|3}} ที่เคยใช้กันในอดีต เดี๋ยวนี้กลายเป็นคำล้าสมัยไปเสียแล้ว  {{TextTerm|ครัวเรือน|3|110}} ซึ่งเป็นหน่วยเศรษฐกิจ-สังคม ประกอบด้วยบุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน  มีการให้นิยามทางสถิติของคำว่าครัวเรือนต่างกันไป ตามนิยามซึ่งแนะนำให้ใช้เป็นมาตรฐานสากล คำว่าครัวเรือนจะประกอบด้วยกลุ่มของบุคคลซึ่งใช้{{NonRefTerm|ที่อยู่อาศัย}} ({{RefNumber|12|0|1}}) เดียวกันและกินอาหารมื้อหลักด้วยกัน  ในอดีต เคยมีการใช้คำว่า{{TextTerm|ครัว|3|110|2}} ซึ่งแสดงว่าในอตีต สมาชิกของครัวเรือนเคยใช้กองไผกองเดียวกัน  การจำแนกประเภทครัวเรือนก็แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและแต่ละการศึกษา  การจำแนกประเภทส่วนมากจะแยกความแตกต่างระหว่างครัวเรือนสองประเภท {{TextTerm|ครัวเรือนส่วนบุคคล|4|110|IndexEntry=ครัวเรือนส่วนบุคคล}} และ{{TextTerm|ครัวเรือนกลุ่มรวม|5|110|IndexEntry=ครัวเรือนกลุ่มรวม}} บุคคลเดียวอาศัยอยู่ตามลำพังเรียกว่าเป็น{{TextTerm|ครัวเรือนคนเดียว|6|110}}  {{TextTerm|ผู้อาศัย|7|110}}คือบุคคลที่ไม่ได้เป็นคนรับใช้ในบ้านและไม่สัมพันธ์เป็นญาติกับสมาชิกคนอื่นๆ ในครัวเรือน และกินอาหารเป็นประจำกับครัวเรือน ต่างจาก{{TextTerm|ผู้พัก|8|110}} หรือ{{TextTerm|ผู้เช่าห้อง|8|110|2}} ที่ไม่ได้กินอาหารมื้อประจำกับครัวเรือน ทั้งผู้อาศัยและผู้พักอาจจะรวมหรือไม่รวมไว้ในครัวเรือนเพื่อวัตถุประสงค์ทางสถิติ
 
{{Note|4| ครัวเรือนส่วนบุคคลเรียกว่า{{NoteTerm|ครัวเรือนครอบครัว}}เมื่อสมาชิกของครอบครัวมีความสัมพันธ์กัน}}
 
{{Note|4| ครัวเรือนส่วนบุคคลเรียกว่า{{NoteTerm|ครัวเรือนครอบครัว}}เมื่อสมาชิกของครอบครัวมีความสัมพันธ์กัน}}
 
{{Note|5| ครัวเรือนกลุ่มรวมอาจรวม{{NoteTerm|ครัวเรือนสถาบัน}}ซึ่งประกอบด้วยบุคคลที่อาศัยอยู่ในสภาบันที่ได้จัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ (เช่นโรงพยาบาล เรือนจำ ฯลฯ)  และอาจรวมถึงบุคคลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันที่อาศัยอยู่ใน{{NonRefTerm|ที่พักกลุ่ม}} ({{RefNumber|12|0|1}}*) นอกเหนือไปจากสถาบัน อย่างไรก็ตาม คำนิยามสากลที่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำว่าครัวเรือนและ{{NoteTerm|ประชากรครัวเรือน}}จำกัดอยู่เฉพาะครัวเรือนส่วนบุคคล และคนที่อาศัยอยู่ที่อื่นจะเรียกว่า{{NoteTerm|บุคคลที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในครัวเรือน}} }}
 
{{Note|5| ครัวเรือนกลุ่มรวมอาจรวม{{NoteTerm|ครัวเรือนสถาบัน}}ซึ่งประกอบด้วยบุคคลที่อาศัยอยู่ในสภาบันที่ได้จัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ (เช่นโรงพยาบาล เรือนจำ ฯลฯ)  และอาจรวมถึงบุคคลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันที่อาศัยอยู่ใน{{NonRefTerm|ที่พักกลุ่ม}} ({{RefNumber|12|0|1}}*) นอกเหนือไปจากสถาบัน อย่างไรก็ตาม คำนิยามสากลที่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำว่าครัวเรือนและ{{NoteTerm|ประชากรครัวเรือน}}จำกัดอยู่เฉพาะครัวเรือนส่วนบุคคล และคนที่อาศัยอยู่ที่อื่นจะเรียกว่า{{NoteTerm|บุคคลที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในครัวเรือน}} }}

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 08:41, 19 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


110

หน่วยสถิติ1 พื้นฐานที่ใช้ในวิชาประชากรศาสตร์คือ บุคคล2 หรือ คน2 คำว่า หัว2 ที่เคยใช้กันในอดีต เดี๋ยวนี้กลายเป็นคำล้าสมัยไปเสียแล้ว ครัวเรือน3 ซึ่งเป็นหน่วยเศรษฐกิจ-สังคม ประกอบด้วยบุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน มีการให้นิยามทางสถิติของคำว่าครัวเรือนต่างกันไป ตามนิยามซึ่งแนะนำให้ใช้เป็นมาตรฐานสากล คำว่าครัวเรือนจะประกอบด้วยกลุ่มของบุคคลซึ่งใช้ที่อยู่อาศัย (120-1) เดียวกันและกินอาหารมื้อหลักด้วยกัน ในอดีต เคยมีการใช้คำว่า ครัว3 ซึ่งแสดงว่าในอตีต สมาชิกของครัวเรือนเคยใช้กองไผกองเดียวกัน การจำแนกประเภทครัวเรือนก็แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและแต่ละการศึกษา การจำแนกประเภทส่วนมากจะแยกความแตกต่างระหว่างครัวเรือนสองประเภท ครัวเรือนส่วนบุคคล4 และ ครัวเรือนกลุ่มรวม5 บุคคลเดียวอาศัยอยู่ตามลำพังเรียกว่าเป็น ครัวเรือนคนเดียว6 ผู้อาศัย7คือบุคคลที่ไม่ได้เป็นคนรับใช้ในบ้านและไม่สัมพันธ์เป็นญาติกับสมาชิกคนอื่นๆ ในครัวเรือน และกินอาหารเป็นประจำกับครัวเรือน ต่างจาก ผู้พัก8 หรือ ผู้เช่าห้อง8 ที่ไม่ได้กินอาหารมื้อประจำกับครัวเรือน ทั้งผู้อาศัยและผู้พักอาจจะรวมหรือไม่รวมไว้ในครัวเรือนเพื่อวัตถุประสงค์ทางสถิติ

  • 4. ครัวเรือนส่วนบุคคลเรียกว่าครัวเรือนครอบครัวเมื่อสมาชิกของครอบครัวมีความสัมพันธ์กัน
  • 5. ครัวเรือนกลุ่มรวมอาจรวมครัวเรือนสถาบันซึ่งประกอบด้วยบุคคลที่อาศัยอยู่ในสภาบันที่ได้จัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ (เช่นโรงพยาบาล เรือนจำ ฯลฯ) และอาจรวมถึงบุคคลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันที่อาศัยอยู่ในที่พักกลุ่ม (120-1*) นอกเหนือไปจากสถาบัน อย่างไรก็ตาม คำนิยามสากลที่แนะนำให้ใช้ศัพท์คำว่าครัวเรือนและประชากรครัวเรือนจำกัดอยู่เฉพาะครัวเรือนส่วนบุคคล และคนที่อาศัยอยู่ที่อื่นจะเรียกว่าบุคคลที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในครัวเรือน

111

เมื่อครัวเรือนส่วนบุคคล (110-4) มีบุคคลหลายคนอยู่ด้วยกันเรียกว่าเป็น สมาชิกของครัวเรือน1 และสมาชิกคนหนึ่งจะเป็น หัวหน้าครัวเรือน2 ยังไม่มีเกณฑ์ที่ยอมรับกันทั่วไปว่าใครจะเป็นหัวหน้าครัวเรือน ในบางกรณี หัวหน้าครัวเรือนอาจเป็น ผู้หารายได้หลัก3 ก็ได้ ในแบบสอบถามสำมะโนส่วนมาก จะมีคำถามหนึ่งที่เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์4 (114-3*) ของสมาชิกของครัวเรือนกับหัวหน้าครัวเรือน คำถามนี้ทำให้สามารถสามารถแยกความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ใน ครัวเรือนประสม5 หรือ ครัวเรือนผสม5 ซึ่งมีสมาชิกที่มากกว่าครัวเรือนทางชีววิทยา หรือครัวเรือนเดี่ยว (113-1) ครัวเรือนรวมอาจแยกออกเป็น แกนเดี่ยว6 หลายครอบครัว ซึ่งรวม แกนเดี่ยวปฐมภูมิ7 และ แกนเดี่ยวทุติยภูมิ8 แกนเหล่านี้เรียกกันทั่วไปว่าครอบครัว (112-1) ครอบครัวปฐมภูมิ9 เป็นครอบครัวของหัวหน้าครัวเรือนตามนิยาม ครอบครัวอื่นๆ เรียกว่า ครอบครัวทุติยภูมิ10 ขนาดครัวเรือน11 หมายถึงจำนวนบุคคลที่รวมอยู่ในครัวเรือน

  • 2. ศัพท์คำว่าหัวหน้าครัวเรือนบางครั้งใช้เพื่อหมายถึงหัวหน้าของครัวเรือน ศัพท์คำว่าหัวหน้าเห็นได้บ่อยๆ อย่างเช่นในคำว่าอัตราส่วนหัวหน้าซึ่งเป็นอัตราส่วนของจำนวนหัวหน้าครัวเรือนตามอายุ เพศ และลักษณะอื่นๆ ต่อประชากรในกลุ่มเดียวกันนั้น
  • 6. ครัวเรือนแกนเดี่ยวอาจเรียกว่าหน่วยครอบครัวสมรสก็ได้

112

ครอบครัว1 (cf. § 113 and § 115) เป็นหน่วยที่ต่างออกไป ซึ่งต้องแยกความแตกต่างจากครัวเรือน (110-3) ด้วยความระมัดระวัง นิยามเบื้องต้นของคำว่าครอบครัวจะอ้างถึงความสัมพันธ์ซึ่งมีอยู่หรือเกิดขึ้นจากการแต่งงาน การสืบทอดพันธุ์ หรือการรับเลี้ยงดูบุตร ทั้งหลายทั้งปวงเหล่านี้จะกำหนดโดยกฎหมายหรือประเพณี ความสัมพันธ์พื้นฐาน ได้แก่ ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างคู่โดยการแต่งงาน—และความสัมพันธ์ที่มีอยู่ระหว่างคู่สมรสเช่น พ่อแม่2 ได้แก่ พ่อ3 และ แม่4 และ ลูกๆ 5 ได้แก่ ลูกชาย6 และ ลูกสาว7

113

พ่อแม่และลูกๆ บางครั้งจะอ้างอิงถึง ครอบครัวทางชีววิทยา1 หรือ ครอบครัวเดี่ยว1 พี่น้องชาย2 และ พี่น้องหญิง3 ที่ไม่แยกว่าเป็นเพศใด เรียก พี่น้อง4 พี่น้องที่ร่วมพ่อหรือแม่เดียวกันเท่านั้นเรียก กึ่งพี่น้องชาย5 หรือ กึ่งพี่น้องหญิง6 ครอบครัวขยาย7 เป็นหน่วยครอบครัวใหญ่ขึ้น โดยทั่วไปประกอบด้วยครอบครัวเดี่ยวหลายครอบครัว ครอบครัวขยายแนวตั้ง8 ประกอบด้วยคนสามรุ่นขึ้นไปอาศัยอยู่ด้วยกันในครัวเรือนเดียวกันหรืออยู่ใกล้กันมากๆ ครอบครัวขยายแนวนอน9 จะรวมพี่น้องกับคู่แต่งงานและลูกๆ ที่อาศัยอยู่ด้วยกัน ครอบครัวขยายแนวตั้งสามารถผลิตครอบครัวพิเศษขึ้นมาอย่างเช่น ครอบครัวแขนง10 ซึ่งทายาทและครอบครัวอาจอาศัยอยู่กับพ่อแม่ของเขาต่อไปได้

  • 1. ศัพท์คำว่าครอบครัวง่ายๆ และครอบครัวขั้นต้นมีความหมายเหมือนกับคำว่าครอบครัวแกนเดี่ยวหรือครอบครัวชีววิทยา ในความหมายที่จำกัดอย่างเช่นในการวิเคราะห์ภาวะเจริญพันธุ์ คำว่าครอบครัวชีววิทยาอาจหมายถึงบุคคลและลูกๆ ของเขาไม่รวมลูกเลี้ยง
  • 7. ศัพท์คำว่าครอบครัวรวม และครอบครัวร่วมมีความหมายเหมือนกับคำว่าครอบครัวขยาย ในความหมายกว้างที่สุด ครอบครัวขยายอาจหมายถึงสมาชิกทั้งหมดของกลุ่มเครือญาติ

114

บุคคลที่สัมพันธ์ผ่าน ผู้สืบทอด1 จาก ต้นตระกูล2 หรือ บรรพบุรุษ2 เดียวกันเรียกว่า ญาติทางสายเลือด3 หรือ ญาติทางพันธุกรรม3 ศัพท์คำว่า วงศ์ญาติ3 และในความหมายของกลุ่มรวมว่า กลุ่มวงศาคณาญาติ3 ก็มีการใช้เช่นเดียวกัน ขนาดของความสัมพันธ์4 โดยทั่วไปคำนวณได้โดยอ้างถึงจำนวนขั้นตอนที่จำเป็นก่อนที่จะถึงบรรพบุรุษคนเดียวกัน แต่มีวิธีการคำนวณแตกต่างกันหลายวิธี ความสัมพันธ์พื้นฐานในแต่ละขั้นตอนเหล่านี้เป็น ความสัมพันธ์ระหว่างลูกกับพ่อแม่5 (cf. 112-6* and 112-7*) ซึ่งกลับกันกับ ความเป็นพ่อแม่6 (112-2*) ได้แก่ ความสัมพันธ์ของคู่แต่งงาน หรือของบิดา หรือของมารดาต่อ ลูก7 ความสัมพันธ์ทางสายเลือดต้องแยกออกจาก ความสัมพันธ์โดยการแต่งงาน8 ซึ่งการแต่งงานทำให้เกิดขึ้นระหว่างคู่สมรสฝ่ายหนึ่งกับญาติของอีกฝ่ายหนึ่ง

  • 3. คำว่าญาติพี่น้องใช้สำหรับคนที่เกี่ยวพันกันโดยสายเลือดหรือการแต่งงาน บางครั้งคำว่าญาติพี่น้องใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มรวมของญาติทั้งหมด
  • 7. คำว่าลูกหลานใช้เพื่อหมายถึงผู้คนรุ่นหลังที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน
  • 8. ในบางประเทศ คนที่เกี่ยวพันกันโดยการแต่งงานอาจหมายถึงว่าเป็นเขย-สะใภ้

115

ครอบครัว1 (cf. 112-1) ซึ่งเป็นหน่วยในการศึกษาทางประชากรศาสตร์ ที่เป็นตัวแทนของครัวเรือนทั้งหมดหรือบางส่วน จำเป็นต้องนิยามให้เฉพาะเจาะจงลงไป และคำนิยามสำหรับวัตถุประสงค์ต่างกันก็อาจผันแปรแตกต่างกันไป ครอบครัวทางสถิติ1 หรือ ครอบครัวในสำมะโน1 โดยทั่วไปประกอบด้วยสมาชิกทุกคนของครัวเรือนซึ่งสัมพันธ์กันโดยสายเลือด การรับบุตรบุญธรรม หรือการแต่งงาน ครัวเรือนอาจจะรวมหรือไม่รวมครอบครัวก็ได้ ครอบครัวทางสถิติไม่สามารถประกอบด้วยมากกว่าหนึ่งครัวเรือน แม้ว่าครัวเรือนหนึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่งครอบครัว ในบางประเทศ นิยามของครอบครัวทางสถิติอาจใช้ประมาณครอบครัวทางชีววิทยา (113-1) ก็ได้ ในบางประเทศ นิยามอาจใช้ แกนครอบครัว2 เป็นฐาน ไม่ว่าจะประกอบด้วยคู่แต่งงานที่ไม่มีบุตร คู่แต่งงานที่อยู่กับลูกที่ยังไม่แต่งงานหนึ่งคนหรือมากกว่า หรือพ่อแม่ที่อยู่กับลูกที่ยังไม่แต่งงานหนึ่งคนหรือมากกว่า คนที่อยู่ด้วยกันเหล่านี้อาจก่อรูปเป็นครอบครัวในสำมะโนด้วยตัวเองหรือเป็นแกนของครอบครัวนั้น คู่แต่งงานที่อาศัยอยู่กับลูกๆ เรียกว่า ครอบครัวตามประเพณี3 ครอบครัวแตกแยก4 เป็นครอบครัวที่พ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งหายไปด้วยการตาย หย่า หรือทิ้งร้าง ครอบครัวซึ่งมีพ่อหรือแม่เพียงคนเดียว ไม่ว่าจะโดยการแยก หรือเป็นม่ายอาสัยอยู่กับลูกๆ อาจเรียกว่า ครอบครัวพ่อแม่เดี่ยว4 คู่แต่งงานไม่ว่าจะเป็นม่ายหรือแยกกันอยู่ในเวลาที่เก็บข้อมูล และไม่มีลูกๆ เหลืออาศัยอยู่ในครัวเรือนอาจมีชื่อเรียกเฉพาะ อย่างเช่นในประเทศเยอรมัน เรียก ครอบครัวส่วนเกิน5(“Restfamilie”) เมื่อครอบครัวประเภทต่างๆ เหล่านี้อาสัยอยู่ในครัวเรือนก็จะเรียกว่า ครัวเรือนครอบครัว6

  • 1. ในประเทศสหรัฐอเมริกา ครอบครัวย่อยคือคู่สมรสที่มีหรือไม่มีลูกหรือพ่อแม่ที่อยู่กับลูกที่ยังไม่แต่งงาน คนเดียวหรือหลายคน ที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี อาศัยอยู่ในฐานะสมาชิกของครัวเรือน และเกี่ยวโยงแต่ไม่รวมหัวหน้าครัวเรือนและภรรยา ในประเทศอังกฤษ หน่วยครอบครัวปฐมภูมิประกอบด้วยพ่อแม่และลูกๆ พี่น้องและบรรพบุรุษของพ่อแม่

116

ในวรรณกรรมทางประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า รุ่นวัย1 มีความหมายชัดเจนแน่นอนว่าเป็นกลุ่มของบุคคลที่เกิดภายในระยะเวลาที่ระบุไว้ โดยทั่วไปใช้ปีปฏิทินเป็นเวลาอ้างอิง ศัพท์คำว่า รุ่น2 หมายถึงกลุ่มของบุคคลที่ประสบเหตุการณ์หนึ่งในระยะเวลาที่ระบุไว้ ดังนั้นรุ่นเกิดจึงพ้องกับรุ่นวัยในความหมายของ116-1 รุ่นแต่งงานคือกลุ่มของบุคคลที่แต่งงานภายในระยะเวลาที่ระบุไว้ ฯลฯ ในวิชาประชากรศาสตร์ เช่นเดียวกับในวิชา genealogy คำว่าชั่วคนหรือ รุ่นวัย3 อาจใช้เพื่อหมายถึงผู้สืบสกุลของกลุ่มบุคคล ซึ่งโดยตัวเองเป็นรุ่นวัยในความหมายของ116-1 ฉะนั้นลูกๆ ของกลุ่มผู้ย้ายถิ่นจึงมักถูกอ้างเป็น คนรุ่นที่สอง9อยู่บ่อยๆ บางครั้งเราก็ใช้เพื่อแสดงถึงรุ่นที่สามหรือสี่ รุ่นวัยสามารถมีคุณสมบัติได้ตามอายุปัจจุบันของพวกเขาเหล่านั้น ตัวอย่างเช่น รุ่นวัยเยาว์และรุ่นวัยกำลังเริ่ม6 (young and rising generation) รุ่นวัยกลางคน7 หรือ รุ่นวัยที่อยู่ในช่วงสูงสุดของชีวิต7 และ รุ่นวัยสูงอายุ8 ในขณะที่เกณฑ์อายุยังค่อนข้างคลุมเครือและดังนั้นจึงต้องการการจำกัดความ รุ่นของคนที่เกิดในช่วงประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอัตราเกิดต่ำ (หรือสูง) สามารถหมายถึง รุ่นอัตราเกิดต่ำ11 (หรือ รุ่นอัตราเกิดสูง10) บางครั้งการวิเคราะห์จำกัดเฉพาะการสืบสกุลผ่านเพียงเพศเดียว ดังนั้น ชั่วคนฝ่ายชาย4 หรือ ชั่วคนฝ่ายบิดา4 คือลูกชายของคนรุ่นของผู้ชาย ชั่วคนฝ่ายหญิง5 หรือ ชั่วคนฝ่ายมารดา5 คือลูกสาวของรุ่นของผู้หญิง ปรกติจะทำการแยกความแตกต่างเหล่านี้เมื่อจะคำนวณความยาวของรุ่น หรือช่วงห่างเฉลี่ยระหว่างรุ่นวัยที่ต่อเนื่อง (cf. 713-1)

  • 2. รุ่นวัย ศัพท์คำว่าการวิเคราะห์ใช้เพื่อแสดงวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งประสบการณ์ของรุ่นวัยของบุคคลต่างๆ ถูกศึกษาตลอดชีวิต หรือในระยะเวลาที่กำหนดไว้
    สำหรับวัตถุประสงค์ในการเกณฑ์ทหาร ผู้ชายที่จะต้องถูกเกณฑ์ในปีหนึ่งบางครั้งเรียกว่าชั้นของปีนั้น ในสหรัฐอเมริกา ศัพท์คำเดียวกันนี้ใช้สำหรับกลุ่มของนักเรียนที่จบการศึกษาที่โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยหนึ่งในปีหนึ่ง
  • 11. เพราะการลดจำนวนลงของการเกิดในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยเฉพาะในฝรั่งเศส ศัพท์ภาษาฝรั่งเศส "classes creuses" บางครั้งใช้ในวรรณกรรม

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=11&oldid=796"