The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "10"

จาก Demopædia
(103)
(Test: back to standard, without forcing line break)
 
(ไม่แสดง 24 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 9: แถว 9:
 
=== 101 ===
 
=== 101 ===
  
{{TextTerm|วิชาประชากรศาสตร์|1|101}} เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับประชากรมนุษย์ในเรื่องขนาด {{TextTerm|โครงสร้าง|2|101}} และพัฒนาการ โดยพิจารณาในด้านปริมาณของลักษณะทั่วไปของประชากรเหล่านั้น แกนของ{{TextTerm|การศึกษาด้านประชากร|8|101|OtherIndexEntry=ศึกษาด้านประชากร, การ}} ในความหมายกว้างที่สุดจะรวมสหสาขาวิชา อย่างเช่น {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์เศรษฐศาสตร์}} ({{RefNumber|10|4|1}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์สังคม}} ({{RefNumber|10|4|2}}) {{NonRefTerm|พันธุกรรมศาสตร์ประชากร}} ({{RefNumber|10|4|4}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|1}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|6}}) และรวมความรู้จากสาขาวิชากฎหมาย การแพทย์ วิทยาการระบาด ({{RefNumber|42|3|6}}) สังคมวิทยา จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ และปรัชญา ในศัพท์ของสถิติ การรวบรวมของส่วนประกอบที่ปรากฏชัดทั้งหมดอาจเรียกว่า{{TextTerm|ประชากร|3|101}} ซึ่งมีความหมายเหมือนกับคำว่า{{TextTerm|ยูนิเวิร์ส|3|101|2}} อย่างไรก็ตาม ในทางประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ประชากร|4|101}} จะใช้เพื่อหมายถึง{{TextTerm|ผู้อยู่อาศัย|5|101|IndexEntry=ผู้อยู่อาศัย}} ทั้งหมดในพื้นที่หนึ่ง แม้ว่าในบางโอกาสคำนี้อาจใช้เพื่อหมายถึงบางส่วนของผู้อยู่อาศัยเท่านั้น [ตัวอย่างเช่น {{NonRefTerm|ประชากรวัยเรียน}} (cf. {{RefNumber|34|6|7}}) {{NonRefTerm|ประชากรวัยสมรส}} (cf. {{RefNumber|51|4|2}})] กลุ่มเช่นนั้นเรียกให้ถูกต้องว่า{{TextTerm|ประชากรย่อย|6|101|IndexEntry=ประชากรย่อย|OtherIndexEntry=ประชากรกลุ่มย่อย}} คำว่าประชากรมักใช้เพื่อแสดงถึง{{TextTerm|ขนาด|7|101}} ได้แก่ {{TextTerm|จำนวนรวม|7|101|2}} ชองกลุ่มรวมตามที่ได้อ้างถึงใน {{RefNumber|10|1|4}}
+
{{TextTerm|วิชาประชากรศาสตร์|1|101}} เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับประชากรมนุษย์ในเรื่องขนาด {{TextTerm|โครงสร้าง|2|101}} และพัฒนาการ โดยพิจารณาในด้านปริมาณของลักษณะทั่วไปของประชากรเหล่านั้น แกนของ{{TextTerm|การศึกษาด้านประชากร|8|101}} ในความหมายกว้างที่สุดจะรวมสหสาขาวิชา อย่างเช่น {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์เศรษฐศาสตร์}} ({{RefNumber|10|4|1}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์สังคม}} ({{RefNumber|10|4|2}}) {{NonRefTerm|พันธุกรรมศาสตร์ประชากร}} ({{RefNumber|10|4|4}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|1}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|6}}) และรวมความรู้จากสาขาวิชากฎหมาย การแพทย์ วิทยาการระบาด ({{RefNumber|42|3|6}}) สังคมวิทยา จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ และปรัชญา ในศัพท์ของสถิติ การรวบรวมของส่วนประกอบที่ปรากฏชัดทั้งหมดอาจเรียกว่า{{TextTerm|ประชากร|3|101}} ซึ่งมีความหมายเหมือนกับคำว่า{{TextTerm|ยูนิเวิร์ส|3|101|2}} อย่างไรก็ตาม ในทางประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ประชากร|4|101}} จะใช้เพื่อหมายถึง{{TextTerm|ผู้อยู่อาศัย|5|101|IndexEntry=ผู้อยู่อาศัย}}ทั้งหมดในพื้นที่หนึ่ง แม้ว่าในบางโอกาสคำนี้อาจใช้เพื่อหมายถึงบางส่วนของผู้อยู่อาศัยเท่านั้น [ตัวอย่างเช่น {{NonRefTerm|ประชากรวัยเรียน}} (cf.{{RefNumber|34|6|7}}) {{NonRefTerm|ประชากรวัยสมรส}} (cf.{{RefNumber|51|4|2}})] กลุ่มเช่นนั้นเรียกให้ถูกต้องว่า{{TextTerm|ประชากรย่อย|6|101|IndexEntry=ประชากรย่อย|OtherIndexEntry=ประชากรกลุ่มย่อย}} คำว่าประชากรมักใช้เพื่อแสดงถึง{{TextTerm|ขนาด|7|101}} ได้แก่{{TextTerm|จำนวนรวม|7|101|2}}ของกลุ่มรวมตามที่ได้อ้างถึงใน {{RefNumber|10|1|4}}
{{Note|1| {{NoteTerm|Demography}}, n. - {{NoteTerm|demographic}}, adj. - {{NoteTerm|demographer}}, n.: a specialist in demography.}}
 
{{Note|4| {{NoteTerm|Population}}, n. - Note that this term may also be used adjectivally as a synonym for demographic, e.g., in population problems, population analysis, population studies.}}
 
{{Note|5| {{NoteTerm|Inhabitant}}, n. - {{NoteTerm|inhabit}}, v.: to occupy as a place of settled residence.}}
 
  
 
=== 102 ===
 
=== 102 ===
  
Certain sub-disciplines within demography have received special names reflecting their objectives or their methodology. {{TextTerm|Historical demography|1|102|OtherIndexEntry=demography, historical}} deals with populations of the past for which written records are available. In the absence of such sources, the study of ancient populations takes the name of {{TextTerm|paleo-demography|2|102}} . In {{TextTerm|descriptive demography|3|102|OtherIndexEntry=demography, descriptive}} the numbers, geographical distribution, structure and change of human populations are described by means of {{TextTerm|population statistics|4|102|OtherIndexEntry=statistics, population}} or {{TextTerm|demographic statistics|4|102|2|OtherIndexEntry=statistics, demographic}} . The treatment of quantitative relations among demographic phenomena in abstraction from their association with other phenomena, is called {{TextTerm|theoretical demography|5|102|OtherIndexEntry=demography, theoretical}} or {{TextTerm|pure demography|5|102|2|OtherIndexEntry=demography, pure}} ; because of its resort to various mathematical methods, in practice it is identified with {{TextTerm|mathematical demography|6|102|OtherIndexEntry=demography, mathematical}}. A piece of research that applies the tools of {{NonRefTerm|demographic analysis}} ({{RefNumber|10|3|1}}) to an actual population is often called a {{TextTerm|demographic study|7|102|IndexEntry=demographic studies|OtherIndexEntry=studies, demographic}}. This study can focus on the {{NewTextTerm|current demographic situation|8|102|OtherIndexEntry=situation. demographic ...}} or {{NewTextTerm|current demographic conditions|8|102|OtherIndexEntry=conditions. demographic ...}}, ie the population change and its indicators during a short and recent period. All the preceding disciplines place a great emphasis on the numerical aspects of the phenomena, and are sometimes referred to as {{TextTerm|formal demography|9|102|OtherIndexEntry=demography, formal}}, when they apply only to the size and structure of the population. In contrast the broader term {{TextTerm|population studies|10|102|OtherIndexEntry=studies, population}} also includes the treatment of relations between demographic events and social, economic or other phenomena.
+
สาขาย่อยภายในวิชาประชากรศาสตร์มีชื่อเรียกพิเศษเฉพาะสะท้อนวัตถุประสงค์หรือระเบียบวิธีของสาขาย่อยเหล่านั้น {{TextTerm|ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์|1|102}}ศึกษาเรื่องประชากรในอดีตเมื่อมีบันทึกที่เขียนไว้ ในกรณีที่ไม่มีแหล่งข้อมูลเป็นบันทึก การศึกษาประชากรสมัยโบราณมีชื่อเรียกว่า{{TextTerm|ประชากรศาสตร์โบราณคดี|2|102}} ใน{{TextTerm|ประชากรศาสตร์เชิงพรรณนา|3|102}} จำนวน การกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ โครงสร้าง และการเปลี่ยนแปลงของประชากรมนุษย์จะถูกอธิบายด้วยการใช้{{TextTerm|สถิติประชากร|4|102}} หรือ{{TextTerm|สถิติทางประชากรศาสตร์|4|102|2}} การศึกษาความสัมพันธ์เชิงปริมาณในกลุ่มปรากฏการณ์ทางประชากรด้วยกัน แยกออกจากความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์อย่างอื่นเรียกว่า{{TextTerm|ประชากรศาสตร์เชิงทฤษฎี|5|102}} หรือ{{TextTerm|ประชากรศาสตร์พิสุทธิ์|5|102|2}} เพราะมีการใช้วิธีทางคณิตศาสตร์ต่างๆ ในทางปฏิบัติวิชานี้มีเอกลักษณ์ว่าเป็น{{TextTerm|ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์|6|102}} งานวิจัยที่ประยุกต์ใช้เครื่องมือของ{{NonRefTerm|การวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์}} ({{RefNumber|10|3|1}}) กับประชากรจริงมักเรียกว่า{{TextTerm|การศึกษาทางประชากรศาสตร์|7|102|IndexEntry=การศึกษาทางประชากรศาสตร์}} การศึกษานี้สามารถเจาะจงไปที่{{TextTerm|สถานการณ์ทางประชากรปัจจุบัน|8|102}} หรือ{{TextTerm|เงื่อนไขทางประชากรปัจจุบัน|8|102}} ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางประชากรและตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงนั้นในระหว่างระยะเวลาสั้นๆ และเมื่อไม่นานมานี้ สาขาวิชาที่ได้กล่าวมาแล้วทั้งหมดเน้นหนักอยู่ที่ด้านตัวเลขของปรากฏการณ์และบางครั้งจะอ้างถึงในชื่อว่า{{TextTerm|ประชากรศาสตร์รูปนัย|9|102}} เมื่อประยุกต์เข้ากับเพียงเรื่องขนาดและโครงสร้างของประชากรเท่านั้น ตรงข้ามกับศัพท์ที่กว้างกว่า{{TextTerm|การศึกษาประชากร|10|102}} ที่รวมการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ทางประชากรและปรากฏการณ์ทางสังคม เศรษฐกิจ หรืออย่างอื่นเข้าไว้ด้วย
  
 
=== 103 ===
 
=== 103 ===
  
{{TextTerm|Demographic analysis|1|103|OtherIndexEntry=analysis, demographic}} is that branch of formal demography which controls for the effect of population size and structure on {{TextTerm|demographic phenomena|2|103|OtherIndexEntry=phenomena, demographic}} by isolating the effects of each demographic variable from the others, the latter of which are called {{NewTextTerm|disturbing phenomena|3|103|IndexEntry=disturbing phenomenon}}. It also studies the relations between demographic variables and how they interact to form population structures. A distinction is made between {{TextTerm|cohort analysis|4|103|OtherIndexEntry=analysis, cohort}} or {{TextTerm|generational analysis|4|103|2|OtherIndexEntry=analysis, generational}} which focuses on a well defined {{NonRefTerm|cohort}} (cf. {{RefNumber|11|7|2}}) followed through time, and {{TextTerm|cross-sectional analysis|5|103|OtherIndexEntry=analysis, cross-sectional}} or {{TextTerm|period analysis|5|103|2|OtherIndexEntry=analysis, period}} which focuses on the demographic phenomena that occur during a precise time interval (such as a calendar year) among several cohorts.
+
{{TextTerm|การวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์|1|103}}เป็นสาขาของประชากรศาสตร์รูปนัย ที่ควบคุมผลกระทบของขนาดและโครงสร้างประชากรที่มีต่อ{{TextTerm|ปรากฏการณ์ทางประชากร|2|103}} ด้วยการแยกผลกระทบของตัวแปรทางประชากรแต่ละตัวออกจากผลกระทบของตัวแปรอื่น ๆ ปรากฏการณ์ที่เกิดจากผลกระทบของตัวแปรอื่น ๆ เรียกว่า{{TextTerm|ปรากฏการณ์ก่อกวน|3|103|IndexEntry=ปรากฏการณ์ก่อกวน}} สาขาย่อยนี้ยังศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางประชากรต่าง ๆ และปฏิสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ที่ก่อให้เกิดรูปโครงสร้างประชากรขึ้นมา มีความแตกต่างระหว่าง{{TextTerm|การวิเคราะห์เชิงรุ่น|4|103}} หรือ{{TextTerm|การวิเคราะห์รุ่นวัย|4|103|2}} ซึ่งมุ่งเจาะจงไปที่{{NonRefTerm|รุ่น}} (cf.{{RefNumber|11|7|2}}) ที่กำหนดไว้ชัดเจน ที่ติดตามศึกษารุ่นนี้ไปเรื่อย ๆ กับ{{TextTerm|การวิเคราะห์แบบตัดขวาง|5|103}} หรือ{{TextTerm|การวิเคราะห์ช่วงเวลา|5|103|2}} ซึ่งมุ่งเจาะจงไปที่ปรากฏการณ์ทางประชากรที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่แน่นอน (อย่างเช่นในปีปฏิทินหนึ่ง) ในกลุ่มประชากรหลาย ๆ รุ่น
{{Note|4| Cohort analysis is a form of {{NoteTerm|longitudinal analysis}} which deals with aggregates of persons possessing the same characteristic. {{NoteTerm|Panel analysis}} follows the same individuals case by case.}}
+
{{Note|4| การวิเคราะห์รุ่นวัยเป็นรูปแบบหนึ่งของ{{NoteTerm|การวิเคราะห์ระยะยาว}} (longitudinal analysis) ซึ่งเป็นการศึกษากลุ่มคนที่มีคุณลักษณะเหมือนกัน {{NoteTerm|การวิเคราะห์แผง}} (panel analysis) ที่ติดตามศึกษาบุคคลคนเดียวกัน}}
  
 
=== 104 ===
 
=== 104 ===
  
 +
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางประชากรในฝั่งหนึ่งกับปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมอีกฝั่งหนึ่งก่อรูปวิชานี้อีกสาขาหนึ่ง ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ประชากรศาสตร์เศรษฐกิจ|1|104}}และ{{TextTerm|ประชากรศาสตร์สังคม|2|104}}ได้ถูกใช้โดยนักวิชาการหลายคน ประชากรศาสตร์ยังเกี่ยวข้องกับการศึกษาเรื่อง{{TextTerm|คุณภาพประชากร|3|104}} คำว่าคุณภาพประชากรอาจใช้ด้วยการอ้างอิงถึงลักษณะส่วนตัวและลักษณะทางสังคมทุกชนิด ในความหมายที่แตกต่างออกไปเล็กน้อย คำนี้หมายถึงการกระจายและการถ่ายทอดของ{{NonRefTerm|ลักษณะทางกรรมพันธุ์}} ({{RefNumber|91|0|3}})ซึ่งขึ้นอยู่กับ{{TextTerm|พันธุกรรมประชากร|4|104}} {{TextTerm|นิเวศวิทยามนุษย์|5|104}}คือการศึกษาการกระจายและการจัดองค์กรของชุมชนด้วยความสนใจต่อปฏิบัติการของกระบวนการร่วมมือและแข่งขันกัน และมีบางส่วนในเนื้อหาวิชาเหมือนกับวิชาประชากรศาสตร์ ในสาขาการวิจัยและระเบียบวิธีวิจัยยิ่งสานพันกันในกรณีของประชากรศาสตร์กับ{{TextTerm|ภูมิศาสตร์มนุษย์|7|104}} เช่นเดียวกับวิชา{{TextTerm|ชีวมาตร|6|104}} หรือ{{TextTerm|ชีวเมตริกซ์|6|104|2}} และ{{TextTerm|วิทยาการระบาด|8|104}}ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้วิธีการทางสถิติกับรูปแบบต่างๆ ของการวิจัยทางการแพทย์และชีววิทยา
 +
{{Note|4| พันธุกรรมประชากรต่างจาก{{NoteTerm|พันธุกรรมมนุษย์}}ซึ่งเกี่ยวกับการถ่ายทอดคุณลักษณะที่สืบทอดกันได้ในคน  พันธุกรรมประชากรเป็นการศึกษาเรื่องการกระจายและการถ่ายทอดลักษณะที่สืบทอดกันได้ในพืช สัตว์ และประชากรมนุษย์}}
 +
{{Note|6| ศัพท์คำว่า{{NoteTerm|ชีวสถิติ}} (biostatistics) จะเห็นได้บ่อยๆ และมีความหมายเหมือนกับคำว่าชีวมาตร (biometry)}}
  
 
=== 105 ===
 
=== 105 ===
  
 +
ในสุดท้ายนี้ ยังมีการศึกษา{{TextTerm|ทฤษฎีประชากร|1|105|IndexEntry=ทฤษฎีประชากร}} คำนี้ต้องไม่สับสนกับคำว่า{{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์เชิงทฤษฎี}} ({{RefNumber|10|2|5}}) ทฤษฎีประชากรประสงค์ที่จะอธิบายหรือทำนายปฏิกิริยาระหว่างการเปลี่ยนแปลงในประชากรกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม จิตวิทยา และอื่นๆ ทฤษฎีประชากรรวมการอธิบายเชิงแนวความคิดล้วนๆ ทฤษฎีประชากรบางครั้งก่อรูปเป็นฐานของ{{TextTerm|นโยบายประชากร|2|105|IndexEntry=นโยบายประชากร}} (cf. §930) ซึ่งเกี่ยวข้องกับมาตรการที่ออกแบบมาเพื่อให้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงประชากร
  
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==
 
==<center><font size=12>* * * </font></center>==

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 14:16, 1 ธันวาคม 2556


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


101

วิชาประชากรศาสตร์1 เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับประชากรมนุษย์ในเรื่องขนาด โครงสร้าง2 และพัฒนาการ โดยพิจารณาในด้านปริมาณของลักษณะทั่วไปของประชากรเหล่านั้น แกนของ การศึกษาด้านประชากร8 ในความหมายกว้างที่สุดจะรวมสหสาขาวิชา อย่างเช่น ประชากรศาสตร์เศรษฐศาสตร์ (104-1) ประชากรศาสตร์สังคม (104-2) พันธุกรรมศาสตร์ประชากร (104-4) ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์ (102-1) ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์ (102-6) และรวมความรู้จากสาขาวิชากฎหมาย การแพทย์ วิทยาการระบาด (423-6) สังคมวิทยา จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ และปรัชญา ในศัพท์ของสถิติ การรวบรวมของส่วนประกอบที่ปรากฏชัดทั้งหมดอาจเรียกว่า ประชากร3 ซึ่งมีความหมายเหมือนกับคำว่า ยูนิเวิร์ส3 อย่างไรก็ตาม ในทางประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า ประชากร4 จะใช้เพื่อหมายถึง ผู้อยู่อาศัย5ทั้งหมดในพื้นที่หนึ่ง แม้ว่าในบางโอกาสคำนี้อาจใช้เพื่อหมายถึงบางส่วนของผู้อยู่อาศัยเท่านั้น [ตัวอย่างเช่น ประชากรวัยเรียน (cf.346-7) ประชากรวัยสมรส (cf.514-2)] กลุ่มเช่นนั้นเรียกให้ถูกต้องว่า ประชากรย่อย6 คำว่าประชากรมักใช้เพื่อแสดงถึง ขนาด7 ได้แก่ จำนวนรวม7ของกลุ่มรวมตามที่ได้อ้างถึงใน 101-4

102

สาขาย่อยภายในวิชาประชากรศาสตร์มีชื่อเรียกพิเศษเฉพาะสะท้อนวัตถุประสงค์หรือระเบียบวิธีของสาขาย่อยเหล่านั้น ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์1ศึกษาเรื่องประชากรในอดีตเมื่อมีบันทึกที่เขียนไว้ ในกรณีที่ไม่มีแหล่งข้อมูลเป็นบันทึก การศึกษาประชากรสมัยโบราณมีชื่อเรียกว่า ประชากรศาสตร์โบราณคดี2 ใน ประชากรศาสตร์เชิงพรรณนา3 จำนวน การกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ โครงสร้าง และการเปลี่ยนแปลงของประชากรมนุษย์จะถูกอธิบายด้วยการใช้ สถิติประชากร4 หรือ สถิติทางประชากรศาสตร์4 การศึกษาความสัมพันธ์เชิงปริมาณในกลุ่มปรากฏการณ์ทางประชากรด้วยกัน แยกออกจากความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์อย่างอื่นเรียกว่า ประชากรศาสตร์เชิงทฤษฎี5 หรือ ประชากรศาสตร์พิสุทธิ์5 เพราะมีการใช้วิธีทางคณิตศาสตร์ต่างๆ ในทางปฏิบัติวิชานี้มีเอกลักษณ์ว่าเป็น ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์6 งานวิจัยที่ประยุกต์ใช้เครื่องมือของการวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์ (103-1) กับประชากรจริงมักเรียกว่า การศึกษาทางประชากรศาสตร์7 การศึกษานี้สามารถเจาะจงไปที่ สถานการณ์ทางประชากรปัจจุบัน8 หรือ เงื่อนไขทางประชากรปัจจุบัน8 ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางประชากรและตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงนั้นในระหว่างระยะเวลาสั้นๆ และเมื่อไม่นานมานี้ สาขาวิชาที่ได้กล่าวมาแล้วทั้งหมดเน้นหนักอยู่ที่ด้านตัวเลขของปรากฏการณ์และบางครั้งจะอ้างถึงในชื่อว่า ประชากรศาสตร์รูปนัย9 เมื่อประยุกต์เข้ากับเพียงเรื่องขนาดและโครงสร้างของประชากรเท่านั้น ตรงข้ามกับศัพท์ที่กว้างกว่า การศึกษาประชากร10 ที่รวมการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ทางประชากรและปรากฏการณ์ทางสังคม เศรษฐกิจ หรืออย่างอื่นเข้าไว้ด้วย

103

การวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์1เป็นสาขาของประชากรศาสตร์รูปนัย ที่ควบคุมผลกระทบของขนาดและโครงสร้างประชากรที่มีต่อ ปรากฏการณ์ทางประชากร2 ด้วยการแยกผลกระทบของตัวแปรทางประชากรแต่ละตัวออกจากผลกระทบของตัวแปรอื่น ๆ ปรากฏการณ์ที่เกิดจากผลกระทบของตัวแปรอื่น ๆ เรียกว่า ปรากฏการณ์ก่อกวน3 สาขาย่อยนี้ยังศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางประชากรต่าง ๆ และปฏิสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ที่ก่อให้เกิดรูปโครงสร้างประชากรขึ้นมา มีความแตกต่างระหว่าง การวิเคราะห์เชิงรุ่น4 หรือ การวิเคราะห์รุ่นวัย4 ซึ่งมุ่งเจาะจงไปที่รุ่น (cf.117-2) ที่กำหนดไว้ชัดเจน ที่ติดตามศึกษารุ่นนี้ไปเรื่อย ๆ กับ การวิเคราะห์แบบตัดขวาง5 หรือ การวิเคราะห์ช่วงเวลา5 ซึ่งมุ่งเจาะจงไปที่ปรากฏการณ์ทางประชากรที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่แน่นอน (อย่างเช่นในปีปฏิทินหนึ่ง) ในกลุ่มประชากรหลาย ๆ รุ่น

  • 4. การวิเคราะห์รุ่นวัยเป็นรูปแบบหนึ่งของการวิเคราะห์ระยะยาว (longitudinal analysis) ซึ่งเป็นการศึกษากลุ่มคนที่มีคุณลักษณะเหมือนกัน การวิเคราะห์แผง (panel analysis) ที่ติดตามศึกษาบุคคลคนเดียวกัน

104

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางประชากรในฝั่งหนึ่งกับปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมอีกฝั่งหนึ่งก่อรูปวิชานี้อีกสาขาหนึ่ง ศัพท์คำว่า ประชากรศาสตร์เศรษฐกิจ1และ ประชากรศาสตร์สังคม2ได้ถูกใช้โดยนักวิชาการหลายคน ประชากรศาสตร์ยังเกี่ยวข้องกับการศึกษาเรื่อง คุณภาพประชากร3 คำว่าคุณภาพประชากรอาจใช้ด้วยการอ้างอิงถึงลักษณะส่วนตัวและลักษณะทางสังคมทุกชนิด ในความหมายที่แตกต่างออกไปเล็กน้อย คำนี้หมายถึงการกระจายและการถ่ายทอดของลักษณะทางกรรมพันธุ์ (910-3)ซึ่งขึ้นอยู่กับ พันธุกรรมประชากร4 นิเวศวิทยามนุษย์5คือการศึกษาการกระจายและการจัดองค์กรของชุมชนด้วยความสนใจต่อปฏิบัติการของกระบวนการร่วมมือและแข่งขันกัน และมีบางส่วนในเนื้อหาวิชาเหมือนกับวิชาประชากรศาสตร์ ในสาขาการวิจัยและระเบียบวิธีวิจัยยิ่งสานพันกันในกรณีของประชากรศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์มนุษย์7 เช่นเดียวกับวิชา ชีวมาตร6 หรือ ชีวเมตริกซ์6 และ วิทยาการระบาด8ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้วิธีการทางสถิติกับรูปแบบต่างๆ ของการวิจัยทางการแพทย์และชีววิทยา

  • 4. พันธุกรรมประชากรต่างจากพันธุกรรมมนุษย์ซึ่งเกี่ยวกับการถ่ายทอดคุณลักษณะที่สืบทอดกันได้ในคน พันธุกรรมประชากรเป็นการศึกษาเรื่องการกระจายและการถ่ายทอดลักษณะที่สืบทอดกันได้ในพืช สัตว์ และประชากรมนุษย์
  • 6. ศัพท์คำว่าชีวสถิติ (biostatistics) จะเห็นได้บ่อยๆ และมีความหมายเหมือนกับคำว่าชีวมาตร (biometry)

105

ในสุดท้ายนี้ ยังมีการศึกษา ทฤษฎีประชากร1 คำนี้ต้องไม่สับสนกับคำว่าประชากรศาสตร์เชิงทฤษฎี (102-5) ทฤษฎีประชากรประสงค์ที่จะอธิบายหรือทำนายปฏิกิริยาระหว่างการเปลี่ยนแปลงในประชากรกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม จิตวิทยา และอื่นๆ ทฤษฎีประชากรรวมการอธิบายเชิงแนวความคิดล้วนๆ ทฤษฎีประชากรบางครั้งก่อรูปเป็นฐานของ นโยบายประชากร2 (cf. §930) ซึ่งเกี่ยวข้องกับมาตรการที่ออกแบบมาเพื่อให้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงประชากร

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=10&oldid=819"