The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "63"

จาก Demopædia
(637)
(No NewTextTerm in Thai)
 
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 632 ===
 
=== 632 ===
  
{{TextTerm|อัตราเกิด|1|632}}เป็นศัพท์ทั่วไป หมายถึงอัตราที่คำนวณโดยโยงจำนวนการเกิดมีชีพที่สังเกตได้ในประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อยในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ไปยังขนาดของประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อยในช่วงเวลาเดียวกันนั้น  อัตรานี้ปรกติจะเป็นอัตราต่อ 1,000 และช่วงระยะเวลาที่ใช้กันมากที่สุดคือหนึ่งปี เมื่อใช้ศัพท์คำว่าอัตราเกิดโดยไม่มีการขยายความ ก็จะเป็นที่เข้าใจกันว่าเป็น{{TextTerm|อัตราเกิดอย่างหยาบ|2|632}}  และการเกิดมีชีพทั้งหมดจะโยงไปสัมพันธ์กับประชากรทั้งหมด  บางครั้งมีการคำนวณ{{TextTerm|อัตราเกิดรวม|3|632}}ที่ใช้จำนวนเกิดมีชีพและการตายตัวอ่อนระยะหลัง  {{TextTerm|อัตราเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมาย|4|632}}และ{{TextTerm|อัตราเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย|5|632}}คำนวณได้โดยใช้จำนวนเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมายและจำนวนเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นตัวตั้ง และจำนวนประชากรที่แต่งงานและไม่แต่งงานในขณะเวลานั้นตามลำดับเป็นตัวหาร  อย่างไรก็ตามมีการใช้{{TextTerm|อัตราส่วนความไม่ถูกต้องตามกฎหมาย|6|632}}ซึ่งคือจำนวนเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายต่อการเกิด 1,000 ราย กันมากกว่า  ในการเปรียบเทียบภาวะเจริญพันธุ์ของประชากรต่างกลุ่มกัน{{TextTerm|อัตราเกิดปรับฐาน|7|632}}จะใช้เพื่อขจัดอิทธิพลของอัตราเกิดที่เกิดจากความแตกต่างกันบางอย่างในโครงสร้างของประชากร (ส่วนใหญ่เป็นความแตกต่างของโครงสร้างอายุและเพศ) {{TextTerm|อัตราส่วนเด็ก-สตรี|8|632}}ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปเป็นจำนวนเด็กอายุ 0 ถึง 4 ปีต่อผู้หญิงในวัยมีบุตร ซึ่งได้แก่ผู้หญิงอายุ 15 ถึง 49 ปี 1,000 คน เป็นดัชนีของภาวะเจริญพันธุ์เมื่อไม่มีสถิติการเกิดที่เชื่อถือได้  <br />{{NoteTerm|4}} และ5. ตัวหารของอัตราเกิด อัตราเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมายและอัตราเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายบางครั้งใช้จำนวนประชากรรวม }}
+
{{TextTerm|อัตราเกิด|1|632}}เป็นศัพท์ทั่วไป หมายถึงอัตราที่คำนวณโดยโยงจำนวนการเกิดมีชีพที่สังเกตได้ในประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อยในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ไปยังขนาดของประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อยในช่วงเวลาเดียวกันนั้น  อัตรานี้ปรกติจะเป็นอัตราต่อ 1,000 และช่วงระยะเวลาที่ใช้กันมากที่สุดคือหนึ่งปี เมื่อใช้ศัพท์คำว่าอัตราเกิดโดยไม่มีการขยายความ ก็จะเป็นที่เข้าใจกันว่าเป็น{{TextTerm|อัตราเกิดอย่างหยาบ|2|632}}  และการเกิดมีชีพทั้งหมดจะโยงไปสัมพันธ์กับประชากรทั้งหมด  บางครั้งมีการคำนวณ{{TextTerm|อัตราเกิดรวม|3|632}}ที่ใช้จำนวนเกิดมีชีพและการตายตัวอ่อนระยะหลัง  {{TextTerm|อัตราเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมาย|4|632}}และ{{TextTerm|อัตราเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย|5|632}}คำนวณได้โดยใช้จำนวนเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมายและจำนวนเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นตัวตั้ง และจำนวนประชากรที่แต่งงานและไม่แต่งงานในขณะเวลานั้นตามลำดับเป็นตัวหาร  อย่างไรก็ตามมีการใช้{{TextTerm|อัตราส่วนความไม่ถูกต้องตามกฎหมาย|6|632}}ซึ่งคือจำนวนเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายต่อการเกิด 1,000 ราย กันมากกว่า  ในการเปรียบเทียบภาวะเจริญพันธุ์ของประชากรต่างกลุ่มกัน{{TextTerm|อัตราเกิดปรับฐาน|7|632}}จะใช้เพื่อขจัดอิทธิพลของอัตราเกิดที่เกิดจากความแตกต่างกันบางอย่างในโครงสร้างของประชากร (ส่วนใหญ่เป็นความแตกต่างของโครงสร้างอายุและเพศ) {{TextTerm|อัตราส่วนเด็ก-สตรี|8|632}}ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปเป็นจำนวนเด็กอายุ 0 ถึง 4 ปีต่อผู้หญิงในวัยมีบุตร ซึ่งได้แก่ผู้หญิงอายุ 15 ถึง 49 ปี 1,000 คน เป็นดัชนีของภาวะเจริญพันธุ์เมื่อไม่มีสถิติการเกิดที่เชื่อถือได้   
 +
{{Note|4| ตัวหารของอัตราเกิด อัตราเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมายและอัตราเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายบางครั้งใช้จำนวนประชากรรวม }}
 +
{{Note|5| ดูหมายเหตุ 4}}
  
 
=== 633 ===
 
=== 633 ===
แถว 28: แถว 30:
 
=== 636 ===
 
=== 636 ===
  
ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์รุ่น|1|636}}หมายถึงพฤติกรรมการสืบทอดพันธุ์ของเฉพาะรุ่นเกิดหรือรุ่นแต่งงาน ({{RefNumber|11|6|2}}) เมื่ออัตราเจริญพันธุ์รายระยะเวลาการแต่งงานหรืออัตราเจริญพันธุ์รายอายุบวกรวมกันจากเมื่อเริ่มต้นความเสี่ยงของรุ่นจนกระทั่งเวลาหลังจากนั้น เราเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสม|2|636}} {{NewTextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสมรายอายุ|3|636}} หรือ {{NewTextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสมรายระยะเวลาการแต่งงาน|3|636|2}} เมื่อวันที่สิ้นสุดเป็นวันของสตรีกลุ่มที่เกิดหรือแต่งงาน ({{RefNumber|50|1|4}}) {{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์|4|636}} หรือ{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ชั่วชีวิต|4|636|2}} เป็นภาวะเจริญพันธุ์สะสมจนกระทั่งถึงวันเวลาที่สมาชิกทั้งหมดของรุ่นนั้นมีอายุพ้นวัยมีบุตร จำนวนรวมของผลคูณของอัตราเจริญพันธุ์ของรุ่นนั้นด้วยความน่าจะเป็นของการรอดชีพของสตรีไปถึงอายุถัดไปเรียกว่าเป็น{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สุทธิสะสม|5|636}} {{NewTextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสมสุทธิรายอายุ|6|636}}หรือ{{NewTextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสมสุทธิรายระยะเวลาการแต่งงาน|6|636|2}} และ{{NewTextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์สุทธิ|7|636}}หรือ{{NewTextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ชั่วชีวิตสุทธิ|7|636|2}} ของสตรีรุ่นนั้น
+
ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์รุ่น|1|636}}หมายถึงพฤติกรรมการสืบทอดพันธุ์ของเฉพาะรุ่นเกิดหรือรุ่นแต่งงาน ({{RefNumber|11|6|2}}) เมื่ออัตราเจริญพันธุ์รายระยะเวลาการแต่งงานหรืออัตราเจริญพันธุ์รายอายุบวกรวมกันจากเมื่อเริ่มต้นความเสี่ยงของรุ่นจนกระทั่งเวลาหลังจากนั้น เราเรียกว่า{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสม|2|636}} {{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสมรายอายุ|3|636}} หรือ {{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสมรายระยะเวลาการแต่งงาน|3|636|2}} เมื่อวันที่สิ้นสุดเป็นวันของสตรีกลุ่มที่เกิดหรือแต่งงาน ({{RefNumber|50|1|4}}) {{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์|4|636}} หรือ{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ชั่วชีวิต|4|636|2}} เป็นภาวะเจริญพันธุ์สะสมจนกระทั่งถึงวันเวลาที่สมาชิกทั้งหมดของรุ่นนั้นมีอายุพ้นวัยมีบุตร จำนวนรวมของผลคูณของอัตราเจริญพันธุ์ของรุ่นนั้นด้วยความน่าจะเป็นของการรอดชีพของสตรีไปถึงอายุถัดไปเรียกว่าเป็น{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สุทธิสะสม|5|636}} {{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสมสุทธิรายอายุ|6|636}}หรือ{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สะสมสุทธิรายระยะเวลาการแต่งงาน|6|636|2}} และ{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์สุทธิ|7|636}}หรือ{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ชั่วชีวิตสุทธิ|7|636|2}} ของสตรีรุ่นนั้น
 
{{Note|4| ก่อนสิ้นสุดระยะเวลาของการมีบุตร ใช้ศัพท์คำว่าภาวะเจริญพันธุ์ไม่สมบูรณ์หรือภาวะเจริญพันธุ์จนถึงปัจจุบันเพื่อแสดงว่าภาวะเจริญพันธุ์สะสมของคนรุ่นนั้นอาจจะเพิ่มขึ้นได้อีก}}
 
{{Note|4| ก่อนสิ้นสุดระยะเวลาของการมีบุตร ใช้ศัพท์คำว่าภาวะเจริญพันธุ์ไม่สมบูรณ์หรือภาวะเจริญพันธุ์จนถึงปัจจุบันเพื่อแสดงว่าภาวะเจริญพันธุ์สะสมของคนรุ่นนั้นอาจจะเพิ่มขึ้นได้อีก}}
  
 
=== 637 ===
 
=== 637 ===
  
สำมะโนและการสำรวจอาจให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะเจริญพันธุ์เมื่อมีคำถามเกี่ยวกับจำนวนที่เกิดจากสตรีหรือคู่อยู่กินที่แจงนับได้ ไม่ว่าจะเป็นในช่วง{{TextTerm|การแต่งงานปัจจุบัน|1|637}} หรือการแต่งงานทั้งหมด {{TextTerm|จำนวนเฉลี่ยของบุตรที่เกิดต่อสตรี|2|637}} หรือ {{TextTerm|จำนวนบุตรที่มีเฉลี่ย|2|637|2}} อาจคำนวณได้ จำนวนของบุตรต่อคู่อยู่กินบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ขนาดครอบครัวเฉลี่ย|3|637}} ทั้งยังเป็นไปได้ที่จะคำนวณ{{TextTerm|จำนวนเฉลี่ยของการเกิดต่อการแต่งงาน|4|637}}  มีความสนใจเป็นพิเศษต่อ{{TextTerm|การแต่งงานของภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์|5|637}}ซึ่งภรรยาอายุพ้นวัยเจริญพันธุ์ก่อนที่การแต่งงานจะสิ้นสลายลง  {{TextTerm|จำนวนบุตรสุดท้าย|6|637}} หรือ{{TextTerm|จำนวนบุตรสัมบูรณ์|6|637|2}} ซึ่งได้แก่จำนวนเฉลี่ยของบุตรต่อสตรีที่ผ่านวัยมีบุตรแล้ว ไม่แตกต่างมากนักจาก{{NonRefTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์}} ({{RefNumber|63|6|4}})  การทำตารางของจำนวนบุตรสุดท้ายหรือภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์โดยไขว้กับจำนวนบุตรช่วยให้คำนวณอนุกรมของ{{TextTerm|อัตราส่วนจำนวนบุตรลำดับถัดไป|7|637}} ซึ่งเป็นเศษส่วนที่มีตัวหารเป็นจำนวนของผู้หญิงที่มีลูก {{NonRefTerm|n}} คน และตัวตั้งเป็นจำนวนผู้หญิงที่มีลูก {{NonRefTerm|n + 1 }} คน  การศึกษาพิเศษให้ข้อมูลเกี่ยวกับ{{TextTerm|การก่อรูปครอบครัว|8|637}} และ{{TextTerm|วงจรชีวิตครอบครัว|8|637|2}} ในการศึกษาเหล่านี้{{NewTextTerm|ความถี่ของการปฏิสนธิก่อนแต่งงาน|9|637}} {{NonRefTerm|ช่วงห่างการเกิด}} ({{RefNumber|61|2|1}}) และ{{TextTerm|อายุเมื่อการเกิดของลูกคนสุดท้าย|10|637}}สำหรับผู้หญิงที่มีภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์แล้วมีความน่าสนใจเป็นการเฉพาะ
+
สำมะโนและการสำรวจอาจให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะเจริญพันธุ์เมื่อมีคำถามเกี่ยวกับจำนวนที่เกิดจากสตรีหรือคู่อยู่กินที่แจงนับได้ ไม่ว่าจะเป็นในช่วง{{TextTerm|การแต่งงานปัจจุบัน|1|637}} หรือการแต่งงานทั้งหมด {{TextTerm|จำนวนเฉลี่ยของบุตรที่เกิดต่อสตรี|2|637}} หรือ {{TextTerm|จำนวนบุตรที่มีเฉลี่ย|2|637|2}} อาจคำนวณได้ จำนวนของบุตรต่อคู่อยู่กินบางครั้งเรียกว่า{{TextTerm|ขนาดครอบครัวเฉลี่ย|3|637}} ทั้งยังเป็นไปได้ที่จะคำนวณ{{TextTerm|จำนวนเฉลี่ยของการเกิดต่อการแต่งงาน|4|637}}  มีความสนใจเป็นพิเศษต่อ{{TextTerm|การแต่งงานของภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์|5|637}}ซึ่งภรรยาอายุพ้นวัยเจริญพันธุ์ก่อนที่การแต่งงานจะสิ้นสลายลง  {{TextTerm|จำนวนบุตรสุดท้าย|6|637}} หรือ{{TextTerm|จำนวนบุตรสัมบูรณ์|6|637|2}} ซึ่งได้แก่จำนวนเฉลี่ยของบุตรต่อสตรีที่ผ่านวัยมีบุตรแล้ว ไม่แตกต่างมากนักจาก{{NonRefTerm|ภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์}} ({{RefNumber|63|6|4}})  การทำตารางของจำนวนบุตรสุดท้ายหรือภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์โดยไขว้กับจำนวนบุตรช่วยให้คำนวณอนุกรมของ{{TextTerm|อัตราส่วนจำนวนบุตรลำดับถัดไป|7|637}} ซึ่งเป็นเศษส่วนที่มีตัวหารเป็นจำนวนของผู้หญิงที่มีลูก {{NonRefTerm|n}} คน และตัวตั้งเป็นจำนวนผู้หญิงที่มีลูก {{NonRefTerm|n + 1 }} คน  การศึกษาพิเศษให้ข้อมูลเกี่ยวกับ{{TextTerm|การก่อรูปครอบครัว|8|637}} และ{{TextTerm|วงจรชีวิตครอบครัว|8|637|2}} ในการศึกษาเหล่านี้{{TextTerm|ความถี่ของการปฏิสนธิก่อนแต่งงาน|9|637}} {{NonRefTerm|ช่วงห่างการเกิด}} ({{RefNumber|61|2|1}}) และ{{TextTerm|อายุเมื่อการเกิดของลูกคนสุดท้าย|10|637}}สำหรับผู้หญิงที่มีภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์แล้วมีความน่าสนใจเป็นการเฉพาะ
  
 
=== 638 ===
 
=== 638 ===
  
{{TextTerm|ประวัติภาวะเจริญพันธุ์|1|638}} หรือ{{TextTerm|ประวัติการสืบทอดพันธุ์|1|638|2}}เป็นรายการเหตุการณ์สำคัญในชีวิตการสืบทอดพันธุ์ของผู้หญิงแต่ละคน อย่างเข่นการแต่งงาน การตั้งครรภ์ การเกิด การตายทารก ฯลฯ  และวันเวลาที่เกิดเหตุการณ์เหล่านั้น  ประวัติภาวะเจริญพันธุ์มักได้รับข้อมูลย้อนเวลาจากการสำรวจ  {{TextTerm|รูปแบบครอบครัว|1|638|3}}ใช้ในวิชา{{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|1}}) ซึ่งกำหนดรูปแบบครอบครัวของคู่อยู่กินและลูกๆ โดย{{TextTerm|การประกอบสร้างครอบครัวขึ้นใหม่|2|638}}โดยอาศัย{{NonRefTerm|บันทึกเหตุการณ์ชีพ}} ({{RefNumber|21|1|3}})  {{TextTerm|ประวัติการตั้งครรภ์|3|638}} หรือ{{TextTerm|บันทึกการตั้งครรภ์|3|638|2}}ของผู้หญิงคนหนึ่งมีข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ซึ่งรวมวันเวลาเมื่อแต่ละครรภ์เริ่มต้นและจบลง และผลของการตั้งครรภ์นั้น  บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับวันเวลาของภาวะเจริญพันธุ์เช่นนั้นใช้เพื่อวัตถุประสงค์หลายประการ ตัวอย่างเช่น สามารถใช้เป็นข้อมูลเกี่ยวกับ{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ธรรมชาติ|4|638}} ซึ่งได้แก่ภาวะเจริญพันธุ์ที่ไม่มี{{NonRefTerm|การจำกัดขนาดครอบครัว}} ({{RefNumber|62|4|4}})  ข้อมูลเช่นนั้นสามารถใช้ในการประมาณค่า{{TextTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์|5|638}} ซึ่งหมายถึงความน่าจะเป็นของการปฏิสนธิต่อ{{NonRefTerm|รอบประจำเดือน}} ({{RefNumber|62|2|2}})  มีความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ตามธรรมชาติ|6|638}}ในกรณีที่ไม่มีการป้องกันการปฏิสนธิ กับ{{TextTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ที่เหลือ|7|638}}ในกรณีตรงกันข้าม  ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ที่มีประสิทธิภาพ|8|638}}แสดงความหมายถึงความสามารถในการมีครรภ์ที่คำนวณได้ในแง่ของการปฏิสนธิซึ่งมีผลเป็นการเกิดมีชีพเท่านั้น  {{TextTerm|อัตราปฏิสนธิ|9|638}}ในช่วงระยะเวลาของ{{NonRefTerm|การเปิดต่อความเสี่ยง}} ({{RefNumber|61|3|1}}) ใช้เพื่อวัดประสิทธิภาพของการป้องกันการปฏิสนธิในช่วงเวลาของการใช้วิธีการคุมกำเนิด
+
{{TextTerm|ประวัติภาวะเจริญพันธุ์|1|638}} หรือ{{TextTerm|ประวัติการสืบทอดพันธุ์|1|638|2}}เป็นรายการเหตุการณ์สำคัญในชีวิตการสืบทอดพันธุ์ของผู้หญิงแต่ละคน อย่างเข่นการแต่งงาน การตั้งครรภ์ การเกิด การตายทารก ฯลฯ  และวันเวลาที่เกิดเหตุการณ์เหล่านั้น  ประวัติภาวะเจริญพันธุ์มักได้รับข้อมูลย้อนเวลาจากการสำรวจ  {{TextTerm|รูปแบบครอบครัว|1|638|3}}ใช้ในวิชา{{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|1}}) ซึ่งกำหนดรูปแบบครอบครัวของคู่อยู่กินและลูกๆ โดย{{TextTerm|การประกอบสร้างครอบครัวขึ้นใหม่|2|638}}โดยอาศัย{{NonRefTerm|บันทึกเหตุการณ์ชีพ}} ({{RefNumber|21|1|3}})  {{TextTerm|ประวัติการตั้งครรภ์|3|638}} หรือ{{TextTerm|บันทึกการตั้งครรภ์|3|638|2}}ของผู้หญิงคนหนึ่งมีข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ซึ่งรวมวันเวลาเมื่อแต่ละครรภ์เริ่มต้นและจบลง และผลของการตั้งครรภ์นั้น  บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับวันเวลาของภาวะเจริญพันธุ์เช่นนั้นใช้เพื่อวัตถุประสงค์หลายประการ ตัวอย่างเช่น สามารถใช้เป็นข้อมูลเกี่ยวกับ{{TextTerm|ภาวะเจริญพันธุ์ธรรมชาติ|4|638}} ซึ่งได้แก่ภาวะเจริญพันธุ์ที่ไม่มี{{NonRefTerm|การจำกัดขนาดครอบครัว}} ({{RefNumber|62|4|4}})  ข้อมูลเช่นนั้นสามารถใช้ในการประมาณค่า{{TextTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์|5|638}} ซึ่งหมายถึงความน่าจะเป็นของการปฏิสนธิต่อ{{NonRefTerm|รอบประจำเดือน}} ({{RefNumber|62|2|2}})  มีความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ตามธรรมชาติ|6|638}}ในกรณีที่ไม่มีการป้องกันการปฏิสนธิ กับ{{TextTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ที่เหลือ|7|638}}ในกรณีตรงกันข้าม  ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ที่มีประสิทธิภาพ|8|638}}แสดงความหมายถึงความสามารถในการมีครรภ์ที่คำนวณได้ในแง่ของการปฏิสนธิซึ่งมีผลเป็นการเกิดมีชีพเท่านั้น  {{TextTerm|อัตราปฏิสนธิ|9|638}}ในช่วงระยะเวลาของ{{NonRefTerm|การเปิดต่อความเสี่ยง}}ที่ประมาณอยู่บ่อยๆ โดยใช้{{TextTerm|ดัชนีเพิร์ล|10|638}} ({{RefNumber|61|3|1}}) ใช้เพื่อวัดประสิทธิภาพของการป้องกันการปฏิสนธิในช่วงเวลาของการใช้วิธีการคุมกำเนิด
 
{{Note|1| โดยปรกติประวัติการเกิดจำกัดอยู่ที่การเกิดมีชีวิต}}
 
{{Note|1| โดยปรกติประวัติการเกิดจำกัดอยู่ที่การเกิดมีชีวิต}}
 
{{Note|6| ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ เมื่อใช้โดดๆ จะหมายถึงภาวะความสามารถในการมีครรภ์ตามธรรมชาติ}}
 
{{Note|6| ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ เมื่อใช้โดดๆ จะหมายถึงภาวะความสามารถในการมีครรภ์ตามธรรมชาติ}}
แถว 50: แถว 52:
 
=== 640 ===
 
=== 640 ===
  
เมื่อ{{NonRefTerm|การทำแท้ง}} ({{RefNumber|60|4|2}}) ได้ทำให้ถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ก็จะสามารถรวบรวมสถิติเกี่ยวกับ{{NonRefTerm|การทำแท้งที่ถูกกฎหมาย}} ({{RefNumber|60|4|4}}) ได้  {{TextTerm|อัตราการแท้ง|1|640}}เป็นการวัดความถี่ของการแท้งในประชากรในช่วงเวลาหนึ่ง ปรกติใช้ช่วงเวลาหนึ่งปี การแท้งอาจโยงไปสัมพันธ์กับประชากรรวม หรือกับจำนวนของผู้หญิงในวัยมีบุตร และอาจทำเป็นอัตราเฉพาะอายุ จำนวนบุตร หรือลักษณะอื่นๆ  {{TextTerm|อัตราส่วนการแท้ง|2|640}}เป็นมาตรวัดความถี่ของการแท้งที่สัมพันธ์กับจำนวน{{NonRefTerm|การเกิดมีชีพ}} ({{RefNumber|60|1|4}}) ในช่วงเวลาเดียวกัน  {{TextTerm|อัตราการแท้งตลอดช่วงชีวิต|3|640}}เป็นการรวม{{TextTerm|อัตราการแท้งรายอายุ|4|640}} และเป็นมาตรวัดสังเคราะห์ของการแท้งต่อสตรี 1 หรือ 1,000 คน
+
เมื่อ{{NonRefTerm|การทำแท้ง}} ({{RefNumber|60|4|2}}) ได้ทำให้ถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ก็จะสามารถรวบรวมสถิติเกี่ยวกับ{{NonRefTerm|การทำแท้งที่ถูกกฎหมาย}} ({{RefNumber|60|4|4}}) ได้  {{TextTerm|อัตราการแท้ง|1|640}}เป็นการวัดความถี่ของการแท้งในประชากรในช่วงเวลาหนึ่ง ปรกติใช้ช่วงเวลาหนึ่งปี การแท้งอาจโยงไปสัมพันธ์กับประชากรรวม หรือกับจำนวนของผู้หญิงในวัยมีบุตร และอาจทำเป็นอัตราเฉพาะอายุ จำนวนบุตร หรือลักษณะอื่นๆ  {{TextTerm|อัตราส่วนการแท้ง|2|640}}เป็นมาตรวัดความถี่ของการแท้งที่สัมพันธ์กับจำนวน{{NonRefTerm|การเกิดมีชีพ}} ({{RefNumber|60|1|4}}) ในช่วงเวลาเดียวกัน  {{TextTerm|อัตราการแท้งตลอดช่วงชีวิต|3|640}}เป็นการรวม{{TextTerm|อัตราการแท้งรายอายุ|4|640}} และเป็นมาตรวัดสังเคราะห์ของการแท้งต่อสตรี 1 หรือ 1,000 คน อัตราเหล่านี้เป็นอัตราส่วนของจำนวนการแท้งที่รายงานในแต่ละอายุต่อจำนวนปีที่มีชีวิตอยู่โดยสตรีในกลุ่มอายุเดียวกัน ถ้าสามารถจำแนกสตรีตามสถานภาพสมรส ก็จะได้{{TextTerm|อัตราการแท้งตามอายุและสถานภาพสมรส|5|640}} และมีอยู่บ่อยๆ ที่หารจำนวนการแท้งด้วยจำนวนการปฏิสนธิเพื่อคำนวณ{{TextTerm|ความน่าจะเป็นของการแท้งตามอายุและสถานภาพสมรส|6|640}}
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 14:45, 17 สิงหาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


632

อัตราเกิด1เป็นศัพท์ทั่วไป หมายถึงอัตราที่คำนวณโดยโยงจำนวนการเกิดมีชีพที่สังเกตได้ในประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อยในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ไปยังขนาดของประชากรหรือประชากรกลุ่มย่อยในช่วงเวลาเดียวกันนั้น อัตรานี้ปรกติจะเป็นอัตราต่อ 1,000 และช่วงระยะเวลาที่ใช้กันมากที่สุดคือหนึ่งปี เมื่อใช้ศัพท์คำว่าอัตราเกิดโดยไม่มีการขยายความ ก็จะเป็นที่เข้าใจกันว่าเป็น อัตราเกิดอย่างหยาบ2 และการเกิดมีชีพทั้งหมดจะโยงไปสัมพันธ์กับประชากรทั้งหมด บางครั้งมีการคำนวณ อัตราเกิดรวม3ที่ใช้จำนวนเกิดมีชีพและการตายตัวอ่อนระยะหลัง อัตราเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมาย4และ อัตราเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย5คำนวณได้โดยใช้จำนวนเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมายและจำนวนเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นตัวตั้ง และจำนวนประชากรที่แต่งงานและไม่แต่งงานในขณะเวลานั้นตามลำดับเป็นตัวหาร อย่างไรก็ตามมีการใช้ อัตราส่วนความไม่ถูกต้องตามกฎหมาย6ซึ่งคือจำนวนเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายต่อการเกิด 1,000 ราย กันมากกว่า ในการเปรียบเทียบภาวะเจริญพันธุ์ของประชากรต่างกลุ่มกัน อัตราเกิดปรับฐาน7จะใช้เพื่อขจัดอิทธิพลของอัตราเกิดที่เกิดจากความแตกต่างกันบางอย่างในโครงสร้างของประชากร (ส่วนใหญ่เป็นความแตกต่างของโครงสร้างอายุและเพศ) อัตราส่วนเด็ก-สตรี8ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปเป็นจำนวนเด็กอายุ 0 ถึง 4 ปีต่อผู้หญิงในวัยมีบุตร ซึ่งได้แก่ผู้หญิงอายุ 15 ถึง 49 ปี 1,000 คน เป็นดัชนีของภาวะเจริญพันธุ์เมื่อไม่มีสถิติการเกิดที่เชื่อถือได้

  • 4. ตัวหารของอัตราเกิด อัตราเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมายและอัตราเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายบางครั้งใช้จำนวนประชากรรวม
  • 5. ดูหมายเหตุ 4

633

ศัพท์คำว่า อัตราเจริญพันธุ์1ใช้เมื่อตัวหารของส่วนหนึ่งของอัตราเกิดจำกัดอยู่ที่กลุ่มของบุคคลเพศเดียวกันในวัยสืบทอดพันธุ์ (620-1) ตัวหารนี้โดยทั่วไปเป็นประชากรกลางปีในระยะเวลาที่ระบุไว้ แต่มันอาจจะเป็นจำนวนปีที่มีชีวิตอยู่ของกลุ่มประชากรนั้นในช่วงเวลานั้นหรือขนาดเฉลี่ยของกลุ่มนั้น นอกจากระบุไว้เป็นอย่างอื่น อัตราเจริญพันธุ์เป็น อัตราเจริญพันธุ์สตรี2 และอัตราที่คำนวณสำหรับกลุ่มของสตรีจะใช้จำนวนปีที่มีชีวิตอยู่โดยจำนวนของสตรีในช่วงเวลาหนึ่งเรียกว่าจำนวนของ ปีสตรี3 อัตราเจริญพันธุ์บุรุษ4คำนวณได้ด้วยวิธีเดียวกันกับของผู้หญิง โดยทั่วไปอัตราเจริญพันธุ์แสดงในรูปจำนวนเกิดต่อพัน (บุคคลในประเภทเหมือนกัน — เพศ อายุ สถานภาพสมรส ฯลฯ — cf. 133-4*) อัตราเจริญพันธุ์สมรส5หรือ อัตราเจริญพันธุ์ที่ถูกต้องตามกฎหมาย5โยงจำนวนรวมของการเกิดที่ถูกต้องตามกฎหมาย (610-3) ไปยังจำนวนของสตรีที่แต่งงานแล้วในขณะนั้น อัตราเจริญพันธุ์ไม่สมรส6หรือ อัตราเจริญพันธุ์ที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย6โยงจำนวนรวมของการเกิดที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย (610-4) ไปยังจำนวนของสตรีโสด ม่ายหรือหย่าแล้ว อัตราเจริญพันธุ์ทั้งหมด7ไม่แยกความแตกต่างตามความถูกต้องตามกฎหมาย (610-1) ของการเกิดหรือสถานภาพสมรสของพ่อแม่ อัตราเจริญพันธุ์ทั่วไป8โยงจำนวนรวมของการเกิดไปยังผู้หญิงทั้งหมดในวัยมีบุตรโดยไม่คำนึงถึงสถานภาพสมรส อัตราที่ใช้ พิสัยอายุที่แคบลง (ปรกติหนึ่งปีหรือกลุ่มอายุ 5 ปี) เรียกว่า อัตราเจริญพันธุ์รายอายุ9 หรือ อัตราเกิดรายอายุ9

  • 1. ในศัพท์หลายๆ คำที่ใช้ในย่อหน้านี้ และย่อหน้าต่อๆ ไป อัตราเกิดจะใช้ในความหมายเดียวกับอัตราเจริญพันธุ์
  • 5. ภาวะเจริญพันธุ์สมรส หรือภาวะเจริญพันธุ์ที่ถูกต้องตามกฎหมาย เป็นภาวะเจริญพันธุ์ของผู้ที่แต่งงานแล้ว (ดู 635-1).
  • 6. ภาวะเจริญพันธุ์นอกสมรส หรือภาวะเจริญพันธุ์ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นภาวะเจริญพันธุ์ของผู้ที่ไม่ได้แต่งงาน

634

อัตราเจริญพันธุ์ตามลำดับบุตร1เกี่ยวโยงการเกิดของลำดับที่เฉพาะลำดับหนึ่งไปยังสตรีจำนวนหนึ่ง หรือโยงไปยังจำนวนการแต่งงาน หรือจำนวนเกิดของลำดับก่อนหน้านั้น อัตราเจริญพันธุ์รายจำนวนบุตร2 หรือ อัตราเกิดรายจำนวนบุตร2ไม่เพียงจำกัดเฉพาะการเกิดของลำดับที่กำหนดซึ่งเป็นตัวตั้ง แต่ยังจำกัดที่ตัวหารซึ่งคือจำนวนสตรีที่เสี่ยง (134-2) ต่อการมีจำนวนบุตร (611-6) นั้นๆ เช่น การเกิดลำดับที่สองต่อสตรีมีบุตรหนึ่งคน อัตราเช่นนี้โดยปรกติเป็นอัตรารายอายุหรือรายระยะเวลา ในเรื่อง ความน่าจะเป็นของการเกิดรายจำนวนบุตร3นั้น ตัวตั้งประกอบด้วยจำนวนการเกิดของลำดับ x + 1 ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง และตัวหารประกอบด้วยจำนวนสตรีที่มีบุตร x เมื่อเวลาเริ่มต้นของช่วงเวลาเดียวกันนั้น

635

ในการศึกษา ภาวะเจริญพันธุ์สมรส1เป็นไปได้ที่จะจัดข้อมูลตามรุ่นแต่งงาน (116-2) ของมารดา และ อัตราเจริญพันธุ์รายระยะเวลาการแต่งงาน2มักจะคำนวณขึ้นเพื่อหา อัตราเจริญพันธุ์สมรสรายอายุ3

636

ศัพท์คำว่า ภาวะเจริญพันธุ์รุ่น1หมายถึงพฤติกรรมการสืบทอดพันธุ์ของเฉพาะรุ่นเกิดหรือรุ่นแต่งงาน (116-2) เมื่ออัตราเจริญพันธุ์รายระยะเวลาการแต่งงานหรืออัตราเจริญพันธุ์รายอายุบวกรวมกันจากเมื่อเริ่มต้นความเสี่ยงของรุ่นจนกระทั่งเวลาหลังจากนั้น เราเรียกว่า ภาวะเจริญพันธุ์สะสม2 ภาวะเจริญพันธุ์สะสมรายอายุ3 หรือ ภาวะเจริญพันธุ์สะสมรายระยะเวลาการแต่งงาน3 เมื่อวันที่สิ้นสุดเป็นวันของสตรีกลุ่มที่เกิดหรือแต่งงาน (501-4) ภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์4 หรือ ภาวะเจริญพันธุ์ชั่วชีวิต4 เป็นภาวะเจริญพันธุ์สะสมจนกระทั่งถึงวันเวลาที่สมาชิกทั้งหมดของรุ่นนั้นมีอายุพ้นวัยมีบุตร จำนวนรวมของผลคูณของอัตราเจริญพันธุ์ของรุ่นนั้นด้วยความน่าจะเป็นของการรอดชีพของสตรีไปถึงอายุถัดไปเรียกว่าเป็น ภาวะเจริญพันธุ์สุทธิสะสม5 ภาวะเจริญพันธุ์สะสมสุทธิรายอายุ6หรือ ภาวะเจริญพันธุ์สะสมสุทธิรายระยะเวลาการแต่งงาน6 และ ภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์สุทธิ7หรือ ภาวะเจริญพันธุ์ชั่วชีวิตสุทธิ7 ของสตรีรุ่นนั้น

  • 4. ก่อนสิ้นสุดระยะเวลาของการมีบุตร ใช้ศัพท์คำว่าภาวะเจริญพันธุ์ไม่สมบูรณ์หรือภาวะเจริญพันธุ์จนถึงปัจจุบันเพื่อแสดงว่าภาวะเจริญพันธุ์สะสมของคนรุ่นนั้นอาจจะเพิ่มขึ้นได้อีก

637

สำมะโนและการสำรวจอาจให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะเจริญพันธุ์เมื่อมีคำถามเกี่ยวกับจำนวนที่เกิดจากสตรีหรือคู่อยู่กินที่แจงนับได้ ไม่ว่าจะเป็นในช่วง การแต่งงานปัจจุบัน1 หรือการแต่งงานทั้งหมด จำนวนเฉลี่ยของบุตรที่เกิดต่อสตรี2 หรือ จำนวนบุตรที่มีเฉลี่ย2 อาจคำนวณได้ จำนวนของบุตรต่อคู่อยู่กินบางครั้งเรียกว่า ขนาดครอบครัวเฉลี่ย3 ทั้งยังเป็นไปได้ที่จะคำนวณ จำนวนเฉลี่ยของการเกิดต่อการแต่งงาน4 มีความสนใจเป็นพิเศษต่อ การแต่งงานของภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์5ซึ่งภรรยาอายุพ้นวัยเจริญพันธุ์ก่อนที่การแต่งงานจะสิ้นสลายลง จำนวนบุตรสุดท้าย6 หรือ จำนวนบุตรสัมบูรณ์6 ซึ่งได้แก่จำนวนเฉลี่ยของบุตรต่อสตรีที่ผ่านวัยมีบุตรแล้ว ไม่แตกต่างมากนักจากภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์ (636-4) การทำตารางของจำนวนบุตรสุดท้ายหรือภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์โดยไขว้กับจำนวนบุตรช่วยให้คำนวณอนุกรมของ อัตราส่วนจำนวนบุตรลำดับถัดไป7 ซึ่งเป็นเศษส่วนที่มีตัวหารเป็นจำนวนของผู้หญิงที่มีลูก n คน และตัวตั้งเป็นจำนวนผู้หญิงที่มีลูก n + 1 คน การศึกษาพิเศษให้ข้อมูลเกี่ยวกับ การก่อรูปครอบครัว8 และ วงจรชีวิตครอบครัว8 ในการศึกษาเหล่านี้ ความถี่ของการปฏิสนธิก่อนแต่งงาน9 ช่วงห่างการเกิด (612-1) และ อายุเมื่อการเกิดของลูกคนสุดท้าย10สำหรับผู้หญิงที่มีภาวะเจริญพันธุ์สัมบูรณ์แล้วมีความน่าสนใจเป็นการเฉพาะ

638

ประวัติภาวะเจริญพันธุ์1 หรือ ประวัติการสืบทอดพันธุ์1เป็นรายการเหตุการณ์สำคัญในชีวิตการสืบทอดพันธุ์ของผู้หญิงแต่ละคน อย่างเข่นการแต่งงาน การตั้งครรภ์ การเกิด การตายทารก ฯลฯ และวันเวลาที่เกิดเหตุการณ์เหล่านั้น ประวัติภาวะเจริญพันธุ์มักได้รับข้อมูลย้อนเวลาจากการสำรวจ รูปแบบครอบครัว1ใช้ในวิชาประชากรศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ (102-1) ซึ่งกำหนดรูปแบบครอบครัวของคู่อยู่กินและลูกๆ โดย การประกอบสร้างครอบครัวขึ้นใหม่2โดยอาศัยบันทึกเหตุการณ์ชีพ (211-3) ประวัติการตั้งครรภ์3 หรือ บันทึกการตั้งครรภ์3ของผู้หญิงคนหนึ่งมีข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ซึ่งรวมวันเวลาเมื่อแต่ละครรภ์เริ่มต้นและจบลง และผลของการตั้งครรภ์นั้น บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับวันเวลาของภาวะเจริญพันธุ์เช่นนั้นใช้เพื่อวัตถุประสงค์หลายประการ ตัวอย่างเช่น สามารถใช้เป็นข้อมูลเกี่ยวกับ ภาวะเจริญพันธุ์ธรรมชาติ4 ซึ่งได้แก่ภาวะเจริญพันธุ์ที่ไม่มีการจำกัดขนาดครอบครัว (624-4) ข้อมูลเช่นนั้นสามารถใช้ในการประมาณค่า ภาวะความสามารถในการมีครรภ์5 ซึ่งหมายถึงความน่าจะเป็นของการปฏิสนธิต่อรอบประจำเดือน (622-2) มีความแตกต่างระหว่าง ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ตามธรรมชาติ6ในกรณีที่ไม่มีการป้องกันการปฏิสนธิ กับ ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ที่เหลือ7ในกรณีตรงกันข้าม ศัพท์คำว่า ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ที่มีประสิทธิภาพ8แสดงความหมายถึงความสามารถในการมีครรภ์ที่คำนวณได้ในแง่ของการปฏิสนธิซึ่งมีผลเป็นการเกิดมีชีพเท่านั้น อัตราปฏิสนธิ9ในช่วงระยะเวลาของการเปิดต่อความเสี่ยงที่ประมาณอยู่บ่อยๆ โดยใช้ ดัชนีเพิร์ล10 (613-1) ใช้เพื่อวัดประสิทธิภาพของการป้องกันการปฏิสนธิในช่วงเวลาของการใช้วิธีการคุมกำเนิด

  • 1. โดยปรกติประวัติการเกิดจำกัดอยู่ที่การเกิดมีชีวิต
  • 6. ภาวะความสามารถในการมีครรภ์ เมื่อใช้โดดๆ จะหมายถึงภาวะความสามารถในการมีครรภ์ตามธรรมชาติ

639

ดัชนีสรุปรวมของ ภาวะเจริญพันธุ์ชั่วเวลา1 ซึ่งได้แก่ภาวะเจริญพันธุ์ของเฉพาะปีหนึ่งหรือชั่วเวลาหนึ่ง คำนวณได้โดยการรวมอนุกรมของอัตราเจริญพันธุ์รายอายุที่แสดงถึง การกระจายอัตราเจริญพันธุ์2 และใช้เป็น มาตรวัดสังเคราะห์ของภาวะเจริญพันธุ์3 เรียกว่า อัตราเจริญพันธุ์รวม4 หรือ ภาวะเจริญพันธุ์รวม4 ดัชนีภาวะเจริญพันธุ์ชั่วเวลาสรุปรวมอย่างอื่นอาจคำนวณได้ด้วยวิธีเดียวกัน เช่น อัตราเจริญพันธุ์ที่ถูกต้องตามกฎหมายรวม5ซึ่งก็คือผลรวมของอัตราเจริญพันธุ์รายช่วงเวลาของการแต่งงาน และ อัตราเจริญพันธุ์รวมตามลำดับบุตร6ซึ่งก็คือผลรวมของอัตราเจริญพันธุ์รายอายุตามลำดับที่บุตร อัตราส่วนของการเกิดต่อการสมรส7คำนวณได้โดยการโยงจำนวนของการเกิดในปีหนึ่งไปยังจำนวนการแต่งงานของปีนั้น หรือโยงไปยังจำนวนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการแต่งงานในปีปัจจุบันและในปีก่อนๆ

  • 2. หรือฟังก์ชันภาวะเจริญพันธุ์
  • 4. ดัชนีนี้ไม่ใช่อัตราในความหมายของ (133-4) ภาวะเจริญพันธุ์รวมในปีหนึ่งหมายถึงจำนวนเด็กควรเกิดต่อสตรี 1,000 คน ถ้าสตรีเหล่านั้นไม่มีประสบการณ์การตายและมีอัตราเจริญพันธุ์รายอายุเป็นเหมือนที่สังเกตได้ในปีนั้น อัตราสืบทอดพันธุ์รวมชั่วเวลา (ดู 711-4) ซึ่งได้มาจากการคูณอัตราเจริญพันธุ์รวมด้วยสัดส่่วนของการเกิดที่เป็นเพศหญิง มีการใช้อยู่บ่อยๆ ในอตีต แต่ในปัจจุบันนิยมใช้อัตราเจริญพันธุ์รวมเพื่อเป็นดัชนีสรุปรวมของภาวะเจริญพันธุ์ชั่วเวลา
  • 5. หรือภาวะเจริญพันธุ์สมรสรวม คำนี้ใช้เพื่อพรรณนาผลรวมของอัตราเจริญพันธุ์สมรสรายอายุที่อายุมากกว่า 20 ปี

640

เมื่อการทำแท้ง (604-2) ได้ทำให้ถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ก็จะสามารถรวบรวมสถิติเกี่ยวกับการทำแท้งที่ถูกกฎหมาย (604-4) ได้ อัตราการแท้ง1เป็นการวัดความถี่ของการแท้งในประชากรในช่วงเวลาหนึ่ง ปรกติใช้ช่วงเวลาหนึ่งปี การแท้งอาจโยงไปสัมพันธ์กับประชากรรวม หรือกับจำนวนของผู้หญิงในวัยมีบุตร และอาจทำเป็นอัตราเฉพาะอายุ จำนวนบุตร หรือลักษณะอื่นๆ อัตราส่วนการแท้ง2เป็นมาตรวัดความถี่ของการแท้งที่สัมพันธ์กับจำนวนการเกิดมีชีพ (601-4) ในช่วงเวลาเดียวกัน อัตราการแท้งตลอดช่วงชีวิต3เป็นการรวม อัตราการแท้งรายอายุ4 และเป็นมาตรวัดสังเคราะห์ของการแท้งต่อสตรี 1 หรือ 1,000 คน อัตราเหล่านี้เป็นอัตราส่วนของจำนวนการแท้งที่รายงานในแต่ละอายุต่อจำนวนปีที่มีชีวิตอยู่โดยสตรีในกลุ่มอายุเดียวกัน ถ้าสามารถจำแนกสตรีตามสถานภาพสมรส ก็จะได้ อัตราการแท้งตามอายุและสถานภาพสมรส5 และมีอยู่บ่อยๆ ที่หารจำนวนการแท้งด้วยจำนวนการปฏิสนธิเพื่อคำนวณ ความน่าจะเป็นของการแท้งตามอายุและสถานภาพสมรส6

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=63&oldid=755"