The Demopædia Encyclopedia on Population is under heavy modernization and maintenance. Outputs could look bizarre, sorry for the temporary inconvenience

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ภาษาไทย

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "10"

จาก Demopædia
แถว 9: แถว 9:
 
=== 101 ===
 
=== 101 ===
  
{{TextTerm|วิชาประชากรศาสตร์|1|101}} เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับประชากรมนุษย์ในเรื่องขนาด {{TextTerm|โครงสร้าง|2|101}} และพัฒนาการ  โดยพิจารณาในด้านปริมาณของลักษณะทั่วไปของประชากรเหล่านั้น แกนของ{{TextTerm|การศึกษาด้านประชากร|8|101|OtherIndexEntry=ศึกษาด้านประชากร การ}} ในความหมายกว้างที่สุดจะรวมสหสาขาวิชา อย่างเช่น {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์เศรษฐศาสตร์}} ({{RefNumber|10|4|1}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์สังคม}} ({{RefNumber|10|4|2}}) {{NonRefTerm|พันธุกรรมศาสตร์ประชากร}} ({{RefNumber|10|4|4}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|1}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|6}}) และรวมความรู้จากสาขาวิชากฎหมาย การแพทย์ วิทยาการระบาด ({{RefNumber|42|3|6}}) สังคมวิทยา จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ และปรัชญา ในศัพท์ของสถิติ การรวบรวมของส่วนประกอบที่ปรากฏชัดทั้งหมดอาจเรียกว่า{{TextTerm|ประชากร|3|101}} ซึ่งมีความหมายเหมือนกับคำว่า{{TextTerm|ยูนิเวิร์ส|3|101|2}}  อย่างไรก็ตาม ในทางประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ประชากร|4|101}} จะใช้เพื่อหมายถึง{{TextTerm|ผู้อยู่อาศัย|5|101|IndexEntry=ผู้อยู่อาศัย}} ทั้งหมดในพื้นที่หนึ่ง  แม้ว่าในบางโอกาสคำนี้อาจใช้เพื่อหมายถึงบางส่วนของผู้อยู่อาศัยเท่านั้น [ตัวอย่างเช่น {{NonRefTerm|ประชากรวัยเรียน}} (cf. {{RefNumber|34|6|7}}) {{NonRefTerm|ประชากรวัยสมรส}} (cf. {{RefNumber|51|4|2}})]  กลุ่มเช่นนั้นเรียกให้ถูกต้องว่า{{TextTerm|ประชากรย่อย|6|101|IndexEntry=ประชากรย่อย|OtherIndexEntry=ประชากรกลุ่มย่อย}} คำว่าประชากรมักใช้เพื่อแสดงถึง{{TextTerm|ขนาด|7|101}} ได้แก่ {{TextTerm|จำนวนรวม|7|101|2}} ชองกลุ่มรวมตามที่ได้อ้างถึงใน {{RefNumber|10|1|4}}
+
{{TextTerm|วิชาประชากรศาสตร์|1|101}} เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับประชากรมนุษย์ในเรื่องขนาด {{TextTerm|โครงสร้าง|2|101}} และพัฒนาการ  โดยพิจารณาในด้านปริมาณของลักษณะทั่วไปของประชากรเหล่านั้น แกนของ{{TextTerm|การศึกษาด้านประชากร|8|101|OtherIndexEntry=ศึกษาด้านประชากร, การ}} ในความหมายกว้างที่สุดจะรวมสหสาขาวิชา อย่างเช่น {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์เศรษฐศาสตร์}} ({{RefNumber|10|4|1}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์สังคม}} ({{RefNumber|10|4|2}}) {{NonRefTerm|พันธุกรรมศาสตร์ประชากร}} ({{RefNumber|10|4|4}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|1}}) {{NonRefTerm|ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์}} ({{RefNumber|10|2|6}}) และรวมความรู้จากสาขาวิชากฎหมาย การแพทย์ วิทยาการระบาด ({{RefNumber|42|3|6}}) สังคมวิทยา จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ และปรัชญา ในศัพท์ของสถิติ การรวบรวมของส่วนประกอบที่ปรากฏชัดทั้งหมดอาจเรียกว่า{{TextTerm|ประชากร|3|101}} ซึ่งมีความหมายเหมือนกับคำว่า{{TextTerm|ยูนิเวิร์ส|3|101|2}}  อย่างไรก็ตาม ในทางประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า{{TextTerm|ประชากร|4|101}} จะใช้เพื่อหมายถึง{{TextTerm|ผู้อยู่อาศัย|5|101|IndexEntry=ผู้อยู่อาศัย}} ทั้งหมดในพื้นที่หนึ่ง  แม้ว่าในบางโอกาสคำนี้อาจใช้เพื่อหมายถึงบางส่วนของผู้อยู่อาศัยเท่านั้น [ตัวอย่างเช่น {{NonRefTerm|ประชากรวัยเรียน}} (cf. {{RefNumber|34|6|7}}) {{NonRefTerm|ประชากรวัยสมรส}} (cf. {{RefNumber|51|4|2}})]  กลุ่มเช่นนั้นเรียกให้ถูกต้องว่า{{TextTerm|ประชากรย่อย|6|101|IndexEntry=ประชากรย่อย|OtherIndexEntry=ประชากรกลุ่มย่อย}} คำว่าประชากรมักใช้เพื่อแสดงถึง{{TextTerm|ขนาด|7|101}} ได้แก่ {{TextTerm|จำนวนรวม|7|101|2}} ชองกลุ่มรวมตามที่ได้อ้างถึงใน {{RefNumber|10|1|4}}
 
{{Note|1| {{NoteTerm|Demography}}, n. - {{NoteTerm|demographic}}, adj. - {{NoteTerm|demographer}}, n.: a specialist in demography.}}
 
{{Note|1| {{NoteTerm|Demography}}, n. - {{NoteTerm|demographic}}, adj. - {{NoteTerm|demographer}}, n.: a specialist in demography.}}
 
{{Note|4| {{NoteTerm|Population}}, n. - Note that this term may also be used adjectivally as a synonym for demographic, e.g., in population problems, population analysis, population studies.}}
 
{{Note|4| {{NoteTerm|Population}}, n. - Note that this term may also be used adjectivally as a synonym for demographic, e.g., in population problems, population analysis, population studies.}}

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 01:18, 10 กันยายน 2555


ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ : ผู้สนับสนุนทั้งหลายของดีโมพีเดียไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ในพจนานุกรมฉบับปรังปรุงนี้

พจนานุกรมประชากรศาสตร์พหุภาพ ฉบับปรับให้เป็นเอกภาพ ปรับปรุงครั้งที่สอง ยังอยู่่ระหว่างการดำเนินงาน หากต้องการเสนอข้อคิดเห็นใดๆ กรุณาใช้พื้นที่อภิปราย


ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93


101

วิชาประชากรศาสตร์1 เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับประชากรมนุษย์ในเรื่องขนาด โครงสร้าง2 และพัฒนาการ โดยพิจารณาในด้านปริมาณของลักษณะทั่วไปของประชากรเหล่านั้น แกนของ การศึกษาด้านประชากร8 ในความหมายกว้างที่สุดจะรวมสหสาขาวิชา อย่างเช่น ประชากรศาสตร์เศรษฐศาสตร์ (104-1) ประชากรศาสตร์สังคม (104-2) พันธุกรรมศาสตร์ประชากร (104-4) ประชากรศาสตร์ประวัติศาสตร์ (102-1) ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์ (102-6) และรวมความรู้จากสาขาวิชากฎหมาย การแพทย์ วิทยาการระบาด (423-6) สังคมวิทยา จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ และปรัชญา ในศัพท์ของสถิติ การรวบรวมของส่วนประกอบที่ปรากฏชัดทั้งหมดอาจเรียกว่า ประชากร3 ซึ่งมีความหมายเหมือนกับคำว่า ยูนิเวิร์ส3 อย่างไรก็ตาม ในทางประชากรศาสตร์ ศัพท์คำว่า ประชากร4 จะใช้เพื่อหมายถึง ผู้อยู่อาศัย5 ทั้งหมดในพื้นที่หนึ่ง แม้ว่าในบางโอกาสคำนี้อาจใช้เพื่อหมายถึงบางส่วนของผู้อยู่อาศัยเท่านั้น [ตัวอย่างเช่น ประชากรวัยเรียน (cf. 346-7) ประชากรวัยสมรส (cf. 514-2)] กลุ่มเช่นนั้นเรียกให้ถูกต้องว่า ประชากรย่อย6 คำว่าประชากรมักใช้เพื่อแสดงถึง ขนาด7 ได้แก่ จำนวนรวม7 ชองกลุ่มรวมตามที่ได้อ้างถึงใน 101-4

  • 1. Demography, n. - demographic, adj. - demographer, n.: a specialist in demography.
  • 4. Population, n. - Note that this term may also be used adjectivally as a synonym for demographic, e.g., in population problems, population analysis, population studies.
  • 5. Inhabitant, n. - inhabit, v.: to occupy as a place of settled residence.

102

103

104

105

* * *

ไปยัง: คำนำสู่ดีโมพีเดีย | คำแนะนำการใช้ | ดาวน์โหลด
บทที่: อารัมภบท | 1. แนวคิดทั่วไป | 2. การจัดการและการประมวลผลสถิติประชากร | 3. การกระจายตัวและการจำแนกของประชากร | 4. ภาวะการตายและการเจ็บป่วย | 5. ภาวะสมรส | 6. ภาวะเจริญพันธุ์ | 7. การเพิ่มประชากรและการทดแทน | 8. การเคลื่อนย้ายเชิงพื้นที่ | 9. มุมมองด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชากรศาสตร์
หน้าที่: 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 20 | 21 | 22 | 23 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 40 | 41 | 42 | 43 | 50 | 51 | 52 | 60 | 61 | 62 | 63 | 70 | 71 | 72 | 73 | 80 | 81 | 90 | 91 | 92 | 93

ดึงข้อมูลจาก "http://th-ii.demopaedia.org/w/index.php?title=10&oldid=114"