The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "15"

จาก Demopædia
(151)
(152)
แถว 20: แถว 20:
 
=== 152 ===
 
=== 152 ===
  
It is often necessary to graduate distributions to correct the tendency of people to give their replies in {{TextTerm|round numbers|1|152|IndexEntry=round number|OtherIndexEntry=number, round}}. {{TextTerm|Heaping|2|152}} or {{TextTerm|digit preference|2|152|2|OtherIndexEntry=preference, digit}} is particularly frequent in age distributions and reflects a tendency for people to state their ages in numbers ending with 0, 5, or other preferred digits. {{TextTerm|Age heaping|3|152|OtherIndexEntry=heaping, age}} is sometimes measured with {{TextTerm|indices of age preference|4|152|IndexEntry=index of age preference}}. Age data must often be corrected for other forms of {{TextTerm|age misreporting|5|152|OtherIndexEntry=misreporting, age}} or {{TextTerm|age reporting bias|5|152|2|OtherIndexEntry=bias, age reporting}}.
+
บ่อยครั้งที่เราจำเป็นต้องปรับการกระจายของข้อมูลให้ค่อยๆ เปลี่ยนเพื่อแก้ความโน้มเอียงที่ผู้คนจะให้คำตอบเป็น{{TextTerm|จำนวนกลม|1|152|IndexEntry=จำนวนกลม}} {{TextTerm|การกองข้อมูล|2|152|OtherIndexEntry=กองข้อมูล, การ}} หรือ{{TextTerm|การนิยมตัวเลข|2|152|2|OtherIndexEntry=นิยมตัวเลข, การ}}เกิดขึ้นบ่อยๆ โดยเฉพาะในการกระจายอายุ และสะท้อนความโน้มเอียงของผู้คนที่จะบอกอายุของตนด้วยจำนวนที่ลงท้ายด้วย 0 5 หรือเลขอื่นๆ ที่นิยม {{TextTerm|การกองอายุ|3|152|OtherIndexEntry=กองอายุ, การ}}บางครั้งวัดได้ด้วย{{TextTerm|ดัชนีการนิยมอายุ|4|152|IndexEntry=ดัชนีการนิยมอายุ|OtherIndexEntry=นิยมอายุ, ดัชนีการ}} ข้อมูลอายุมักต้องปรับเพื่อแก้รูปแบบอื่นๆ ของ{{TextTerm|การรายงานอายุผิดพลาด|5|152|OtherIndexEntry=รายงานอายุผิดพลาด, การ}} หรือ{{TextTerm|ความลำเอียงในการรายงานอายุ|5|152|2}}
  
 
=== 153 ===
 
=== 153 ===

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 06:06, 17 เมษายน 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


150

เมื่อพิจารณาการเคลื่อนไหวของตัวแปรทางประชากรตามเวลาที่เปลี่ยนไป ก็จะได้ อนุกรมเวลา1ทางประชากร บางครั้งเป็นไปได้ที่จะแยกส่วนประกอบของอนุกรมเวลาออกเป็น แนวโน้ม2 ซึ่งจะมี การขึ้นๆ ลงๆ3 ความผันแปร3หรือ ความเบี่ยงเบน3 (141-2) เมื่อการขึ้นๆ ลงๆ เช่นนั้นมักจะเกิดขึ้นหลังจากระยะเลาหนึ่ง โดยปรกติเป็นเวลาหลายๆ ปีก็เรียกว่าเป็น การขึ้นๆ ลงๆ ตามรอบ4 หรือให้มีความหมายทั่วไปยิ่งขึ้น การขึ้นๆ ลงๆ ตามช่วงเวลา4 ในวิชาประชากรศาสตร์ ระยะเวลาที่ใช้กันมากที่สุดในการรวบรวมข้อมูลคือหนึ่งปี และการขึ้นๆ ลงๆ ในช่วงเวลาย่อยของปีจะเรียกว่า การขึ้นๆ ลงๆ ตามฤดูกาล5 การขึ้นๆ ลงๆ ที่ยังคงอยู่หลังจากแนวโน้มการขึ้นๆ ลงๆ ตามฤดูกาลและตามรอบได้ถูกขจัดออกไปแล้วเรียกว่า การขึ้นๆ ลงๆ ผิดปรกติ6 การขึ้นๆ ลงๆ ผิดปรกติอาจเนื่องมาจากปัจจัยที่เป็นข้อยกเว้นอย่างเช่น การเคลื่อนย้ายคนในช่วงสงคราม หรือบางครั้งอาจเป็น การขึ้นๆ ลงๆ ตามโอกาส7หรือ การขึ้นๆ ลงๆ โดยบังเอิญ7

  • 3. ในความหมายทั่วไปคำว่าความผันแปรอาจใช้เพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงในค่าใดหรือชุดของค่าของตัวแปรหนึ่ง
  • 4. Periodic, adj. - period, n. - periodicity, n. cyclical, adj. - cycle, n.
  • 7. Random, adj.: under the influence of chance (cf. 161-1).

151

บางครั้งเป็นสิ่งที่ดีกว่าที่จะแทนอนุกรมของตัวเลขชุดหนึ่งด้วยอนุกรมอีกชุดหนึ่งที่แสดงว่ามีความสม่่ำเสมอกว่า กระบวนการนี้รู้จักกันว่าเป็น การปรับให้ค่อยๆ เปลี่ยน1หรือ การปรับให้เรียบ1 และกระบวนการนี้ประกอบด้วยการพาดเส้นโค้งเรียบเส้นหนึ่งผ่านจุดต่างๆ ในอนุกรมเวลาหรืออนุกรมอื่นๆ เช่น จำนวนของบุคคลที่กระจายตามอายุที่รายงาน ถ้าเส้นโค้งเกิดจากการลากด้วยมือ กระบวนการนี้เรียกว่า การปรับให้ค่อยๆ เปลี่ยนโดยกราฟ2 เมื่อใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ในการปรับข้อมูล จะเรียกว่า การปรับเส้นโค้ง3 เส้นโค้งทางคณิตศาสตร์จะปรับให้สอดคล้องกับข้อมูลอาจจะด้วย วิธีกำลังสองน้อยที่สุด4ซึ่งจะทำให้ผลรวมของค่ายกกำลังสองของความแตกต่างระหว่างอนุกรมข้อมูลก่อนและหลังปรับมีค่าน้อยที่สุด วิธีการอื่นๆ เช่น การเลื่อนค่าเฉลี่ย5 หรือวิธีการที่เกี่ยวข้องกับ แคลคูลัสของค่าความแตกต่างที่ไม่เป็นศูนย์6 อาจใช้กระบวนการบางอย่างเพื่อ การประมาณค่าระหว่างช่วง7 การประมาณค่าของอนุกรมที่จุดระหว่างกลางค่าที่ให้มา หรือเพื่อ การประมาณค่านอกช่วง8 การประมาณค่าที่จุดภายนอกของพิสัยของค่าที่ให้มา

152

บ่อยครั้งที่เราจำเป็นต้องปรับการกระจายของข้อมูลให้ค่อยๆ เปลี่ยนเพื่อแก้ความโน้มเอียงที่ผู้คนจะให้คำตอบเป็น จำนวนกลม1 การกองข้อมูล2 หรือ การนิยมตัวเลข2เกิดขึ้นบ่อยๆ โดยเฉพาะในการกระจายอายุ และสะท้อนความโน้มเอียงของผู้คนที่จะบอกอายุของตนด้วยจำนวนที่ลงท้ายด้วย 0 5 หรือเลขอื่นๆ ที่นิยม การกองอายุ3บางครั้งวัดได้ด้วย ดัชนีการนิยมอายุ4 ข้อมูลอายุมักต้องปรับเพื่อแก้รูปแบบอื่นๆ ของ การรายงานอายุผิดพลาด5 หรือ ความลำเอียงในการรายงานอายุ5

153

The numerical values of demographic functions are generally listed in tables1, such as life tables (431-1), fertility tables (634-1), or nuptiality tables (522-1). A distinction is usually made between calendar-year tables2 or period tables2 which are based upon observations collected during a limited period of time, and cohort tables3 or generation tables3 which deal with the experience of a cohort throughout its lifetime. A multiple decrement table4 illustrates the simultaneous effects of several non-renewable events, such as the effects of first marriage and death on the single population. The most used are double decrement tables4. Forecast tables 5* provide numerical values of demographic functions, like survival functions (431-6) for example, which can be used directly for population forecast (cf. 720-2). When a population is classified in two or more categories according to age, like economic status (women in the labor force or out of the labor force, for example), marital statuses, regions etc. and when continuous flows between categories are possible over time even if the individual state can usually be measured only at discrete times (waves of a longitudinal study, queries to population registers etc.), increment-decrement methods 6* or multi-state methods 6* are more and more developed and used.

154

Where insufficient data exist to establish the value of a given variable accurately, attempts may be made to estimate1 this value. The process is called estimation2 and the resulting value an estimate3. Where data are practically non-existent a conjecture4 may sometimes be made to establish the variable’s order of magnitude5 .

155

Methods of graphic representation1 or diagrammatic representation1 may be used to illustrate an argument. The data are represented in a figure2, graph2, statistical chart3 or map3. A schematic representation of the relationships between variables is often called a diagram4, for example the Lexis Diagram (cf. 437). A graph in which one co-ordinate axis is graduated logarithmically and the other arithmetically is called a semi-logarithmic graph5, though such graphs are often inaccurately referred to as logarithmic graphs5. A true logarithmic graph6 has both axes graduated logarithmically and is sometimes referred to as a double logarithmic graph6. A frequency distribution may be represented graphically by frequency polygons7 obtained by joining points representing class frequencies with straight lines, by a histogram8, where class frequencies are represented by the area of a rectangle with the class interval as its base, by bar charts9, in which the class frequencies are proportionate to the length of a bar or by an ogive10 representing the cumulative frequency distribution.

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=15&oldid=145"